Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Knowledge Management: One Plan

Knowledge Management: One Plan

Published by bugree, 2020-04-26 23:58:04

Description: Knowledge Management: One Plan

Search

Read the Text Version

บันทึกองคความรรู ายบุคคล เรือ่ ง การบรู ณาการแผนและประสานสานแผนตําบล อาํ เภอสไุ หงโก-ลก พ.ศ. ๒๕๖๓ เจา ขององคความรู นายมหามะบกั รี ลอื บาฮางุ ตําแหนง พฒั นาการอําเภอสุไหงโก-ลก สังกดั สํานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาํ เภอสไุ หงโก-ลก จ.นราธิวาส เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชุมชน Change for Good พึ่งตนเองได ภายในป ๒๕๖๕

แบบบันทึกองคค วามรูรายบคุ คล 1. ชื่อองคค วามรู การบรู ณาการแผนและประสานสานแผนตำบล อำเภอสุไหงโก-ลก พ.ศ.2563 2. ชื่อเจา ของความรู นายมหามะบักรี ลอื บาฮางุ 3. องคค วามรูทีบ่ งชี้  หมวดท่ี 1 สรา งสรรคชุมชนพงึ่ ตนเองได  หมวดที่ 2 สง เสรมิ เศรษฐกิจฐานรากใหขยายตัวอยา งสมดลุ  หมวดท่ี 3 เสริมสรา งทุนชมุ ชนใหมีธรรมาภิบาล  หมวดท่ี 4 เสรมิ สรา งองคก รใหมขี ีดสมรรถนะสูง 4. ท่ีมาและความสำคัญในการจัดทำองคความรู กระทรวงมหาดไทย ไดประกาศใชระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทำและประสาน แผนพัฒนาพน้ื ท่ีในระดับอำเภอและตำบล พ.ศ.๒๕๖๒ เพ่อื เปนแนวทางปฏิบัติในการบูรณาการการจัดทำแผน และประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่ ใหเกิดความเชื่อมโยงสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาในระดับจังหวัด กลมุ จงั หวดั ภาค และประเทศ ไปในทิศทางเดยี วกันไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ นำไปสูความม่นั คง มั่งคงั่ ย่ังยืน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสไุ หงโก-ลก จึงไดเ สนอนายอำเภอสุไหงโก-ลก เพ่อื แตง ต้งั คณะกรรมการ บริหารงานตำบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) ดังคำสั่งอำเภอสุไหงโก-ลก ที่ ๗๗/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓01 โดยให ก.บ.ต. ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยในขอ ๑ ซ่ึงมีอำนาจหนา ที่ ดังน้ี (๑) รวบรวมขอมลู ขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ หรือกรมการพฒั นาชุมชน ไดแก ขอ มลู ความจำเปน พื้นฐาน (จปฐ.) ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กขช.๒ค) และขอมูลอื่น ๆ เพื่อใชเปนขอมูลในการจัดทำ แผนพฒั นาตำบล (๒) รวบรวมแผนพัฒนาหมูบานแผนชุมชนและแผนพัฒนาทองถิ่นในตำบลเพื่อใชประกอบการจัดทำ แผนพฒั นาตำบล (๓) จัดทำแผนพัฒนาตำบลใหนำขอมูลจาก (๑) และ (๒) มาวิเคราะหหรือสังเคราะห กลั่นกรอง ประมวลผล เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาตำบล และจัดลำดับความสำคัญของแผนงานหรือโครงการระดับ ตำบล รวมทั้งจดั ทำแผนงานหรือโครงการในการแกไขปญ หาในพื้นท่ีที่มีความคาบเกี่ยวต้ังแตสองหมูบานขึ้นไป เพอ่ื รองรบั การพัฒนาและตอบสนองนโยบายสำคัญเรงดว นในการแกไขปญหาและพฒั นาในตำบล (๔) จำแนกแผนงานหรือโครงการระดับตำบลที่สอดคลองกับทิศทางการพัฒนาขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นในพื้นที่ระดับตำบล และจัดทำบัญชีประสานโครงการพัฒนา สงใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น พจิ ารณาบรรจไุ วในแผนพฒั นาทอ งถ่ิน (๕) จัดสงแผนพัฒนาตำบล ใหคณะกรรมการบริหารอำเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) สุไหงโก-ลก ใช ประกอบการจดั ทำแผนพฒั นาตำบล และแผนความตองการระดบั อำเภอ (๖) ทบทวนการจดั ทำแผนพัฒนาตำบลทกุ ป เพอ่ื ใหแผนงานหรือโครงการระดบั ตำบล เปน ปจ จบุ นั (๗) อื่น ๆ ตามทีน่ ายอำเภอมอบหมาย 1 https://drive.google.com/open?id=1kBd_icEyCwHgpkeB_J_Srh71isLDKLNR หรือ

-2- 5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลำดบั ขั้นตอน การจัดทำแผนพัฒนาตำบล12ตองนำแผนพัฒนาหมูบานทุกหมูบานในตำบล23มาวิเคราะหรวมกัน โดย คน หาวา ตำบลมปี ญหาอะไรบา ง มากหรอื นอ ย จำเปน เรงดวนตองแกไขขนาดไหน อยางไร เปน ปญ หาที่เกิดจาก ปจ จยั ในชมุ ชนเองหรือเกดิ จากปจจยั ภายนอกทีส่ งผลกระทบตอคนสว นใหญในตำบล โดยนำขอ มูลความจำเปน พื้นฐาน (จปฐ.) และ ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) มารวบรวมและประมวลผล คนหาศักยภาพของ ตำบล วิเคราะหคุณภาพชีวิต รายรับ รายจาย เงินออม และหนี้สิน ในภาพรวมของตำบล เพื่อใหทุกฝายที่ เกี่ยวของไดรับรูป ญหาและหาแนวทางแกไขรว มกันอยา งมีเปาหมายเพื่อใหรวดเร็วขึ้น มีการแยกกลุมยอยตาม ประเภทของปญหาหรือประเด็นปญหา เชน ประเด็นแหลงน้ำ เศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดลอม ยาเสพติด ฯลฯ ทำ การวิเคราะห หาสาเหตุของปญหา และแนวทางการแกไ ขปญ หา รวมทั้งการคนหาศักยภาพตำบล โดยมีลำดบั ขน้ั ตอน ดงั ตอ ไปน้ี ๑. จัดทำแผนพฒั นาหมูบา น (1) คณะกรรมการหมูบานแตล ะหมูบานและชุดปฏบิ ัติการตำบลแตละตำบล พจิ ารณากำหนดวันที่ เหมาะสมในการจัดเวทีประชาคมหมูบาน และแจงใหนายอำเภอสุไหงโก-ลกรับทราบวันในการจัดทำเวที ประชาคมหมูบานตามที่นำเสนอ และแจงใหสวนราชการ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานอื่นท่ี ดำเนินการในพื้นที่เขารวมเวทีประชาคมดวยโดยขั้นตอนการดำเนินการจัดทำเวทีประชาคมใหยึดถือแนวทาง ปฏบิ ัตขิ องกรมการปกครอง (2) รูปแบบการจัดทำแผนพัฒนาหมูบาน คือ นำขอมลู จากเวทปี ระชาคมหมูบานและชมุ ชน ขอ มูล ความจำเปนพื้นฐาน (จปฐ.) และขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) มาใชเปนขอมูลพื้นฐานในการจัดทำ แผนพัฒนาหมูบานและแผนชุมชน พรอมทั้งจัดลำดับความสำคัญแผนงาน/โครงการตามรูปแบบการจัดทำ แผนพัฒนาหมูบานที่กรมการปกครองกำหนด และรูปแบบการจัดทำแผนชุมชนที่กรมสงเสริมการปกครอง ทอ งถน่ิ กำหนด ๒. การจดั ทำแผนพัฒนาตำบล34 กลไกการจัดทำแผนพัฒนาตำบล45 อำเภอมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารงานตำบลแบบบรู ณา การ (ก.บ.ต.) เปนกลไกหลักในการจัดทำแผนพัฒนาตำบล โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสุไหงโก-ลกได ดำเนินการจัดทำคำสั่งแตงตั้ง ก.บ.ต. และใหนายอำเภอลงนามในคำสั่งแตงตั้ง ซึ่งการกำหนดคุณสมบัติของ กรรมการผทู รงคุณวุฒใิ น ก.บ.ต. และตัวอยางคำสัง่ ก.บ.ต. เปนไปตามท่ีกรมการพัฒนาชมุ ชนกำหนด (1) ให ก.บ.ต. ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตำบล ในสว นพ้ืนท่ีความรับผิดชอบขององคกรปกครอง สว นทองถิน่ (2) รูปแบบการจัดทำแผนพัฒนาตำบล ให ก.บ.ต. จัดทำแผนพัฒนาตำบลตามรูปแบบที่กรมการ พัฒนาชุมชนกำหนด แผนพัฒนาตำบล คณะกรรมการบริหารงานตำบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) ดำเนินการ จัดทำแผนพัฒนาตำบลสงใหค ณะกรรมการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ) ผา นทางสำนกั งานอำเภอ 2 ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจดั ทำแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนทีใ่ นระดบั อำเภอและตำบล พ.ศ. 2562 หนา 3 3 ตำบลมในอำเภอสไุ หงโก-ลก มี 3 ตำบล ไดแก ตำบลปาเสมัส ตำบลปูโยะ ตำบลมูโนะ 4 https://drive.google.com/open?id=1fc1I94DxDkJ9BYr2MBBgiHyCYNER1lK9 หรอื 5 แผนพัฒนาตำบล หมายความวา แผนพัฒนาที่รวบรวมรายการแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่จำเปนตองทำเพื่อการ พัฒนาแกไขปญหาและความตองการของประชาชนในพืน้ ที่ระดับตำบลทีม่ าจากแผนพัฒนาหมูบ าน แผนชุมชน แผนพัฒนา ทอ งถิน่ และแผนของสว นราชการหรือหนว ยงานอืน่ ท่ีดำเนนิ การในพนื้ ที่

-3- และจดั ทำบัญชีประสานโครงการพฒั นาสง ใหอ งคกรปกครองสวนทองถนิ่ ในพน้ื ที่ความรับผดิ ชอบ ระหวา งเดือน มีนาคม – เมษายน ๓. การประเมนิ แผนพัฒนาตำบล สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสุไหงโก-ลก ดำเนินการประเมินผลแผนพัฒนาตำบลตามแบบที่ กรมการพัฒนาชมุ ชนกำหนด และรายงานใหสำนกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัดทราบ ๔. การกำกบั ดแู ล (1) นายอำเภอสุไหงโก-ลก กำกับดูแลและใหคำแนะนำในการประสานแผนพัฒนาหมูบาน แผน ชมุ ชน แผนพัฒนาตำบล แผนพฒั นาทองถน่ิ แผนพฒั นาอำเภอ ท่ดี ำเนนิ การในพ้ืนที่อำเภอสุไหงโก-ลก เพื่อให การดำเนินการตามระเบียบน้ีเกิดผลสัมฤทธ์ิ (2) เพ่ือใหการประสานแผนพัฒนาในระดับพ้นื ที่เกิดผลสัมฤทธ์ิ อำเภอสไุ หงโก-ลก ไดปฏิบัติตามท่ี ผวู า ราชการจงั หวัดนราธวิ าส กำกับดแู ล และใหค ำแนะนำท่เี ปนประโยชนตามหลักเกณฑ ไดแก (1) บรู ณาการ การจัดทำแผนพัฒนาในระดับพื้นที่กับทุกภาคสว น และสอดคลองเชื่อมโยงกับแผนพฒั นาจังหวัด (2) ประเมิน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจากการประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่ (3) การมีสวน รวมของประชาชน และการบรหิ ารกิจการบานเมืองที่ดี (4) พจิ ารณาใหหนว ยงานใดเปน ผูดำเนินการ ในกรณีท่ี มีความซำ้ ซอนกนั ในเรื่องงบประมาณ ระยะเวลาดำเนนิ การ ผดู ำเนนิ การ หรอื โครงการ 6. เทคนิคในการปฏิบัติงาน การจดั ทำแผนพฒั นาตำบล โดยการนำขอ มูลทัว่ ไปและขอมูลท่ีเจาะลกึ แตล ะดาน เชน ทนุ หมูบาน ทั้ง ที่เปนเงินและไมใชเงิน ธุรกิจหมูบาน วัฒนธรรมหมูบาน สุขภาพคน ฯลฯ ของแตละหมูบานมารวบรวมเปน ขอมูลระดับตำบล เพื่อใชในการวิเคราะห จุดออน จุดแข็ง โอกาส และขอจำกัดของชุมชนใหมีความแมนยำ ชัดเจน สามารถนำมากำหนดทิศทาง/เปาหมายการพัฒนาไดอยางเหมาะสมกับบริบทของตำบล สำหรับการ วางแผนแกไขปญ หาเพื่อจดั ทำแผนพัฒนาตำบลมีรายละเอยี ดการดำเนนิ งาน ดงั นี้ ๑. วิเคราะหหมบู าน โดยนำขอ มลู พ้ืนฐานหมูบานและขอมูลพื้นฐานของครัวเรือนมาวิเคราะห เพื่อให รวู าในตำบลมที รัพยากรอะไรบา งที่เก่ยี วของกับปญหาทต่ี องการแกไข ๒. การคนหาโอกาสและแนวทางแกไ ขปญ หา โดยใชขอมูลพ้นื ฐานของครัวเรือนวเิ คราะหคุณภาพชีวิต ในมิติดานตาง ๆ เชน เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ดานการเรียนรูดานสุขภาวะ ฯลฯ มาเชื่อมโยงกับ เปาหมายการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในตำบลโดยนำมาบูรณาการและจัดทำเปนโครงการตาง ๆ ตาม ประเดน็ ท่ีเปนปญ หารว มของตำบล ๓. การกำหนดทิศทางหรือเปาหมายการพัฒนา โดยการกำหนดทิศทางการพัฒนาตำบลระยะส้ัน ระยะกลางหรือระยะยาวโดยใชขอมูลในการคนหาปญหาสาเหตุความจำเปนความตองการจัดลำดับและ ประเมินตนเองและนำมากำหนดเปา หมายหรอื ทิศทางของตำบล ๔. การกำหนดรายละเอียดการวางแผนเพ่ือแกไขปญ หา ประกอบดว ย การนำปญ หาทีช่ ุมชนสวนใหญ ไดรับความเดือดรอนหรือผลกระทบในวงกวางมาเปนประเด็นในจัดทำแผนพัฒนาตำบลฉะนั้นจะเห็นวาการ จดั ทำแผนพัฒนาตำบลมใิ ชก ารนำเอาแผนพฒั นาหมูบา นแผนชุมชนมารวมหรอื มาเรยี งตอกนั เทานั้น ๕. จัดกลุมแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อแสวงหาแหลงงบประมาณใหเหมาะสมกับแผนงาน/ โครงการ ดังนั้นโดยคณะกรรมการบริหารงานตำบลแบบบูรณาการ (ก. บ. ต.) รวมกับคณะกรรมการศูนย ประสานงานองคการชุมชนระดับตำบล (ศอช. ต.) และผทู ่ีเกีย่ วของ หาขอ มลู แตละแผนงาน/โครงการจะขอรับ

-4- การสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานที่เกี่ยวของ และประสานเชื่อมโยงกับผูที่เกี่ยวของตอไป โดยจัดกลุม แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเปน ๓ กลมุ ดังน้ี - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ทำเองได เชน การลดรายจายในครัวเรือนดวยการปลูกผักสวน ครัว ลดรายจายท่ไี มจ ำเปนหรอื ลดตนทนุ การผลิตดว ยการทำปุย หมกั ฯลฯ เปนตน - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ตองทำรวม เปนแผนที่ตองประสานขอรับความรวมมือกับหลาย ภาคสวนโดยมีการรวมกันในดานทรัพยากรคนหรือเงิน เชน โครงการดูแลสุขภาพชุมชนรวมกับสำนักงาน สาธารณสขุ อำเภอสไุ หงโก-ลก โครงการปลกู ขาวพันธดุ ีรว มกบั สำนักงานเกษตรอำเภอสุไหงโก-ลก ฯลฯ เปนตน - แผนงานโครงการ/กิจกรรมท่ีตองขอรับการสนับสนนุ เปน แผนทตี่ อ งมีการประสานเชื่อมโยงกับ หนวยงานที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะปญหาที่สงผลกระทบในวงกวางและเปนปญหารวมกันหลายพื้นที่ เพื่อจัดทำ รายละเอียดตาง ๆ ใหครบถวนและสอดคลองเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรเปาหมาย/ตัวชี้วัดของหนวยงานท่ี เกี่ยวของใหชัดเจน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมดังกลาวยอมมีโอกาสไดรับการสนับสนุนสูงกวาแผนงาน/ โครงการทไี่ มช ดั เจน ๖. การจัดลำดับแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยยึดหลักความสำคัญ ความจำเปนหรือความสามารถ ในการแกไ ขปญ หาความตองการของชุมชนผานเวทีประชาคม โดยใชว ธิ ีการตา ง ๆ เชน อภิปรายถึงความสำคัญ ของโครงการการใชเสียงสวนใหญจากการโหวตออกเสียงสนับสนุนในเวทีประชาคม และมีการประเมินขอมูล ดวยตารางวิเคราะหคะแนนความสำคัญของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การบูรณาการแผนพัฒนาหมูบาน ระดับตำบลจำเปนตองวิเคราะหทั้งปญหา/อุปสรรคและโอกาสที่จะเกิดขึ้นรอบดาน ทั้งนี้ เพื่อใหหมูบาน สามารถแสวงหาความรวมมือและโอกาสในการขอรบั การสนับสนุนจากหนวยงานทเ่ี กี่ยวของอยางเปนรูปธรรม และสอดคลองกับเปาหมายของหนวยงานที่ขอรับการสนับสนุนในทุกระดับ ฉะนั้น รูปแบบการนำเสนอ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตองทำใหสอดคลองกับแหลงงบประมาณ เชน แยกตามประเด็นยุทธศาสตรของ จังหวดั น้นั ๆ เปนตน ๗. การเชื่อมโยงและประสานแผนคณะกรรมการบริหารงานตำบลแบบบูรณาการ (ก. บ. ต.) รวมกับ คณะกรรมการศูนยประสานงานองคการชุมชนระดับตำบล (ศอช. ต.) และผูเกี่ยวของจัดทำบัญชีแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมตามลำดับความสำคัญ จัดสงใหคณะกรรมการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ (ก. บ. อ.) ตามหวงระยะเวลาทกี่ ำหนด และจดั สงใหหนว ยงานท่มี ีงบประมาณสนับสนุน ๘. ประเมินผลการประเมินผลแผนพัฒนาตำบล เพื่อใหแผนพัฒนาตำบลมปี ระสิทธภิ าพโดยสำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอสุไหงโก-ลก ดำเนินการตรวจสอบความสมบูรณของการดำเนินการทบทวนและจัดทำ แผนพัฒนาตำบล รวมทั้งความครบถวนขององคประกอบของแผนพัฒนาตำบลตามแนวทางการจัดทำ แผนพฒั นาตำบลท่กี รมการพัฒนาชมุ ชนกำหนดแลว รายงานใหส ำนักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั ทราบ 7. ปญ หาที่พบและแนวทางการแกไ ขปญ หา ในการจัดทำแผนพัฒนาตำบลนั้น การรวบรวมขอมูลจากแผนพัฒนาหมูบาน รวมทั้ง แผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม ในระดับหมูบานมีเปนจำนวนมาก ที่จัดทำดวยโปรแกรม Microsoft Word รวมทั้ง การ จัดลำดับความสำคัญ การรวม (Combine) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม นั้น เปนเรื่องยุงยาก เนื่องจากการ ขอมูลที่มีจำนวนมากและเอกสารมีหลายหนา จึงใชเครื่องมือในการรวบรวมขอมูล คือ การใชโปรแกรม Excel โดยการแปลงเอกสารจากไฟลเวิรดทั้งหมดเปนสเปรดชีต และตัวกรอง (Filter) ในโปรแกรม Excel ในการ จัดเรยี งขอมูล แบงประเภท รวบรวม แยกแยะ และแปลงกลับเปนไฟลเ วริ ด ตอไป

-5- ทั้งนี้ ในการรวบรวมและการกรองขอมูล การจัดทำตาราง การแปลไฟลทั้งหมูบาน/ตำบล จึง จำเปนตองใหเจาหนาที่พัฒนาชุมชน/อาสาพัฒนาชุมชนที่มีความชำนาญในการใชโปรแกรมชวยคียของมูล หมบู า นและตำบล รวมทง้ั การจดั ทำรา งแผนพัฒนาตำบลทงั้ หมด กอ นนำเสนอ ก.บ.ต.พิจารณา 8. ประโยชนขององคค วามรู การจัดแผนพัฒนาตำบล เปนการนำแผนพัฒนาหมูบานทุกหมูบานมาบูรณาการกัน ทำให หนวยงาน ราชการ ทองที่ ทองถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และผูที่เกี่ยวของ ไดนำไปใชในการประสานเชื่อมโยงสู แผนพัฒนาองคกรปกครองสวนทองถิ่น แผนพัฒนาอำเภอ และแผนพัฒนาทุกระดับ โดยมีความสำคัญยิ่งตอ การสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดกระบวนการเรียนรูและการจัดการตนเองของคนในตำบล/หมูบาน ผานกลไก การมีสวนรวมจากทุกภาคสวนทุกหมูบานในตำบล โดยมีการคนหา รวบรวมขอมูล ความรู และสราง กระบวนการวิเคราะหปญหา เพื่อรวมกันกำหนดทิศทางการพัฒนาหมูบานเชื่อมโยงสูระดับตำบลที่สอดคลอง กับปญหาและความตองการทีแ่ ทจรงิ สามารถแกไขปญหาท่ีหมูบ า นและตำบลเผชิญรวมกัน รวมทั้งกอเกิดการ คนหาศักยภาพจากทรัพยากรธรรมชาติ ฝมือทักษะของคนในตำบล เพื่อแกไขปญหาและพัฒนาตำบล ลดการ พึ่งพาจากภายนอก เพ่อื ใหช มุ ชนเขม แขง็ และพึง่ ตนเองได

บันทึกองคค วามรูรายบคุ คล เร่ือง การบูรณาการแผนและประสานสานแผนตําบล อําเภอสไุ หงโก-ลก พ.ศ. ๒๕๖๓ การจัดแผนพัฒนาตําบล เปนการนําแผนพัฒนาหมูบานทุกหมูบานมา บูรณาการกัน ทําให หนวยงานราชการ ทองท่ี ทองถ่ิน ภาคเอกชน ภาค ประชาสังคม และผูท่ีเก่ียวของ ไดนําไปใชในการประสานเช่ือมโยงสู แผนพัฒนาองคกรปกครองสวนทองถ่ิน แผนพัฒนาอําเภอ และ แผนพัฒนาทุกระดับ โดยมีความสําคัญย่ิงตอการสงเสริมและสนับสนุนให เกิดกระบวนการเรียนรูและการจัดการตนเองของคนในตําบล/หมูบาน ผานกลไกการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนทุกหมูบานในตําบล โดยมีการ คนหา รวบรวมขอมูล ความรู และสรางกระบวนการวิเคราะหปญหา เพื่อ รวมกันกําหนดทิศทางการพัฒนาหมูบานเชื่อมโยงสูระดับตําบลที่ สอดคลองกับปญหาและความตองการท่ีแทจริง สามารถแกไขปญหาท่ี หมูบานและตําบลเผชิญรวมกัน รวมท้ังกอเกิดการคนหาศักยภาพจาก ทรัพยากรธรรมชาติ ฝมือทักษะของคนในตําบล เพื่อแกไขปญหาและ พัฒนาตําบล ลดการพึ่งพาจากภายนอก เพ่ือใหชุมชนเขมแข็งและ พง่ึ ตนเองได https://drive.google.com/open?id=1fc1I94DxDkJ9BYr2MBBgiHyCYNER1lK9 หรือ เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชุมชน Change for Good พ่ึงตนเองได ภายในป ๒๕๖๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook