เอกสิทธิ์ (Privilege) สิทธิพิเศษเฉพาะบุคคลบางคนหรือบางประเภท ในอันท่ีจะ ได้รับยกเว้นบางประการในการปฏิบัติหน้าท่ีหรือดำเนินการ เช่น เอกสทิ ธ์ิท่ีเกีย่ วข้องกบั การเมอื ง เอกสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมือง ได้แก่ เอกสิทธ์ิของสมาชิก รัฐสภา เป็นสิทธิพิเศษท่ีให้แก่สมาชิกรัฐสภาในการปฏิบัติหน้าท่ี บางประการไดอ้ ยา่ งอสิ ระโดยไมม่ คี วามผดิ ใด ๆ ไดแ้ ก่ การกลา่ วถอ้ ยคำ ในทางแถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็น หรือออกเสียง ลงคะแนน ผใู้ ดจะนำไปเปน็ เหตฟุ อ้ งรอ้ งวา่ กลา่ วสมาชกิ ผนู้ น้ั ในทางใด มไิ ด้ เพราะการปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี งั กลา่ วเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนข์ องสว่ นรวม เว้นแต่เป็นการกล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดสดทาง วิทยุหรือโทรทัศน์ ซึ่งมีลักษณะเป็นความผิดทางอาญาหรือทางแพ่ง ตอ่ บคุ คลอน่ื ทมี่ ใิ ชร่ ฐั มนตรหี รอื สมาชกิ แหง่ สภา เอกสทิ ธข์ิ องสมาชกิ รฐั สภาจะกำหนดชดั เจนไวใ้ นรัฐธรรมนญู 52 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เลม่ ที่ ๒
ความคมุ้ กนั (Parliamentary Immunity) ความคุ้มครองท่ีรัฐธรรมนูญให้แก่ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา หรอื สมาชกิ สภานติ บิ ญั ญตั ิ แห่งชาติ ตามที่รัฐธรรมนูญท่ีใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นกำหนดให้ ทำหน้าท่ีฝ่ายนิติบัญญัติ เพื่อให้สมาชิกสภาสามารถปฏิบัติหน้าที่ ในการประชุมสภาได้โดยไม่ต้องถูกจับ คุมขังหรือดำเนินคดีใด ๆ ในลกั ษณะทเ่ี ป็นการขัดขวางมใิ ห้สมาชิกผนู้ ั้นมาประชุมสภา หากจะ ดำเนินคดีศาลต้องขออนุญาตสภาท่ีผู้น้ันสังกัดอยู่ ความคุ้มกัน เป็นแนวคิดที่จะให้การปกป้องคุ้มครองผู้แทนปวงชนชาวไทย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้ปฏิญาณตนไว้อย่างเป็นอิสระ ปราศจากความกดดันหรือการคุกคามใด ๆ โดยจะกำหนดชัดเจนไว้ ในรฐั ธรรมนญู คำทเ่ี ก่ยี วข้องในวงงานรัฐสภา 53
(ยDุบiสssภoาlu tion of the House of Representatives) การดำเนินการทางการเมืองเพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทง้ั หมดทมี่ อี ยใู่ นขณะใดขณะหนง่ึ ตอ้ งพน้ จากสมาชกิ ภาพของสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรไปพร้อมกนั ทกุ คน และจดั ให้มีการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรข้ึนใหม่เป็นการเลือกตั้งท่ัวไป การยุบสภาน้ีใช้กับ สภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น ไม่ใช้กับวุฒิสภาเพราะไม่มีการยุบวุฒิสภา การยุบสภาผู้แทนราษฎรเป็นหลักการสำคัญประการหนึ่งของการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยในระบบรฐั สภาโดยรฐั สภาเปน็ สถาบนั ของผทู้ ีเ่ ปน็ ตวั แทนของประชาชนท่ีใช้อำนาจนิติบัญญัติ คอื การออก กฎหมายใช้ในการปกครองประเทศ และมีอำนาจในการควบคุม ฝา่ ยบรหิ ารดว้ ยการต้งั กระทู้ถามหรือการทำให้รฐั บาลออกไดโ้ ดยการ เปดิ อภปิ รายไมไ่ วว้ างใจ การยบุ สภาจงึ เปน็ การใหอ้ ำนาจนายกรฐั มนตรี ซงึ่ เปน็ ผใู้ ชอ้ ำนาจบรหิ ารประเทศในการถว่ งดลุ อำนาจกบั ฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ิ การยบุ สภาผแู้ ทนราษฎรจะเกดิ ผลกระทบโดยตรงตอ่ สถาบนั การเมอื ง ทงั้ ฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั แิ ละฝา่ ยบรหิ าร เพราะเมอ่ื มกี ารยบุ สภาผแู้ ทนราษฎร แลว้ นอกจากทำใหส้ มาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรสน้ิ สดุ ลงกอ่ นครบวาระ การดำรงตำแหน่งตามปกติ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีท้ังคณะ ซงึ่ เป็นฝา่ ยบรหิ ารก็ตอ้ งพ้นจากตำแหนง่ ด้วยเชน่ กัน 54 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เล่มที่ ๒
ก(Sาuรbเขm้าiชssอื่ ioเสnนaอPกeฎtitหioมnาfยo r Introducing the Law) สิทธิในการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองประเทศของ ประชาชน ประเทศไทยได้รับรองสิทธิประชาชนในการเข้ามามี สว่ นร่วมทางการเมอื งการปกครอง โดยการเขา้ ชื่อเสนอกฎหมายเปน็ คร้ังแรก ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ โดยกำหนดใหผ้ ้มู สี ิทธิเลอื กตงั้ จำนวน ๕๐,๐๐๐ คน เข้าชือ่ รอ้ งขอต่อ ประธานรัฐสภาเพ่ือให้รัฐสภาพิจารณากฎหมายโดยจะต้องจัดทำเป็น คำท่ีเกย่ี วขอ้ งในวงงานรฐั สภา 55
ร่างพระราชบัญญัตเิ สนอพร้อมคำร้องขอด้วย ต่อมารัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ไดบ้ ญั ญตั ริ บั รองสทิ ธใิ นการให้ ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้ เช่นเดียวกัน แต่ลดจำนวนผู้มีสิทธิเลือกต้ังท่ีเข้าช่ือเสนอกฎหมาย ลงเหลือเพียง ๑๐,๐๐๐ คน ทั้งนี้ เพ่ือไม่เป็นการสร้างภาระให้แก่ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ังในการร่วมกันเข้าช่ือเสนอกฎหมาย ให้สามารถเสนอได้ง่ายข้ึน สำหรับร่างพระราชบัญญัติท่ีประชาชน จะเขา้ ชอื่ เสนอใหร้ ฐั สภาพจิ ารณาไดน้ น้ั จะตอ้ งเปน็ รา่ งพระราชบญั ญตั ิ ทม่ี เี นอ้ื หาตามทร่ี ฐั ธรรมนญู กำหนด รฐั ธรรมนญู ทง้ั สองฉบบั ดงั กลา่ ว กำหนดให้สิทธิประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้แต่เฉพาะท่ีกำหนด ไว้ในหมวด ๓ เก่ียวกับสิทธิและเสรีภาพของชาวไทย และหมวด ๕ เก่ยี วกับแนวนโยบายพนื้ ฐานแหง่ รฐั 56 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เลม่ ที่ ๒
(กVารoอtiอnกgเiสnยี aงปRรeะfeชrาeมnตduิ m) กระบวนการในการแสดงความเห็นของประชาชนด้วยการ ลงคะแนนเสียง เพื่อตัดสินใจว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ในเรื่องที่มีความสำคัญ และมี ผลกระทบต่อประโยชน์ได้เสีย ของประเทศชาติ หรือกระทบ ต่ อ สิ ท ธิ แ ล ะ เ ส รี ภ า พ ข อ ง ประชาชน เป็นรูปแบบหนึ่ง ของประชาธปิ ไตยแบบโดยตรง ที่ให้ประชาชนสามารถท่ีจะ แสดงความคดิ เหน็ และตดั สนิ ใจ ในเรื่องท่ีมีความสำคัญและ กระทบต่อสิทธิเสรีภาพของ ตนเองได้ ถือเป็นมาตรการ ถ่ ว ง ดุ ล อ ำ น า จ อ ง ค์ ก ร ห รื อ ส ถ า บั น ท่ี เ ป็ น ตั ว แ ท น ข อ ง ประชาชนมิให้ดำเนินการใด ๆ โดยมิได้ฟังเสียงที่แท้จริงของ ประชาชน ซ่ึงเป็นหลักการที่มีกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทยมาแล้วหลายฉบบั ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๑ คำทีเ่ กย่ี วขอ้ งในวงงานรัฐสภา 57
Vote รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พทุ ธศักราช ๒๕๔๙ และ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ศาลยุติธรรม (Courts of Justice) ศาลท่ีมีอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีท้ังปวง เว้นแต่ คดีท่ีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลอ่ืน โดยศาลยตุ ิธรรมแบ่งออกเป็น ๓ ชน้ั คือ ศาลชน้ั ตน้ ศาลอุทธรณ์ และ ศาลฎกี า 58 สารานุกรมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เล่มท่ี ๒
ศาลรฐั ธรรมนญู (Constitutional Court) องค์กรสูงสุดท่ีมีอำนาจในการวินิจฉัยช้ีขาดว่า บทบัญญัติ แห่งกฎหมายใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ รวมทั้งอำนาจ ในการวินิจฉัยชี้ขาดว่า ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างข้อบังคับการประชุมสภา มีข้อความขัด หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราข้ึนโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญหรือไม่ ศาลรัฐธรรมนูญเป็นศาลท่ีจะต้องพิจารณา พิพากษาคดีหรือดำเนินการต่าง ๆ ตามอำนาจหน้าท่ีที่กำหนดไว้ใน รฐั ธรรมนญู และกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย์ คำทเ่ี กีย่ วขอ้ งในวงงานรฐั สภา 59
ศาลปกครอง (Administrative Court) ศาลทม่ี ีอำนาจพิจารณาพพิ ากษาคดีปกครอง คดปี กครองเปน็ คดีพิพาทระหว่างหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐกับ เอกชน หรือระหว่างหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ด้วยกัน อันเนื่องมาจากการใช้อำนาจทางปกครองตามกฎหมายหรือ การดำเนนิ กิจการทางปกครอง โดยศาลปกครองแบง่ ออกเป็น ๒ ชนั้ คอื ศาลปกครองชัน้ ตน้ และศาลปกครองสูงสดุ 60 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๒
ทfศ(SoาาruลงpPกฎreากีerรmาsเแมoeผnือCsนงoH กuคorดltdีอoinfาญgJuPาsขotiอlcitงeiผ’csaดู้ ClำPrรioงmsตiiำtniแoaหnl Dนs)iง่ v ision แผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นแผนกที่ จดั ตงั้ ขน้ึ ในศาลฎกี าเปน็ ครงั้ แรกตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ กย็ งั ใหค้ งแผนกนไี้ วใ้ นศาลฎกี าดว้ ย ซง่ึ ผพู้ พิ ากษา ทเ่ี ปน็ องคค์ ณะในการพจิ ารณาคดี ประกอบดว้ ย ผพู้ พิ ากษาในศาลฎกี า คำท่ีเกีย่ วขอ้ งในวงงานรัฐสภา 61
ท่ดี ำรงตำแหน่งไมต่ ่ำกวา่ ผพู้ ิพากษาศาลฎกี า จำนวนเก้าคน โดยได้รบั เลอื กจากทป่ี ระชมุ ใหญศ่ าลฎกี าดว้ ยวธิ ลี งคะแนนลบั และใหเ้ ลอื กเปน็ รายคดี ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีท่ีนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภา ผแู้ ทนราษฎรสมาชกิ วฒุ สิ ภาหรอื ขา้ ราชการการเมอื งอน่ื ถกู กลา่ วหาวา่ ร่ำรวยผิดปกติ กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าท่ีราชการตามประมวล กฎหมายอาญา หรือกระทำผดิ ตอ่ ตำแหน่งหนา้ ท่หี รอื ทจุ ริตตอ่ หน้าท่ี ตามกฎหมายอ่ืน และให้มีเขตอำนาจครอบคลุมไปถึงบุคคลอ่ืนท่ี ร่วมกระทำความผิดในฐานะเป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนด้วย นอกจากน้ี ยังมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่กล่าวหาว่ากรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติร่ำรวยผิดปกติ กระทำ ความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ ราชการ และคดเี กีย่ วกบั การร้องขอให้ทรพั ย์สินทีเ่ พม่ิ ขน้ึ ผดิ ปกตขิ อง ผดู้ ำรงตำแหนง่ ทางการเมืองตกเป็นของแผน่ ดนิ ด้วย 62 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๒
องคก์ รตามรฐั ธรรมนญู (Constitutional Organs) องค์กรของรัฐท่ีได้รับมอบหมายให้ดำเนินการเก่ียวกับภารกิจ ของรฐั ตามบทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู และกฎหมายโดยมหี ลกั ประกนั ใหส้ ามารถปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทไี่ ดร้ บั โดยอสิ ระปลอดพน้ จากการแทรกแซง ขององคก์ รของรฐั อื่นหรือสถาบนั ทางการเมอื งอืน่ ๆ ความสำคัญขององคก์ รตามรฐั ธรรมนูญ ดังน้ี ๑. จำเปน็ ทต่ี อ้ งมอี งคก์ รทค่ี มุ้ ครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน และเพื่อเยียวยาปัญหาของประชาชนจากการใช้อำนาจรัฐ หรือการ กระทำของบุคคลและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเนื่องจากการใช้ วิธีการในทางศาลอาจมีข้อจำกัดบางประการ เช่น ระยะเวลาในการ พจิ ารณาพพิ ากษาคดขี องศาลรวมไปถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กยี่ วกบั การฟอ้ งรอ้ ง และการดำเนินคดีในศาล ๒. มีความจำเป็นต้องมีกลไกตรวจสอบเก่ียวกับความสุจริต ในการใช้อำนาจรฐั และตรวจสอบเกี่ยวกับการใช้อำนาจรัฐ คำท่ีเกย่ี วขอ้ งในวงงานรัฐสภา 63
๓. มคี วามจำเปน็ ตอ้ งมกี ลไกในการควบคมุ ตรวจสอบทจี่ ะลด และขจัดการซื้อเสียงและเปิดโอกาสให้คนดีมีคุณภาพคุณธรรมเข้าสู่ ระบบการเมอื ง ๔. มคี วามจำเปน็ ตอ้ งมกี ลไกในการเสรมิ สรา้ งระบบการเมอื ง และพรรคการเมอื งท่ีมีเสถยี รภาพและประสิทธภิ าพ ๕. มคี วามจำเปน็ ตอ้ งมกี ลไกทม่ี คี วามเปน็ อสิ ระและเปน็ กลาง สามารถดำรงความยตุ ิธรรมในการปฏิบัติหน้าท่ี ตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดให้มีองค์กรอิสระและองค์กรอ่ืนตามรัฐธรรมนูญ จำนวน ๗ องคก์ ร ดังนี้ องคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู (Independent Constitutional Organs) จำนวน ๔ องคก์ ร ประกอบด้วย ๑. คณะกรรมการการเลือกตั้ง ๒. ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ๓. คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ ๔. คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ องคก์ รอน่ื ตามรฐั ธรรมนญู (Other Constitutional Organs) จำนวน ๓ องค์กร ประกอบด้วย ๑. องค์กรอยั การ ๒. คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ ๓. สภาที่ปรกึ ษาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 64 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เล่มท่ี ๒
(oกSfาuรAbยsm่นื seiบstssัญiaoชnnีแdoสfLดainงaรbAาiclยictกoiาeuรsn)ทtรSัพhoยw์สiินnแgลPะaหrtนic้สี uนิla rs การที่บุคคลผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองย่ืนบัญชีแสดง รายการทรัพย์สินและหน้ีสินทั้งหมดที่มีอยู่ของตนต่อคณะกรรมการ - ลบั - - ๑ – เลขประจาํ ตวั ประชาชนผู้ยน่ื บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนีส้ ิน ผู้ยน่ื : ช่ือและชื่อสกุล (ภาษาไทย) . ช่ือและชื่อสกลุ เดิม (ภาษาไทย) (ถา้ มี) . ชื่อและช่ือสกลุ (ภาษาองั กฤษ) . ชื่อและช่ือสกุลเดิม (ภาษาองั กฤษ) (ถา้ มี) . วนั เดือน ปี เกิด อายุ ปี สถานภาพ โสด สมรส หยา่ หมา้ ย ตาํ แหน่งท่ียน่ื สงั กดั . ยน่ื บญั ชีกรณี เขา้ รับตาํ แหน่ง ดาํ รงตาํ แหน่งทุก ๓ ปี พน้ จากตาํ แหน่ง พน้ จากตาํ แหน่งครบ ๑ ปี เม่ือวนั ที่ เดือน พ.ศ. . ทอ่ี ยู่ : . . โทรศพั ทท์ ่ีบา้ น โทรศพั ทม์ ือถือ อีเมล์ . บดิ า : ช่ือและชื่อสกลุ อายุ ปี อาชีพ . ตาย ที่อยู่ . มารดา ชื่อและช่ือสกลุ อายุ ปี อาชีพ . ตาย ที่อยู่ . คู่สมรส ช่ือและชื่อสกลุ (ภาษาไทย) . ช่ือและชื่อสกลุ เดิม (ภาษาไทย) (ถา้ มี) . ชื่อและช่ือสกลุ (ภาษาองั กฤษ) . ชื่อและช่ือสกุลเดิม (ภาษาองั กฤษ) (ถา้ มี) . เลขประจาํ ตวั ประชาชน วนั เดือน ปี เกิด . ท่ีอยู่ . ช่ือและชื่อสกุลบิดา . ชื่อและชื่อสกลุ มารดา . ลงช่ือ ผยู้ น่ื 65 - ลบั - คำท่ีเกีย่ วข้องในวงงานรัฐสภา
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทุกคร้ังท่ีเข้ารับตำแหน่ง และพ้นจากตำแหน่ง นอกจากการยื่นของตนเองแล้ว กฎหมายยัง บังคับให้ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหน้ีสินของคู่สมรส และบตุ รทย่ี งั ไม่บรรลนุ ติ ิภาวะด้วย การย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินเป็นมาตรการ สำคัญในการตรวจสอบการทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท่ีจะ ตอ้ งยน่ื ทงั้ น้ีเพอ่ื เปน็ การแสดงพยานหลกั ฐานและเปดิ เผยใหป้ ระชาชน ทราบว่า ก่อนเข้าสู่ตำแหน่งและภายหลังจากการพ้นจากตำแหน่ง ตนเองและครอบครัวมิได้มีทรัพย์สินหรือหน้ีสินเพ่ิมข้ึนหรือลดลง จนผิดปกตทิ จ่ี ะส่อวา่ อาจมีการกระทำทีเ่ ปน็ การทจุ รติ เกดิ ขน้ึ ก(AารctกioรnะทAำmทีเ่oปuน็ntกiาnรgขtัดoกaันCแoหn่งfผliลctปoรfะIโnยtชerนe ์ sts) การที่บุคคลซ่ึงมีส่วนได้เสียหรืออาจได้รับประโยชน์ท่ีเป็น ส่วนตัวจากการพิจารณาเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง แต่ตนเองกลับเป็นผู้ใช้ อำนาจหรือเขา้ ไปมสี ่วนรว่ มในการพิจารณาตดั สนิ ใจเรอ่ื งนนั้ ๆ ด้วย 66 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๒
Pt(บกhAาeุคeรrpคsใCpoลหronใ้คonหsvวs้ดtaาtoilำมt,รHuเRงหtoiตeน็olcำdnชoแ)mPอหoบmนsi่งใetหตnioค้dาnมaำsแtทiaนoี่รsnะัฐPนธoerรำrรsSหcมeรrlนiอืebcูญกetาdiกoรำnbเหลyoือนf กด กระบวนการท่ีสภาใดสภาหน่ึงหรือกลุ่มบุคคลใดกลุ่มบุคคล หน่ึง ตามท่ีรัฐธรรมนูญจะได้กำหนดไว้ให้ใช้อำนาจหน้าท่ีของตน ในการพจิ ารณาเพอ่ื ใหค้ วามเหน็ ชอบหรอื ใหค้ ำแนะนำหรอื เลอื กบคุ คล ใหด้ ำรงตำแหนง่ ใด ๆ โดยมขี น้ั ตอนกระบวนการดำเนนิ การทก่ี ำหนด รูปแบบไว้อย่างชัดแจ้ง เพ่ือให้ได้บุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถและ มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการดำรงตำแหน่งน้ัน ก่อนท่ีจะนำรายช่ือ บุคคลนั้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพอื่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มแตง่ ตง้ั ใหด้ ำรงตำแหนง่ น้นั ตอ่ ไป คำทเ่ี กี่ยวขอ้ งในวงงานรฐั สภา 67
การใหค้ วามเหน็ ชอบบคุ คลใหด้ ำรงตำแหนง่ ตามที่ (PพToรhsะietรiCาoชnoบnasญัsePnญtrัตefsอิocrืน่ raiกbำPeหdeนrbsดoy nOttohHeroAldcatsn)y กระบวนการท่ีสภาใดสภาหนึ่งหรือกลุ่มบุคคลใดกลุ่มบุคคล หนึ่ง ตามท่ีกฎหมายอ่ืนในระดับพระราชบัญญัติจะกำหนดไว้ให้ใช้ อำนาจหน้าท่ีของตนในการพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลให้ดำรง ตำแหนง่ ใด ๆ โดยมขี น้ั ตอนกระบวนการดำเนนิ การทกี่ ำหนดรปู แบบ ไวอ้ ยา่ งชดั แจง้ เพอ่ื ใหไ้ ดบ้ คุ คลทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถและมคี ณุ สมบตั ิ ที่เหมาะสมกับการดำรงตำแหน่งน้ัน ก่อนที่จะนำรายช่ือบุคคลน้ัน ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อทรง พระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนั้น ต่อไป 68 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๒
คณะกรรมการสรรหา (Selective Committee) คณะบุคคลที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอื่นในระดับพระราช บญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู หรอื พระราชบญั ญตั กิ ำหนดใหม้ สี ว่ นรว่ ม อยู่ในกระบวนการสรรหาบุคคลให้มาดำรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง โดยกำหนดให้มีอำนาจหน้าที่ในการคัดสรรบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการดำรงตำแหน่งนั้น ในเบื้องต้น เพ่ือเสนอให้คณะบุคคลอีกคณะหน่ึงท่ีกฎหมายกำหนด เป็นผ้คู ดั เลือกอีกชนั้ หน่งึ คำท่ีเก่ียวขอ้ งในวงงานรัฐสภา 69
ค(BคCวณeohาะmมaกvปmรiรoรirะtมtพaeาenฤธdfติกoิาErแรtลEเhพะxicพ่ือaamทฤlตำCinหกิ oiนรnnรgd้ามทuPทc่ีตatาsร)งtวจRจรสeิยcอธoบrรdปรsมร, ะ วัติ เป็นคณะกรรมาธกิ ารสามญั ของวฒุ ิสภา ซ่งึ คณะกรรมาธิการ ประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาเท่าน้ัน โดยมีหน้าท่ีตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลผู้ได้รับ การเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ตามท่ีรัฐธรรมนูญกำหนด รวมท้ังรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานอันจำเป็น แล้วจัดทำ รายงานเพอ่ื ใหว้ ฒุ สิ ภาใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการประกอบการพจิ ารณาลงมติ แตง่ ตัง้ บคุ คลใหด้ ำรงตำแหน่ง 70 สารานุกรมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี ๒
(กRารemถอoดvaถlอoนfบaุคPคeลrsอoอnกfจrาoกmตำOแfหfiนce่ง) รฐั ธรรมนญู กำหนดใหว้ ฒุ สิ ภามอี ำนาจในการถอดถอนบคุ คล ออกจากตำแหนง่ สำหรบั ผดู้ ำรงตำแหนง่ ทางการเมอื งหรอื ขา้ ราชการ ระดับสูงท่ีวุฒิสภาสามารถดำเนินการถอดถอนออกจากตำแหน่งได้ ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด กรรมการการเลือกต้ัง ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู กรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ รองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลปกครองสูงสุด หัวหนา้ สำนกั ตลุ าการทหารรองอยั การสงู สดุ ผพู้ พิ ากษาหรอื ตลุ าการ พนกั งานอยั การ และผดู้ ำรงตำแหนง่ ระดบั สงู ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ เช่น คำทีเ่ ก่ยี วข้องในวงงานรัฐสภา 71
ผดู้ ำรงตำแหน่งหัวหนา้ สว่ นราชการระดับกรม ทบวง หรอื กระทรวง สำหรับข้าราชการพลเรือน ผู้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการเหล่าทัพ หรอื ผบู้ ญั ชาการทหารสงู สดุ สำหรบั ขา้ ราชการทหาร ผดู้ ำรงตำแหนง่ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ผู้ดำรงตำแหน่งปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการและผบู้ รหิ ารสงู สดุ ของรฐั วสิ าหกจิ หวั หนา้ หนว่ ยงานอสิ ระ ตามรัฐธรรมนูญท่ีมีฐานะเป็นนิติบุคคล หรือผู้ดำรงตำแหน่งตาม กฎหมายอน่ื บญั ญตั ิ เชน่ กรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ผทู้ ว่ี ฒุ สิ ภา จะถอดถอนออกจากตำแหน่ง คือ ผู้ที่มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ สอ่ ไปในทางทจุ รติ ตอ่ หนา้ ท่ีสอ่ วา่ กระทำผดิ ตอ่ ตำแหนง่ หนา้ ทร่ี าชการ สอ่ วา่ กระทำผดิ ตอ่ ตำแหนง่ หนา้ ทใ่ี นการยตุ ธิ รรม สอ่ วา่ จงใจใชอ้ ำนาจ หนา้ ทขี่ ดั ตอ่ บทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู หรอื กฎหมาย หรอื ฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมอยา่ งรา้ ยแรง ผใู้ ดถกู วฒุ สิ ภามมี ติ ใหถ้ อดถอนออกจากตำแหนง่ ผนู้ นั้ จะถกู ตดั สทิ ธใิ นการดำรงตำแหนง่ ใดในทางการเมืองหรอื ในการรับราชการเปน็ เวลาหา้ ปี 72 สารานุกรมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี ๒
รำ่ รวยผดิ ปกติ (Unusual Wealth) พฤติการณ์ที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐมีทรัพย์สินมากผิดปกติ หรือมี ทรัพย์สินเพิ่มข้ึนมากผิดปกติ หรือมีหนี้สินลดลงมากผิดปกติ หรือ ได้ทรัพย์สินมาโดยไม่สมควร โดยไม่สามารถแสดงถึงที่มาโดยชอบ ของทรัพย์สินท่ีเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติ ท้ังน้ี พฤติการณ์ดังกล่าวเป็น ผลสืบเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าท่ีหรือใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าท่ี รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญบัญญัติให้ วุฒิสภามีอำนาจถอดถอนเจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ดำรงตำแหน่งทาง การเมืองหรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงที่มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ออกจากตำแหน่ง และศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง หรือศาลที่มีเขตอำนาจแลว้ แตก่ รณีเป็นผพู้ จิ ารณาสั่งให้ ทรัพย์สินท่ีเกี่ยวข้องตกเป็นของแผ่นดิน หรือถ้าเป็นเจ้าหน้าท่ีของ รฐั อน่ื มพี ฤตกิ ารณร์ ำ่ รวยผดิ ปกติ ผบู้ งั คบั บญั ชากม็ อี ำนาจลงโทษวนิ ยั ไล่ออกหรือปลดออก และให้ศาลมีอำนาจส่ังให้ทรัพย์สินท่ีเกี่ยวข้อง กบั กรณีร่ำรวยผิดปกติตกเปน็ ของแผ่นดนิ คำทเ่ี กยี่ วข้องในวงงานรฐั สภา 73
ทจุ รติ ตอ่ หน้าท่ี (Dishonest Performance of Duties) คำว่า “ทุจริต” หมายความว่า ประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบ ด้วยกฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อ่ืน ส่วนคำว่า “ทุจริตต่อหน้าท่ี” หมายความว่า ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่งหรือ หน้าที่ หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติกรรมที่อาจ ทำให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ ท้ังที่ตนมิได้มีตำแหน่งหรือ หนา้ ทนี่ น้ั หรอื ใชอ้ ำนาจในตำแหนง่ หรอื หนา้ ทเี่ พอื่ แสวงหาประโยชน์ ทม่ี คิ วรไดโ้ ดยชอบสำหรบั ตนเองหรอื ผอู้ น่ื การทจุ รติ ตอ่ หนา้ ทม่ี หี ลกั หรือองคป์ ระกอบทพ่ี ึงพจิ ารณา ๔ ประการ คือ ๑. มหี นา้ ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ิ ผมู้ หี นา้ ทจี่ ะปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยใู่ นสถานท่ี ราชการหรือนอกสถานท่ีราชการก็ได้ และไม่จำเป็นจะต้องปฏิบัติใน วันและเวลาทำงานตามปกติ ๒. ได้ปฏิบัติหน้าท่ีโดย มชิ อบหรอื ละเวน้ การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ โดยมชิ อบ ๓. เพอ่ื ใหต้ นเองหรอื ผอู้ น่ื ไดป้ ระโยชน์ท่ีมิควรได้ ๔. โดยมีเจตนาทุจริต โดยจะตอ้ งพจิ ารณาลงไปถงึ เจตนา ของผู้กระทำด้วยว่ามีเจตนาทุจริต หรือมีจิตอันชวั่ รา้ ย คดิ เป็นโจร 74 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เลม่ ที่ ๒
(กMระaทlfำeผasิดaตn่อcตe ำinแหOนff่งicหeน) า้ ทร่ี าชการ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการเป็นความผิดที่ผู้กระทำ ความผิดต้องเป็นเจ้าพนักงานเท่าน้ัน เจ้าพนักงานผู้มีตำแหน่งหน้าท่ี ราชการใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ กระทำการหรือ ไม่กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือ ผู้อ่ืนโดยทุจริตหรือเพ่ือให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือเสียหายแก่ รัฐ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ หรือปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏบิ ตั หิ น้าท่โี ดยทุจริต เปน็ ความผดิ และตอ้ งได้รับโทษ นอกจากนี้ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท่ีสำคัญหรือผู้ดำรง ตำแหนง่ ระดบั สงู หากมพี ฤตกิ ารณส์ อ่ วา่ กระทำผดิ ตอ่ ตำแหนง่ หนา้ ที่ ราชการตอ้ งถกู ถอดถอนออกจากตำแหนง่ และอาจไดร้ บั โทษทางอาญา ตามคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมอื ง คำที่เก่ยี วข้องในวงงานรัฐสภา 75
(กMระaทlfำeผasิดaตn่อcตe ำinแหJuนd่งiหciนa้าlทOใี่ fนfiกceา)รยตุ ิธรรม การยุติธรรมของประเทศเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ กฎหมาย จึงต้องควบคุมเจ้าพนักงานในการยุติธรรมต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความเทยี่ งตรง หากปฏบิ ตั หิ รอื ละเวน้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยทจุ รติ ตอ้ งไดร้ บั โทษหนกั กวา่ เจา้ พนักงานทั่วไป ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาล ปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ รองประธาน ศาลฎกี า รองประธานศาลปกครองสงู สดุ หวั หนา้ สำนกั ตลุ าการทหาร รองอัยการสูงสุด รวมทั้งผู้พิพากษา ตุลาการ พนักงานอัยการ มีพฤติการณ์ท่ีส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม รฐั ธรรมนูญกำหนดให้สามารถถอดถอนออกจากตำแหน่งได้ 76 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เล่มท่ี ๒
t(จIhงneใtจPeใnrชto้อivoำinนsaiาolจnEหsxนoef้าrทcthiี่ขseeัดCoตfo่อnPบsoทtwiบtueัญrtiญConoัต)nิรtัฐrธaรryรมtoน ูญ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ผู้ใด มีหน้าที่ที่จะต้องกระทำการใดตามท่ีรัฐธรรมนูญกำหนดไว้ แต่ได้กระทำการตามหน้าทีข่ ดั ต่อบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญ ซง่ึ เปน็ เหตุที่นำไปสู่การยื่นถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือ ผดู้ ำรงตำแหน่งระดับสูงผู้น้นั ออกจากตำแหนง่ ได้ คำทีเ่ กี่ยวข้องในวงงานรัฐสภา 77
Hก(CาoรrliดdmiำnเiนngaินPlคoPlดirtีอoiccาaeญleาdPผionดู้ sgiำtsรioAงnตgsำa)แinหsนt P่งทerาsงoกnาsร เมือง การดำเนินคดีอาญาโดยศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองกับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ได้แก่ นายกรฐั มนตรีรฐั มนตรีสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรสมาชกิ วฒุ สิ ภาหรอื ขา้ ราชการการเมอื งอน่ื ทถ่ี กู กลา่ วหาวา่ รำ่ รวยผดิ ปกติ กระทำความผดิ ต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา หรือกระทำ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าท่ีหรือทุจริตต่อหน้าท่ีตามกฎหมายอ่ืน ซึ่งรวมถึงบุคคลอื่นที่เป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน รวมทั้งผู้ให้ ผู้ขอให้ หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดแก่ผู้ดำรง ตำแหนง่ ทางการเมอื งเพอ่ื จงู ใจใหก้ ระทำการไมก่ ระทำการหรอื ประวงิ การกระทำอนั มิชอบด้วยหนา้ ท่ีดว้ ย 78 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๒
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: