Active Learning Instructional Design Suwat Niyomthai
กจิ กรรมท่ี 1 ในฐานะคร.ู .. ทเรา่ ยี นนมเี ป้ าหมายในการจดั การ การสอนอยา่ งไร
Bloom Taxonomy
พทุ ธพิ สิ ยั Cognitive Domain
Anderson and Krathwohl – Bloom’s Taxonomy Revised
จา Remembering ดตรเปะงอ่ึ ็ ยนเไอะรปายะใคดานววบั ราขพะมอดนื้ รงบัฐู้ คทานกนสี่ อาขงู รอขอสกนึ้งืบมกคาาน้เทรพเไี่ อื่รดกยกี จ้ านาารหรกเทู้นตคเด่ีอืวนนกา้นมาคกรรวรเ้เู ารดะมยีบมิ จนวขารนอู้ กงไคาใดรนหจ้น้พาาฒักเอคนาวาหารมอื จา จา เรยี กความรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งจากหน่วยความจาระยะยาว – ตระหนกั ถงึ – นึกถงึ
การเขา้ ใจ Understanding ระดบั ถดั มาเป็นกระบวนการสรา้ งความรูอ้ ย่างมคี วามหมาย จากสอ่ื จากการอธบิ าย การ พดู การเขยี น การแยกแยะ การเปรยี บเทยี บ การจดั หมวดหมู่ หรอื การอธบิ าย ทจ่ี ะนาไปสู่ ความเขา้ ใจในสง่ิ ทก่ี าลงั เรยี นรู ้ เขา้ ใจ กาหนดความหมายของสง่ิ ทเ่ี รยี นจากการเขยี นหรอื จากสอ่ื – ยกตวั อย่าง – การตคี วาม – สรุป – จาแนก – อธบิ าย – เปรยี บเทยี บ
การประยกุ ตใ์ ช้ Applying กระบวนการในขนั้ ต่อมา เป็นการนาความรูค้ วามเขา้ ใจไปประยุกตใ์ ช้ หรอื นาไปใชใ้ หเ้กดิ ประโยชน์ ดว้ ยกระบวนการหรอื วธิ กี ารดาเนนิ การอยา่ งเป็น ขน้ั เป็นตอน – การดาเนนิ การ – การใชป้ ระโยชน์
การวเิ คราะห์ Analyzing ระดบั ต่อมาเป็นกระบวนการนาส่วนต่างๆ ของการเรยี นรู้ มาประกอบเป็นโครงสรา้ งใหม่ ดว้ ยการการพจิ ารณาวา่ มสี ว่ นใด สมั พนั ธก์ บั ส่วนอน่ื อย่างไร พจิ ารณาโครงสรา้ งโดยรวมของ สง่ิ ทเ่ี รยี นรู้ แยกแยะวตั ถปุ ระสงคท์ แ่ี ตกต่างผา่ นการกระบวนการอย่างเป็นระบบ – ความแตกต่าง – การจดั รูปแบบ – วตั ถปุ ระสงค์
การประเมินผล Evaluating ตดั สนิ เลอื ก การตรวจสอบ สง่ิ ทไ่ี ดจ้ ากการเรยี น สู่บรบิ ทของตนเอง ท่ี สามารถวดั ได้ และตดั สนิ ไดว้ า่ อะไรถกู หรอื ผดิ บนเงอ่ื นไขและมาตรฐานท่ี สามารถตรวจสอบได้ บนพ้นื ฐานของเหตผุ ลและเกณฑท์ แ่ี น่ชดั
การสรา้ งสรรค์ Creating ในระดบั สูงสุดของการเรยี นรู้ เพอ่ื ใหไ้ ดอ้ งคป์ ระกอบของสง่ิ ทเ่ี รยี นรูร้ ่วมกนั ดว้ ยการ สงั เคราะห์ เพอ่ื เชอ่ื มโยง ใหร้ ูปแบบใหมข่ องสง่ิ ทเ่ี รยี นรูห้ รอื โครงสรา้ งของความรูท้ ผ่ี ่านการ วางแผน และการสรา้ งหรอื การผลติ อย่างเหมาะสม – สรา้ ง – การวางแผน – การผลติ
จติ พสิ ยั Affective Domain คา่ นิยม ความรสู้ ึก ความซาบซงึ้ ทศั นคติ ความเชอ่ื ความสนใจและคณุ ธรรม
ทกั ษะพสิ ยั Psychomotor Domain
กจิ กรรมท่ี 2 Active Learning คอื อะไร? สอนยงั ไงเรยี กวา่ Active Learning?
ความหมาย Active Learning คอื กระบวนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ผูเ้รยี นไดล้ งมอื กระทา และไดใ้ ชก้ ระบวนการคดิ เกย่ี วกบั สง่ิ ทเ่ี ขาได้ กระทาลงไป
กระบวนการเรียนรู้ Passive Learning • กระบวนการเรยี นรูโ้ ดยการอา่ นทอ่ งจาผูเ้ รยี นจะจาไดใ้ นสง่ิ ท่เี รยี นไดเ้ พยี ง 10% • การเรยี นรูโ้ ดยการฟงั บรรยายเพยี งอย่างเดยี ว โดยท่ผี ูเ้ รยี นไม่มโี อกาสได้ มีสว่ นร่วมในการเรยี นรูด้ ว้ ยกจิ กรรมอน่ื ใน ขณะท่อี าจารยส์ อนเม่ือเวลาผ่านไปผูเ้ รยี นจะจาไดเ้ พยี ง 20%
กระบวนการเรียนรู้ Passive Learning • หากในการเรยี นการสอนผูเ้ รยี นมีโอกาสไดเ้ หน็ ภาพประกอบดว้ ยกจ็ ะทาใหผ้ ล การเรยี นรูค้ งอยู่ไดเ้ พม่ิ ข้ึนเป็น 30% • กระบวนการเรยี นรูท้ ่ผี ูส้ อนจดั ประสบการณ์ใหก้ บั ผูเ้ รยี นเพม่ิ ข้ึน เช่น การใหด้ ู ภาพยนตร์ การสาธติ จดั นิทรรศการใหผ้ ูเ้ รยี นไดด้ ู รวมทง้ั การนาผูเ้ รยี นไปทศั น ศึกษา หรอื ดูงาน กท็ าใหผ้ ลการเรยี นรูเ้ พม่ิ ข้ึนเป็น 50%
กระบวนการเรียนรู้ Active Learning • การใหผ้ ูเ้ รยี นมีบทบาทในการแสวงหาความรูแ้ ละเรยี นรูอ้ ยา่ งมปี ฏสิ มั พนั ธจ์ น เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจนาไปประยกุ ตใ์ ชส้ ามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินค่า หรอื สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ต่างๆ และพฒั นาตนเองเตม็ ความสามารถ รวมถงึ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรูใ้ หเ้ ขาไดม้ โี อกาสร่วมอภปิ รายใหม้ โี อกาสฝึกทกั ษะการ สอ่ื สาร ทาใหผ้ ลการเรยี นรูเ้ พม่ิ ข้ึน 70% • การนาเสนองานทางวชิ าการ เรยี นรูใ้ นสถานการณ์จาลอง ทง้ั มกี ารฝึกปฏบิ ตั ิ ในสภาพจรงิ มกี ารเช่ือมโยงกบั สถานการณต์ า่ งๆ ซ่ึงจะทาใหผ้ ลการเรยี นรูเ้ กดิ ข้ึน ถงึ 90%
ลักษณะของ Active Learning (อา้ งองิ จาก :ไชย ยศ เรอื งสวุ รรณ) เป็นการเรยี นการสอนท่พี ฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ไดแ้ ก่ การคดิ การแกป้ ญั หา การนาความรูไ้ ป ประยกุ ตใ์ ช้ เป็นการเรยี นการสอนท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ ผูเ้ รยี นสรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละจดั ระบบการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ผูเ้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการเรยี นการสอน มีการสรา้ งองคค์ วามรู้ การสรา้ งปฎสิ มั พนั ธร์ ่วมกนั และรว่ มมือ กนั มากกว่าการแข่งขนั ผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรูค้ วามรบั ผดิ ชอบร่วมกนั การมีวนิ ยั ในการทางาน และการแบ่งหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบ
ลักษณะของ Active Learning (อา้ งองิ จาก :ไชย ยศ เรอื งสุวรรณ) เป็นการเรยี นการสอนท่พี ฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ไดแ้ ก่ การคดิ การแกป้ ญั หา การนาความรูไ้ ป ประยุกตใ์ ช้ เป็นการเรยี นการสอนท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการเรยี นรู้ ผูเ้ รยี นสรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละจดั ระบบการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ผูเ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน มกี ารสรา้ งองคค์ วามรู้ การสรา้ งปฎสิ มั พนั ธร์ ่วมกนั และ ร่วมมอื กนั มากกวา่ การแข่งขนั ผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรูค้ วามรบั ผิดชอบรว่ มกนั การมีวนิ ยั ในการทางาน และการแบง่ หนา้ ท่คี วาม รบั ผิดชอบ
บทบาทของครู กับ Active Learning ณชั นนั แกว้ ชยั เจรญิ กจิ (2550) จดั ใหผ้ ูเ้ รยี นเป็นศูนยก์ ลางของการเรยี นการสอน กจิ กรรมตอ้ งสะทอ้ นความตอ้ งการในการ พฒั นาผูเ้ รยี นและเนน้ การนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ จรงิ ของผูเ้ รยี น สรา้ งบรรยากาศของการมีสว่ นรว่ ม และการเจรจาโตต้ อบท่สี ง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีปฏสิ มั พนั ธท์ ่ดี ีกบั ผูส้ อนและเพ่อื นในชน้ั เรยี น จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหเ้ ป็ นพลวตั สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในทกุ กจิ กรรมรวมทง้ั กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นประสบความสาเรจ็ ในการเรยี นรู้ จดั สภาพการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การรว่ มมอื ในกลมุ่ ผูเ้ รยี น
บทบาทของครู กับ Active Learning ณชั นนั แกว้ ชยั เจรญิ กจิ (2550) จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหท้ า้ ทาย และใหโ้ อกาสผูเ้ รยี นไดร้ บั วธิ กี ารสอนท่หี ลากหลาย วางแผนเก่ยี วกบั เวลาในจดั การเรยี นการสอนอย่างชดั เจน ทง้ั ในสว่ นของเน้ือหา และกจิ กรรม ครูผูส้ อนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ ของผูเ้ รยี น
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: