นายศุภณัฐ ทับทวี ปวส.1/4 เลขที่4 [email protected]
สหานร่ลวยะทีล่ 2าย
Objective Content เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความ ความหมายของสารละลาย สำคัญของสารละลาย การละลายของสาร องค์ประกอบของสารละลาย ในตัวทำละลาย ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย พลังงานกับการละลายสาร ของสาร ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย เพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติมวลและ ความเข้มข้นของสารละลาย พลังงานของสารเมื่อสารเกิดการละลาย เพื่อให้มีทักษะในการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผล ต่อการละลาย
ความหมายของ เป็นสารผสมเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริสุทธิ์ สารละลาย ตั้งแต่ 2 ชนิด ขึ้นไป รวมกันทางกายภาพใน ปริมาณที่ไม่แน่นอน สารปริมาณมากกว่าเป็น ตัวทำละลาย (Solvent) ตัวที่มีปริมาณน้อยกว่าเป็น ตัวถูกละลาย (Solute) มีสถานะ เช่นเดียวกับตัวทำละลาย และสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสารที่มาผสมกัน อนุภาคตัวถูกละลายขนาดเล็กกว่า 10-7 cm สามารถผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้ เช่น สารละลายเกลือแกง สารละลายน้ำตาล
องค์ประกอบของ 1.ตัวทำละลาย (Solvent) ตัวทำละลาย คือ สารละลาย สารที่ให้อนุภาคของสารอื่นสามารถแทรก กระจายตัวอยู่ได้ และเป็นสารที่มีปริมาตร มากกว่าตัวถูกละลาย ซึ่งเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว และก๊าซ 2.ตัวถูกละลาย (Solute) ตัวถูกละลาย เป็นได้ ทั้งของแข็ง ของเหลว และก็าซ ตัวถูกละลาย (solute) เช่น น้ำเกลือซึ่งเกิดจากการละลายของ เกลือในน้ำเกลือเป็นตัวละลาย และน้ำเป็นตัวทำละลาย ตัวอย่าง สารละลายน้ำเกลือ
การละลายของ การเตรียมสารละลาย การนำตัวทำละลายและตัวละลายมาผสมกัน สารในตัวทำละลาย อาจทำให้เกิดสารละลายประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1.สารละลายเข้มข้น (Concentrated Solution) เป็นสารละลาย ที่มีปริมาณของตัวละลายอยู่มากในสารละลาย 2.สารละลายเจือจาง (Di lute So 1uti on ) เป็นสารละลายที่มี ปริมาณของตัวละลายอยู่น้อยในสารละลาย 3.สารละลายอิ่มตัว (Saturated so1ution) เป็นสารละลายที่มี ปริมาณตัวละลายมากที่สุดที่จะสามารถละลายได้ในตัวทำ ละลาย และไม่สามารถละลายได้อีก ณ อุณหภูมิขณะนั้น
สารละลายกรด - เบส สารละลายกรด (Acid Solution) การแบ่งประเภทของสารละลายกรด แบ่งตามแหล่งกำเนิด กรดอินทรีย์ (Organic Acid) เป็นกรดที่ได้จากธรรมชาติหรือจากสิ่งมีชีวิต มีธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (0) หรือหมู่คาร์บอกซิล (COOH) เป็นองค์ประกอบ เช่น กรดแอซีติก (Acetic Acid) หรือกรดน้ำส้ม กรดซิตริก (Citric Acid) หรือกรดมะนาว กรดแอสคอร์บิก (Ascorbic Acid) หรือวิตามิน
กรดอนินทรีย์ (Inorganic Acid) เป็นกรดที่ได้จากแร่ธาตุ มีความสามารถใน การกัดกร่อนสูง ถ้าถูกผิวหนังหรือเนื้อเยื่อของร่างกายจะทำให้ไหม้ แสบ หรือ มีผื่นคัน เช่น กรดไฮโดรคลอริก (Hydrochloric Acid) หรือกรดเกลือ กรดไนตริก (Nitric Acid) หรือกรดดินประสิว กรดคาร์บอนิก (Carbonic Acid) หรือกรดหินปูน
พลังงานกับการละลายของสาร การละลายของสารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง 1. การละลายประเภทดูดพลังงานหรือดูด ความร้อน 2. การละลายประเภทคายพลังงานหรือคาย ความร้อน
การละลายของสารในตัวทำละลายชนิดต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันจะพบว่าน้ำเป็นตัวทำละลายที่ดี จึงใช้น้ำในกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย เช่น ในการ ชำระสิ่งสกปรก ใช้ประกอบอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องดื่มประเภทต่าง ๆ และยารักษาโรค เป็นต้น แต่ก็มีสารบางชนิดที่ไม่สามารถละลายในน้ำได้ เช่น หมึกแห้งหรือไขมันที่แห้งมากับเสื้อผ้า เป็นต้น จึงได้นำของเหลวบางชนิดที่ใช้ละลายสารที่ไม่สามารถละลายในน้ำได้มาใช้เป็นตัวทำ ละลาย เช่น แอลกอฮอล์ เฮกเซนน้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน โทลูอิน เป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร 1.ชนิดของตัวทำละลาย ตัวทำละลายต่างกันมีความสามารถใน การละลายต่างกัน เช่น โซเดียมคลอ ไรด์ละลายในน้ำแต่ไม่ละลายใน แอลกอฮอล์ กำมะถันละลายในโทลูอีน แต่ไม่ละลายในน้ำ
2.ความเข้มข้นของตัวทำละลาย ถ้าตัวทำละลายมีความเข้มข้นมาก การละลายจะเกิดได้ดี
3. อุณหภูมิ สเขลคาอใเะลรนืรง่ล็อลกแวานะขขาึ็ย้ลงทรนีไ่แาลชดแลย้ะนจตะสลู่กะถขงัา้ลนอขายึ้ดไเนงไปดลเด็้หเ้นเงมจรืล็แเ่อะวมวืก่เข๊เอึสพพ้สิ่นิ่อ่วมุมกคณนขอึววุ้ใ่นณหาหาเมเภญมหดูื่่ิสมอมภิาูคขอมุมกอวิณาาางจรมสรหะถลาสภทูใระาำมนิลลมใขกหะาาอ้าลยสรงราจาถึยรง สูงขึ้น
4. ความดัน ความสามารถในการละลายได้ของ แก๊สจะสูงขึ้นมากเมื่อความดันเพิ่มขึ้น แต่ความดันมีผลต่อการละลายของ ของแข็งและของเหลวเพียงเล็กน้อย
5.พื้นที่ผิวของตัวละลาย ถ้าตัวละลายถูกเพิ่มพื้นที่ผิวด้วยการ ทำให้เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยโดยการหั่น หรือบด จะทำให้อัตราการละลายของ สารเพิ่มมากขึ้น
ความเข้มข้นของสารละลาย 1. ร้อยละโดยน้ำหนัก(มวล) หมายถึง มีตัวถูกละลาย หน่วยกรัม ละลายในสารละลาย 100 กรัม ตัวอย่าง NaC1 เข้มข้น 10% โดยมวล ในสารละลาย 100 กรัม คือ ในสารละลาย 100 กรัม มี NaCI ละลาย 10 กรัม หรือ NaCI จำนวน 10 กรัม ละลายในน้ำ 90 กรัม
2. ร้อยละโดยปริมาตร ปริมาตร ของตัวถูกละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตรเดียวกัน ตัวอย่าง สารละลายเอทานอลเข้มข้น 25% โดยปริมาตร คือ ในสารละลาย 100 ลบ.ซม. มี เอทานอลละลาย 25 ลบ.ซม. หรือ เอทานอล จำนวน 25 ลบ.ซม. ละลายในน้ำ 75 ลบ.ชม. 3. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร มวลของตัวถูกละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร ตัวอย่าง สารละลายน้ำเชื่อมเข้มข้น 15 % โดยมวลต่อปริมาตร คือ น้ำตาล จำนวน 15 กรัม ละลายในน้ำ ร5 ลบ.ซม.
สูตรหาความเข้มข้นของสารละลาย 1.ร้อยละโดยน้ำหนัก (weight/weight) % (w/w) = น้ำหนักของตัวถูกละลายเป็นกรัม x 100% น้ำหนักสารละลายเป็นกรัม 2.ร้อยละปริมาตรต่อปริมาตร (volume/volume) % (v/v) = น้ำหนักของตัวถูกละลายเป็น cm3 x 100% น้ำหนักสารละลายเป็น cm3 3.ร้อยละมวลต่อปริมาตร (weight/volume) % (w/v) = น้ำหนักของตัวถูกละลายเป็นกรัม x 100% น้ำหนักสารละลายเป็น cm3
ขอบคุณสำหรับการมาชมในครั้งนี้ หวังว่าข้อมูลที่ได้นำเสนอไปจะเป็นประโยชย์ให้แก่คุณ ข้อมูลอ้างอิง: http://www.digitalschool.club/digitalschool/chemical2_2_1/chemical8_4/page2.php http://academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1561531698_example.pdf https://sites.google.com/site/krunarm2/bth-thi-2-phlangngan-kab-kar-keid-ptikiriya/1-4-phlangngan-kab-kar-lalay https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/33077
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: