บทที่ ๓ ตวั อยา่ งที่ ๓ . เรอื รดนา้ พลงั งานไฟฟา้ ควบคุมด้วยรีโมท วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ิลปาชพี บางไทร ๑. ทีม่ าและความส้าคัญและปัญหา ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านไอที ได้เข้ามามีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน และ สังคมไทยเป็น อย่างมาก และยังคงพัฒนาต่อเนื่องไปอย่างไม่หยุดยั้ง สถาบันการศึกษาจาเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับ เทคโนโลยมี ากข้ึน เพ่ือให้นักศึกษา บูรณาการความรู้ ทักษะและประสบการณ์นามาสร้างสรรค์นวัตกรรม/ โครงการ/โครงงาน/สิ่งประดิษฐ์ ตามความสนใจของผู้เรียน ซึ่งคาดว่านักเรียน นักศึกษาจะสามารถ บูรณาการแนวคิด เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ข้ึน เพื่อให้นักศึกษามีทักษะตามสมรรถนะงาน ตามหลักสูตร ที่กาหนดไว้ ตลอดจนคุณธรรมที่พึงประสงค์ตามความต้องการของสถานประกอบการเพ่ือให้ผู้เรียน สามารถประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวันหรือประกอบอาชีพในอนาคต และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุข เปน็ ไปตามหลักสตู รของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนเพ่ิมทักษะและประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดย สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่/โครงงาน/สิ่งประดิษฐ์ตามความสนใจของนักศึกษา ตลอดจนปลูกฝังคุณธรรมท่ี พึงประสงค์ของตามความต้องการของสถานประกอบการ โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนโยบายของสถานศึกษามาปรับใช้ในการดารงชวี ิตในอนาคต ๒. จดุ มงุ่ หมายของการศึกษาค้นควา้ ๒.๑ เพอ่ื สรา้ งเรือรดนา้ พลังงานไฟฟา้ ควบคุมด้วยรีโมท ๒.๒ เพื่อหาประสิทธิภาพของเรือรดน้าพลงั งานไฟฟ้าควบคุมดว้ ยรโี มท ๒.๓ เพื่อศึกษาความพงึ พอใจของผทู้ ดลองใชเ้ รือรดน้าพลงั งานไฟฟา้ ควบคุมดว้ ยรโี มท ๓. สมมตฐิ านของการศกึ ษาคน้ ควา้ ๓.๑ เรือรดน้าพลังงานไฟฟ้าควบคุมด้วยรีโมท สร้างข้ึนโดยมีประสิทธิภาพการใช้งานได้ อย่างต่อเน่อื งไม่นอ้ ยกวา่ ๑ ช่วั โมง
๔๘ ๓.๒ ระยะในการควบคุมบังคับเรือรดน้าพลังงานไฟฟ้าควบคุมด้วยรีโมท อยู่ในระยะ ไมเ่ กิน ๑๐๐ เมตร ๓.๓ มีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก จากผลการสารวจแบบสอบถามของผู้ทดลอง ใช้งานเรอื รดนา้ พลังงานไฟฟา้ ควบคมุ ด้วยรีโมท ๔. ขอบเขตของการศกึ ษาค้นคว้า ๔.๑ การศึกษาการสร้างและประสทิ ธิภาพของเรือรดนา้ พลังงานไฟฟ้าควบคุมด้วยรีโมท ๔.๒ กลมุ่ ตัวอย่าง คอื เกษตรกร ที่มีอาชีพปลูกพชื ผกั สวนครวั โดยมรี อ่ งน้าค่นั ระหว่างแปลง ๕. ตวั แปรทีใ่ ชใ้ นการศึกษา เรอื รดน้าพลังงานไฟฟา้ ควบคุมดว้ ยรโี มท ๕.๑ ตัวแปรต้น : - ประสิทธิภาพของเรือรดนา้ พลงั งานไฟฟา้ ควบคุมด้วยรีโมท ๕.๒ ตวั แปรตาม : - ความพึงพอใจของผู้ทดลองใช้งานเรอื รดนา้ พลังงานไฟฟ้า ควบคมุ ด้วยรโี มท ๕.๓ ตัวแปรควบคุม : ระยะในการควบคุมบังคับเรอื รดนา้ พลังงานไฟฟ้าควบคมุ ด้วยรีโมท อยูใ่ นระยะไม่เกิน ๑๐๐ เมตร ๖. นยิ ามศพั ท์เฉพาะ ๖.๑ เซลล์แสงอาทิตย์ หรือแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cell) คือสิ่งประดิษฐ์กรรมทาง อเิ ลคทรอนิกสท์ สี่ ร้างขน้ึ เพือ่ เปน็ อปุ กรณ์สาหรับเปล่ียนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดย การนาสารก่งึ ตัวนา ๖.๒ ปั๊มน้า คือ อุปกรณ์สาหรับส่งน้าหรือถ่ายเทของเหลวจากท่ีหนึ่งไปยังอีกท่ีหนึ่ง หรือ หมุนเวียนนา้ หรือของเหลวใหผ้ สมกันในบริเวณท่ีจากดั ๖.๓ รเี ลย์ (Relay) คือ เป็นอปุ กรณท์ ี่ใหเ้ ป็นพลังงานเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าแม่เหล็ก เพ่ือใช้ใน การดึงดดู หนา้ สมั ผัสของคอนแทคให้เปลย่ี นสภาวะ โดยการปอ้ นกระแสไฟฟ้าใหก้ ับขดลวด ๖.๔ Arduino Board คือ แผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์แบบชิปเด่ียว สามารถรับสัญญาณ ตา่ งๆ เขา้ มาประมวลผลไดห้ ลากหลายชนิดสญั ญาณ วงจรเปน็ ลกั ษณะโอเพน่ ซอร์สฮาร์ดแวร์ ๖.๕ โซล่าชารจ์ เจอร์ คือ อปุ กรณอ์ กี ชนิดหน่ึงที่มคี วามสาคญั ในการติดตั้งโซล่าเซลล์ ซึ่งโซล่า ชาร์จเจอรจ์ ะทาหนา้ ทค่ี วบคมุ การประจุไฟฟ้าที่ได้จากแผงโซล่าเซลล์แล้วเอามาเก็บไว้ท่ีแบตเตอรรี่ใน ปริมาณท่เี หมาะสม ๖.๖ แบตเตอร่ี คอื อุปกรณ์ทสี่ ามารถเปล่ยี น พลงั งานเคมที ่ีเกบ็ ไว้เป็นพลังงานไฟฟ้า
๔๙ ๖.๗ ปั๊มน้า คือ อุปกรณ์สาหรับส่งน้าหรือถ่ายเทของเหลวจากที่หนึ่งไปยังอีกท่ีหน่ึง หรือ หมุนเวียนน้าหรอื ของเหลวให้ผสมกันในบรเิ วณทจี่ ากัด ๖.๘ ท่อ PVC คอื ท่อที่ทาข้ึนจากโพลิไวนิลคลอไรด์ โดยไม่ผสมพลาสติกไซเซอร์ ซึ่งช่ืออย่าง เปน็ ทางการที่ไดร้ ะบใุ น มอก. คู่มอื การใชง้ าน เรอื รดนา้ พลงั งานไฟฟ้าควบคุมด้วยรโี มท วิธีการใช้งานเรอื รดนา้ พลังงานไฟฟ้าควบคุมด้วยรีโมท วิธีการชารต์ แบตเตอรร์ ่ี วธิ กี ารดูแลรักษา วิธีสร้างสรา้ งเรอื รดนา้ พลังงานไฟฟ้าควบคุมด้วยรีโมท วสั ดุอปุ กรณท์ ่นี ามาสรา้ งเรือรดนา้ พลังงานไฟฟา้ ควบคมุ รีโมท ภาพที่ ๑ เรือรดนา้ พลังงานไฟฟา้ ควบคุมดว้ ยรโี มท วธิ กี ารใช้งานเรอื รดนา้ พลงั งานไฟฟา้ ควบคมุ ดว้ ยรโี มท ๑. เปิดสวิตซด์ ้านขา้ งกล่องควบคุมวงจร เพ่ือทาการปล่อยกระแสไฟฟ้าให้กบั อุปกรณ์ภายในกลอ่ ง ควบคมุ ประกอบดว้ ย ๑.๑ บอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์(ด้านลา่ ง) ๑.๒ โมดลู รีซฟี เวอร์ ๑.๓ โมดูลรีเลย์
๕๐ ๑.๔ วงจรลดระดับแรงดัน ๑ ภาพที่ ๒ สวติ ซ์ปลอ่ ยกระแสไฟฟา้ ให้กบั อปุ กรณ์ภายในกล่องควบคุม ๑.๑ ๑. ๑.๓ ๑.๔ ภาพที่ ๓ อปุ กรณ์ภายในกลอ่ งควบคุม ๒. เปิดสวติ ซ์รโี มท เพือ่ ทาการสื่อสารกบั รีซีพเวอร์ที่อยู่ภายในกล่องควบคุม และทาการส่ังงานเรอื รด น้าพลงั งานไฟฟ้าควบคุมด้วยรโี มทดงั ต่อไปนี้ ๒.๑ คนั โยกดา้ นขวา ๑. เลื่อนขึน้ สั่งใหเ้ รือรดน้าพลงั งานไฟฟา้ ควบคมุ ดว้ ยรโี มทเดินหน้า ๒. เลือ่ นซา้ ย สัง่ ใหเ้ รือรดน้าพลงั งานไฟฟา้ ควบคมุ ด้วยรีโมทเล้ียวซ้าย ๓. เลอ่ื นขวา สง่ั ใหเ้ รอื รดน้าพลงั งานไฟฟา้ ควบคมุ ด้วยรโี มทเลี้ยวขวา ๔. เลอ่ื นอยู่ตรงกลาง หรือ เลือ่ นลงสดุ สงั่ ให้เรอื รดนา้ พลงั งานไฟฟ้าควบคมุ ดว้ ยรโี มทหยุด เคลื่อนท่ี
๕๑ ๒.๒ คนั โยกดา้ นซ้าย ๑. เลือ่ นข้ึน ส่ังให้เรือรดนา้ พลังงานไฟฟา้ ควบคมุ ด้วยรีโมทเปิดน้ารดตน้ ไม้ ๒. เล่อื นอยู่ตรงกลาง หรือ เลื่อนลงสดุ สงั่ ให้เรือรดน้าพลังงานไฟฟา้ ควบคุมดว้ ยรโี มทหยุดรด นา้ ๒.๓ เช็คระดับพลงั งานแบตเตอรีข่ องรโี มท ๑. ถ้าหากหลอดแอลดีดี แสดงไฟสเี ขียว แสดงวา่ แบตเตอร่ียงั เต็มอยู่ ๒. ถา้ หากหลอดแอลดีดี แสดงไฟสีสม้ แสดงว่าแบตเตอรเ่ี ร่ิมอ่อนลง ๓. ถา้ หากหลอดแอลดีดี แสดงไฟสแี ดง แสดงว่าแบตเตอร่ีหมด ๒.๒ ๒.๑ ๒ ๒.๓ ภาพที่ ๔ การใชง้ านรโี มท วธิ กี ารชาร์ตแบตเตอรร์ ี่ ๑. การชาร์จแบตเตอรี่ โดยมีอปุ กรณ์ดังนี้ ๑.๑ แผงโซลา่ เซลล์ ทาหน้าท่ีแปลงพลงั งานแสงอาทิตย์เปน็ พลังงานไฟฟ้า ๑.๒ โซลา่ ชารจ์ เจอร์ ทาหนา้ ที่ควบคุมระดบั แรงดันไฟฟ้าใหค้ งที่ ก่อนทจ่ี ะสง่ พลงั งานไปให้ เก็บไวท้ แ่ี บตเตอรี่ ๑.๓ แบตเตอร่ี ทาหน้าทีเ่ ก็บพลงั งานไฟฟ้า
๕๒ ๒. ขนั้ ตอนการชารจ์ แบตเตอรี่สามารถชารจ์ ได้คร้ังละ ๑ ก้อน ดังรูป คือ ๒.๑ นาแบตเตอร่ีขัว้ บวก(สายสีแดง) มาเสยี บเข้ากบั โซล่าชารจ์ เจอร์ตรงสัญลักษณแ์ บตเตอรี่ ขัว้ บวก ๒.๒ นาแบตเตอรีข่ ว้ั บวก(สายสนี ้าเงิน) มาเสยี บเข้ากับโซล่าชารจ์ เจอรต์ รงสญั ลกั ษณ์ แบตเตอร่ีขั้วลบ ๒.๓ นาแผงโซล่าเซลล์ 2 แผงตอ่ ขนานกัน แลว้ นาขั้วบวก(สายสแี ดง) มาเสียบเข้ากับโซล่า ชาร์จเจอร์ตรงสญั ลกั ษณโ์ ซลา่ เซลล์ขัว้ บวก ๒.๔ นาแผงโซล่าเซลล์ 2 แผงต่อขนานกนั แลว้ นาข้วั ลบ(สายสีนา้ เงิน) มาเสียบเข้ากบั โซล่า ชาร์จเจอร์ตรงสัญลกั ษณ์โซล่าเซลล์ขว้ั ลบ ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๒.๓ ๒.๒ ๒.๔ ๒.๑ ภาพท่ี ๕ การตอ่ อุปกรณ์ชารจ์ แบตเตอร่ี วธิ ีการดแู ลรกั ษา ๑. เมื่อใชง้ านเรอื รดน้าพลงั งานไฟฟา้ เสรจ็ แล้ว ให้นาเรอื ขน้ึ มาไว้บนพื้นแห้ง เพื่อตรวจเช็คว่ามี วัสดอุ ะไรติดคา้ งอยู่ในตะแกรงกรองมอเตอร์สูบนา้ หรือไม่
๕๓ ภาพที่ ๖ การนาเรือขนึ้ มาเก็บไวบ้ นพ้ืนแห้งหลงั จากใชง้ านเสรจ็ ๑.๑ ถอดแบตเตอร่แี ละกลอ่ งควบคุมออกจากตัวเรือ ๑. เพือ่ นามาชารจ์ ประจุไฟฟ้าไปใช้ในคร้ังต่อไป ๒. เปดิ ฝากลอ่ งควบคมุ ทกุ คร้ังหลงั จากใชง้ านเสรจ็ เพ่ือตรวจดวู ่ามีอปุ กรณ์ตัวใดชารดุ เสียหาย หรือ มีรอยไหม้จากกระแสไฟฟ้าหรือไม่ จะไดท้ าการซ่อมแซมก่อนนาไปใชใ้ นคร้ังถดั ไป อกี ท้ังการเปิดฝากล่องควบคุมยังทาให้เกิดการระบายความร้อนภายในกล่องควบคุมอีกดว้ ย ภาพที่ ๗ การถอดแบตเตอร่ี และกล่องควบคุมออกจากตัวเรอื หลังจากใช้งานเสร็จ
๕๔ วิธีสรา้ งสรา้ งเรือรดน้าพลังงานไฟฟ้าควบคมุ ดว้ ยรีโมท ๑. ขัน้ ตอนการสร้างตวั ถงั จานวน ๒ ชดุ ประกอบด้วยอุปกรณ์ดังน้ี ๑.๑ ทอ่ PVC ขนาด ๔ นิ้ว ความยาว ๓๖ เซนตเิ มตร จานวน ๔ ตวั ๑.๒ ท่อ PVC ขนาด ๔ นิ้ว ความยาว ๒๖ เซนติเมตร จานวน ๒ ตวั ๑.๓ ข้อตอ่ ๓ ทาง ขนาด ๔ น้วิ ลด ๒ นว้ิ จานวน ๔ ตวั ๑.๔ ฝาปดิ ท่อ PVC ขนาด ๔ น้ิว จานวน ๔ ตัว ๑.๕ นาอปุ กรณด์ งั กล่าวมาประกอบกันดังรปู ๑.๔ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๑ ๑.๓ ๑.๒ ๑.๔ ภาพที่ ๘ ชุดตัวถัง จานวน ๒ ชุด ๒. ชดุ จบั ยึดตวั ถัง ประกอบดว้ ยอปุ กรณ์ดังนี้ ๒.๑ ทอ่ PVC ขนาด ๒ น้ิว ความยาว ๕๐ เซนติเมตร จานวน ๓ ตวั ๒.๒ ทอ่ PVC ขนาด ๒ นิ้ว ความยาว ๒๐ เซนติเมตร จานวน ๒ ตวั ๒.๓ ท่อ PVC ขนาด ๒ นิ้ว ความยาว ๑๕ เซนติเมตร จานวน ๒ ตวั ๒.๔ ท่อ PVC ขนาด ๒ นว้ิ ความยาว ๘ เซนติเมตร จานวน ๔ ตวั ๒.๕ ทอ่ PVC ขนาด ๒ นว้ิ ความยาว ๖ เซนตเิ มตร จานวน ๔ ตวั ๒.๖ ขอ้ ตอ่ ๓ ทาง ขนาด ๔ นว้ิ จานวน ๖ ตัว ๒.๗ ข้องอ ๙๐ องศา ขนาด ๒ นวิ้ จานวน ๔ ตวั ๒.๘ นาอปุ กรณด์ ังกลา่ วมาประกอบกนั ดังรปู
๕๕ ๒.๓ ๒.๒ ๒.๗ ๒.๖ ๒.๖ ๒.๖ ๒.๔ ๒.๑ ภาพท่ี ๙ ชดุ จบั ยดึ ตัวถัง ๓. โครงสร้างเรือ เปน็ การนาชุดตัวถงั (ดา้ นลา่ ง) ประกอบเขา้ กับ ชุดจบั ยดึ ตัวถงึ (ด้านบน) ด้านบน ดา้ นลา่ ง ภาพที่ ๑๐ โครงสร้างเรอื ๔. ขั้นตอนการสรา้ งชดุ ขับเคลื่อนตวั เรือ ประกอบดว้ ยอปุ กรณ์ดงั นี้ ๔.๑ ทอ่ PVC ขนาด ๒ นวิ้ ความยาว ๕๐ เซนตเิ มตร จานวน ๓ ตวั ๔.๒ ข้อต่อ ๓ ทาง ขนาด ๒ น้วิ จานวน ๑ ตวั ๔.๓ ข้องอ ๙๐ องศา ขนาด ๒ นิว้ จานวน ๒ ตวั ๔.๔ มอเตอร์ป้ัมแช่ รนุ่ ๑๑๐๐ GPH จานวน ๔ ตวั ๔.๕ เขม็ ขัดรดั ท่อ PVC ขนาด ๔ น้วิ จานวน ๒ ตวั ๔.๖ เคเบล้ิ ไทร์ จานวน ๑๔ เสน้ ๔.๗ นาอุปกรณ์ดงั กล่าวมาประกอบกันดังรปู ๔.๓ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๑ ๔.๓ ๔.๔ ๔.๕ ๔.๔ ๔.๕ ๔.๔ ภาพที่ ๑๑ ชุดขับเคลอื่ น
๕๖ ๕. นาชดุ ขับเคลอ่ื น ประกอบเขา้ กับ ชุดตวั ถัง โดยใชเ้ ข็มขดั เป็นตวั เชอ่ื ม ภาพท่ี ๑๒ ชุดขบั เคลอื่ นตวั เรือ ๖. ขน้ั ตอนการสรา้ งชดุ สูบนา้ จานวน ๒ ชุด ประกอบดว้ ยอุปกรณ์ดงั นี้ ๖.๑ ทอ่ PVC ขนาด ๑/๒ นิว้ ความยาว ๖๐ เซนตเิ มตร จานวน ๔ ตวั ๖.๒ มอเตอร์ปมั้ แช่ รนุ่ ๓๕๐๐ GPH จานวน ๒ ตวั ๖.๓ เขม็ ขดั รัดท่อ PVC ขนาด ๔ นวิ้ จานวน ๘ ตวั ๖.๔ เคเบ้ิลไทร์ จานวน ๒๘ เสน้ ๖.๕ นาอปุ กรณด์ ังกลา่ วมาประกอบกนั ดังรูป ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ภาพท่ี ๑๓ ชุดสบู น้า
๕๗ ๗. นาชดุ สบู น้าประกอบเขา้ กบั ตัวถงั เรือ ๗.๑ โดยนาชุดสูบน้าตวั ที่ ๑ ประกอบเขา้ กบั ข้อตอ่ ๓ ทาง ขนาด ๔ นิ้ว ลด ๒ น้วิ ทาง ดา้ นหน้าของเรอื โดยใชเ้ ขม็ ขัดรดั ท่อ PVC ขนาด ๔ นวิ้ เปน็ ตวั เชื่อม แล้วนาเคเบล้ิ ไทร์รัดเขม็ ใหแ้ น่น ๗.๒ โดยนาชุดสูบน้าตวั ท่ี ๒ ประกอบเข้ากับ ข้อตอ่ ๓ ทาง ขนาด ๔ น้ิว ลด ๒ นิ้ว ทาง ด้านหลงั ของเรือ โดยใช้เขม็ ขัดรัดท่อ PVC ขนาด ๔ น้ิว เป็นตัวเช่ือม แล้วนาเคเบลิ้ ไทรร์ ัดเข็มใหแ้ นน่ .๗.๒ ๗.๑ ภาพท่ี ๑๔ ชดุ สูบนา้ ๘. ข้นั ตอนการสร้างชดุ สง่ น้า จานวน ๒ ชดุ ประกอบด้วยอปุ กรณ์ ดังน้ี ๘.๑ ท่อ PVC ขนาด ๑ นวิ้ ความยาว ๔๒ เซนตเิ มตร จานวน ๙ ตวั ๘.๒ ทอ่ PVC ขนาด ๑ นวิ้ ความยาว ๙ เซนติเมตร จานวน ๒ ตวั ๘.๓ ทอ่ PVC ขนาด ๑/๒ นวิ้ ความยาว ๑๘ เซนติเมตร จานวน ๔ ตวั ๘.๔ ข้อตอ่ ๓ ทาง ขนาด ๑ นิ้ว จานวน ๒ ตวั ๘.๕ ขอ้ งอ ๙๐ องศา ขนาด ๑ นว้ิ จานวน ๒ ตวั ๘.๖ ขอ้ งอ ๔๕ องศา ขนาด ๖ หนั จานวน ๔ ตวั ๘.๗ นาอุปกรณด์ งั กล่าวมาประกอบกันดังรูป
๕๘ ๘.๓ ๘.๑ ๘.๔ ๘.๑ ๘.๓ ๘.๖ ๘.๖ ๘.๕ ๘.๑ ๘.๒ ภาพที่ ๑๕ ชุดส่งนา้ ๙. นาชุดสง่ น้าประกอบเขา้ กับชุดสูบนา้ ภาพที่ ๑๖ ชุดสง่ น้าและชุดสูบนา้ ๑๐.ขั้นตอนการสรา้ งชดุ กันโคลง ประกอบดว้ ยอปุ กรณ์ดงั น้ี ๑๐.๑ ท่อ PVC ขนาด ๔ นิ้ว ความยาว เซนตเิ มตร จานวน ๒ ตวั ๑๐.๒ ฝาปิดทอ่ PVC ขนาด ๔ นิ้ว จานวน ๔ ตัว ๑๐.๓ เข็มขัดรัดท่อ PVC ขนาด ๔ น้วิ จานวน ๘ ตวั ๑๐.๔ เคเบ้ิลไทร์ จานวน ๘ เสน้
๕๙ ๑๐.๑ ๑๐.๒ ภาพที่ ๑๗ อปุ กรณ์กันโคลง จานวน ๑ ชดุ ๑๑.นาชุดกันโคลงประกอบเข้ากบั ตัวถัง โดยใชเ้ ขม็ ขัดรดั ท่อ เป็นตัวเช่อื ม แล้วใช้เคเบิล้ ไทร์เปน็ ตัว ยดึ จับใหแ้ นน่ ภาพท่ี ๑๘ ชุดกนั โคลงประกอบเขา้ กบั ตวั ถัง ๑๒.นาโครงสร้างเรอื ท้ังหมด มาทาสี และ ตากแดดให้แห้งสนทิ ภาพที่ ๑๙ การนาโครงสร้างเรือมาทาสี
๖๐ ๑๓.นาเรือรดนา้ พลังงานไฟฟ้าควบคุมดว้ ยรโี มทไปทดสอบการใชง้ าน ภาพที่ ๒๐ เรอื รดน้าพลังงานไฟฟา้ ควบคุมดว้ ยรโี มท หลังจากประกอบชิน้ สว่ น ๆ ตา่ งเสร็จ ภาพท่ี ๒๑ ทดสอบใช้งานเรือรดน้าพลงั งานไฟฟ้าควบคมุ รีโมท
บทท่ี ๕ บทสรุป เปา้ หมายของกระบวนการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจฐานความรสู้ ชู่ ุมชนภาคเกษตรกรรม ตามศาสตร์พระราชา มุ่งพัฒนาผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ รู้จัดคิด วิเคราะห์ เพื่อสร้างช้ินงาน นวัตกรรมท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์บนฐานความรู้สู่การพัฒนาอาชีพ สร้างฐานเศรษฐกิจที่ม่ันคงเริ่มต้น จากห้องเรียนท่ีเป็นศูนย์การเรียนรู้อย่างแท้จริง ผู้เรียนได้แสดงศักยภาพท่ีหลากหลายบนฐานการเรียนรู้ คิด รู้วิเคราะห์ รู้ปฏิบัติ รู้คุณค่าความชานาญ โดยท้ังนี้เป้าหมายของกระบวนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ฐานความรู้ ประกอบไปดว้ ยการม่งุ พฒั นาในประเด็น ๕ ด้าน ดงั น้ี ๑. พัฒนาผู้เรียน ด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้พร้อมรับการเปล่ียนแปลง บนฐาน การเรียนร้คู ิด รู้วเิ คราะห์ รู้ปฏิบตั ิ รคู้ ณุ คา่ ความชานาญ เมื่อผู้เรียนมีพลังความรู้ที่พร้อม ทาให้เราสามารถ นาความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ ให้ความรตู้ กผลกึ เป็นองค์ความรู้ทมี่ ีพลังพร้อมต่อยอดต่อไป ๒. การพัฒนาครู จัดเป็นพลังขับเคลื่อนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่สาคัญ การพัฒนาใด ๆ นั้นต้องอาศัยกระบวนการถ่ายทอดความรู้บนพ้ืนฐานความมีจรรยาบรรณท่ีมุ่งม่ัน ตั้งใจ ทุ่มเท เสียสละ อุทิศตนให้แกผ่ ู้เรียน ชมุ ชน และบคุ คลทัว่ ไปบนพืน้ ฐานของความรักและศรัทธาในวิชาชีพ ทาให้ได้รับการ พัฒนาความเจริญงอกงาม เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมนาความรู้ ความคิด มีความรู้รอบด้าน สามารถพัฒนา ตนเองและชุมชนจนสามารถพึ่งตนเองได้ ๓. การพัฒนาทักษะความชานาญเฉพาะทาง และองค์ความรู้ ด้วยเหตุท่ีความรู้มีมากมาย กระจัดการจายอยู่ทั่วไป การจัดการความรู้ และทักษะ คือ การนาเอาองค์ความรู้ที่อยู่ในตัวของผู้เรียน ครู สร้างให้เป็นนวัตกรรม ชิ้นงาน โครงการ ในลักษณะของศูนย์การเรียนรู้ของสถานศึกษา ศูนย์การเรียนรู้ ชุมชน และศูนย์กลางความเช่ือมโยง (เครือข่ายความร่วมมือ) ให้สามารถนามาประยุกต์ใช้ เพื่อแก้ปัญหา ที่อาจจะเกิดข้ึน (การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี) หรือสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ได้โดยใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ พัฒนา ต่อยอด เป็นการสร้างพลังอานาจในการจัดการความรู้ที่เกิดประสิทธิผลแก่ชุมชน และสังคมอย่าง งอกงาม สามารถปฏบิ ัตภิ ารกิจไดโ้ ดยง่าย ไม่เป็นการแกป้ ัญหาซ้า ๆ นามาซง่ึ ผลลัพธท์ ่ดี ี ๔. การสร้างความเชื่อมโยงแบบมีส่วนร่วม การสร้างความเชื่อมโยงโดยการสร้างและ นวัตกรรม ชิ้นงานแบบมีส่วนร่วม จัดเป็นการสร้างสรรค์แนวทางในพัฒนาชุมชนเกษตรกรรมบนฐานคิด แบบมีส่วนร่วม ในสภาพแห่งความเป็นจริงยุคใหม่ ๆ ภายใต้กระบวนการจัดการศึกษาอิงเศรษฐกิจ ฐานความรู้ การส่ือสาร องค์กรภาครัฐ แหล่งทรัพยากร แนวคิดการออกแบบวิธีการของความเชื่อมโยง แบบมีส่วนร่วมให้มีความเป็นนวัตกรรมเชิงกระบวนการทางการศึกษาร่วมกัน เพ่ือส่งเสริมการสร้าง
๖๒ นวัตกร บนฐานการค้นคว้าวิจัยพัฒนานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ การถอดบทเรียนจากศูนย์การเรียนรู้ (ห้องเรียน) ส่ชู ุมชนเกษตรกรรมอย่างแท้จริง และ ๕. ความศรัทธา และบริบทเชิงพื้นที่ การสร้างและพัฒนานวัตกรรมแบบมีส่วนร่วม และ พัฒนาส่งเสริม จัดการถ่ายทอดองค์ความรู้จนเกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมาย ชุมชนเกิดความมั่นใจเล่ือมใส ศรัทธาแล้ว การจัดการความรู้ การถอดบทเรียนร่วมกันถือเป็นกระบวนการที่สาคัญของสถานศึกษา องค์กร และชุมชน หมายถึงการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาในตัวบริบทเชิงพ้ืนท่ี นั่นหมายถึง ผู้บริหาร สถานศึกษาต้องมีความรู้ และใช้ความรู้เพ่ือจัดการศึกษา โดยต้องมีกระบวนการพิสูจน์หลายบริบทว่า ได้ผลดีจริง มีความเท่ียง ส่งผลต่อการกาหนดราคา เพิ่มมูลค่าขององค์ความรู้ และนวัตกรรม หรือชิ้นงาน นั้น ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน ๆ หรือคนทางานในพื้นที่ซ่ึงมีประสบการณ์ และมีการจัดการความรู้ที่ดี เชิงพ้ืนที่ ผ่านกระบวนการวิเคราะห์จนได้บทเรียนท่ีดี จากการทางาน ท้ังบทเรียนจากความสาเร็จ บทเรียนจากความผิดพลาดที่พึงระวัง เม่ือมีการถอดบทเรียนดังกล่าวไว้ และนามาเผยแพร่แบ่งปัน องคค์ วามรู้ องค์ความคิดเป็นวทิ ยาทานให้แกช่ ุมชนเจรญิ งอกงามอย่างย่ังยืนต่อไป บรรณานกุ รม เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักด์ิ. พระอัจฉริยภาพด้านเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจการพัฒนาประเทศ. ใน เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (บ.ก.). (๒๕๕๕). ตามรอยพระเจ้าอยู่หัว (น.๑๓-๑๘). กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัทซัคเซส มเี ดยี จากดั . ศาสตร์พระราชา, ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน, [ออนไลน์] แหล่งท่ีมา : https://sites.google.com/site/sastrphrarach2019/prawati-khwam-pen-ma [๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒]. ปยิ ะพชั ร์ สถิตปรชี าโรจน์. การพฒั นานวตั กรรมปุ๋ยกระบอกสเู่ กษตรกรนาบัวอย่างยั่งยืน. โครงการ อาชีวะสร้างชาติด้วย “วิถีเพียงพอ ตามพ่อสอน”ความร่วมมือระหว่างสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษากับมูลนิธิบ๊ิกซี, วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา, ๒๕๕๗. . การพัฒนารูปแบบการเล้ียงหอยขมเชิงเกษตรอินทรีย์สู่เกษตรกรอย่างย่ังยืน. โครงการ อาชีวะสร้างชาติด้วย “วิถีเพียงพอ ตามพ่อสอน”ความร่วมมือระหว่างสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กับ มูลนิธิบิ๊กซี, วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปา ชพี บางไทร, ๒๕๕๘. ปฤษณา กองวงค์ “ฝังปุ๋ยกระบอกช่วยเกษตรนาบัว”.หนังสือพิมพ์ข่าวสด, ไอคิวทะลุฟ้า ปีท่ี ๒๔ ฉบับท่ี ๘,๖๘๐ (วันท่ี ๓ กนั ยายน ๒๕๕๗) : ๑๓.
คู่มือกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ ฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรม ตามศาสตร์พระราชาของสถาบันการอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคกลาง นนาางยสปายิ วะพรัชวร์ษิ สฎถิตาปรพชี าาโพรจันนธ์ ์ นิสติ ปรญิ ญาเอก สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
Search