51 พลงั งาน นบั จากนน้ั การพฒั นายงั คงดำ� เนนิ ตอ่ ไปดว้ ยมงุ่ เนน้ ประโยชนข์ อง ราษฎร์ ในปี พ.ศ.๒๕๓๑ ในหลวงทรงมพี ระราชกระแสใหส้ รา้ งโรงงานแปรรปู นำ�้ มนั ปาลม์ ขนาดเล็กครบวงจร ท่ศี ูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ จังหวดั นราธิวาส ซึง่ แลว้ เสร็จในปี พ.ศ.๒๕๓๓ จากน้นั ในปี พ.ศ.๒๕๔๓ โครงการสว่ นพระองค์ สวนจติ รลดาและกองงานสว่ นพระองค์ วงั ไกลกงั วล อำ� เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ เริ่มการทดลองน�ำน�้ำมันปาล์มมาใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับเคร่ืองยนต์ดีเซล ซ่ึงจากการ ทดสอบพบวา่ นำ�้ มนั ปาลม์ บรสิ ทุ ธิ์ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ สามารถใชเ้ ปน็ นำ้� มนั เชอ้ื เพลงิ สำ� หรบั เครอ่ื งยนตด์ เี ซล โดยไมต่ อ้ งผสมกบั นำ�้ มนั เชอื้ เพลงิ อนื่ ๆ หรอื อาจใชผ้ สมกบั นำ้� มนั ดเี ซลได้ ต้งั แต่ ๐.๐๑ เปอรเ์ ซน็ ต์ ไปจนถงึ ๙๙.๙๙ เปอร์เซน็ ตเ์ ลยทเี ดียว
พ ัลงงาน52 สทิ ธิบตั รการประดิษฐ์ “การใช้น�ำ้ มันปาลม์ กล่นั บรสิ ุทธิ์ เปน็ นำ�้ มันเชื้อเพลงิ สำ� หรบั เครือ่ งยนตด์ เี ซล”
53 จากผลความส�ำเร็จในการทดลองของโครงการส่วนพระองค์สวน พลงั งาน จติ รลดา เมอ่ื วนั ที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๔ ในหลวงจึงทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ ใหน้ ายอำ� พล เสนาณรงค์ องคมนตรี เปน็ ผแู้ ทนพระองคย์ น่ื จดสิทธิบัตร \"การใช้น�้ำมันปาล์มกล่ันบริสุทธ์ิเป็นน�้ำมันเชื้อเพลิง เครอื่ งยนตด์ เี ซล\" และในปเี ดยี วกนั นน้ั สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติอัญเชิญอัญเชิญผลงานของในหลวง ๓ ผลงาน คือ ทฤษฎีใหม่ โครงการฝนหลวงและโครงการนำ�้ มนั ไบโอดเี ซลสตู รสกดั จากนำ�้ มนั ปาลม์ ไปรว่ มแสดงในงานนทิ รรศการสงิ่ ประดษิ ฐน์ านาชาติ \"Brussels Eureka 2001\" ณ กรงุ บรัสเซลส์ ประเทศเบลเยีย่ ม
พ ัลงงาน54 ไบโอดเี ซล ในประเทศไทยแบง่ ออกเป็น ๒ มาตรฐาน
55 พลงั งาน ๑.ไบโอดเี ซลชุมชน ไบโอดีเซลชุมชน คือ ไบโอดีเซลที่กล่ันออกมาเป็นน�้ำมันพืชเหมือน น้ำ� มันท่ีใช้ปรุงอาหาร ทเี่ รยี กกนั วา่ ปาลม์ น�ำ้ มันโคโค่ดีเซล เปน็ ไบโอดเี ซลท่ีเหมาะ กับเครื่องยนต์ดีเซลสูบเดยี ว รอบเคร่อื งยนตค์ งที่ เชน่ รถเดินลาก รถอีแตน๋ เคร่ือง สบู น้�ำ แต่ไม่เหมาะกับการใชก้ ับเคร่อื งยนตด์ เี ซล เพราะในระยะยาวจะท�ำใหเ้ กิด ยางเหนยี วในเคร่อื ง
พ ัลงงาน56 ๒.ไบโอดเี ซลเชิงพาณชิ ย์ ไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์เป็นการน�ำน�้ำมันพืชไปผ่านข้ันตอน transesterfication เป็นสารเอสเตอร์ ท่เี รยี กกนั ว่า B๑๐๐ น�ำมาผสมกับน�ำ้ มันดีเซล อย่างเชน่ นำ้� มัน B๕ ก็คอื มี น้ำ� มนั ดเี ซลในอตั ราสว่ นน�ำ้ มันดเี ซลต่อน�้ำมนั พืชทผ่ี า่ นกระบวนการ ๙๕:๕ จะได้ B๕
57 พลงั งาน น้ำ� มนั ดโี ซฮอล์ ช่ือนอี้ าจจะไมค่ อ่ ยได้ยินกนั บอ่ ยครง้ั นกั นำ�้ มนั ดีโซฮอล์ หมายถงึ น�้ำมนั เชือ้ เพลิงท่ีไดจ้ ากการ ผสมน�้ำมันดีเซล เอทานอล และสารที่จ�ำเป็นสามารถน�ำไปใช้เป็นเช้ือเพลิงให้กับรถยนต์เคร่ืองยนต์ดีเซล ไดท้ ง้ั นี้ โครงการดโี ซฮอลท์ โ่ี ครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา ไดเ้ รมิ่ ขนึ้ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑โดยการปโิ ตรเลยี ม แห่งประเทศไทยร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯทดลองผสมเอทานอลท่ีมีความบริสุทธ์ิร้อยละ ๙๕ กับ น�้ำมันดเี ซลและสารอมี ัลซิไฟเออร์ ในอตั ราส่วน ๑๔ : ๘๕ : ๑สามารถน�ำดโี ซฮอลน์ ไ้ี ปใช้เป็นนำ้� มนั เช้อื เพลงิ สำ� หรบั รถยนตเ์ ครอ่ื งยนตด์ เี ซลเชน่ รถกระบะ รถแทรกเตอรข์ องโครงการสว่ นพระองคฯ์ ผลการทดลอง พบวา่ สามารถใชเ้ ป็นเชอ้ื เพลงิ ได้ดพี อสมควรและสามารถลดควนั ดำ� ไดป้ ริมาณรอ้ ยละ ๕๐
พ ัลงงาน58 โครงการผลติ กระแสไฟฟ้าจากกา๊ ซขยะตามแนวพระราชดำ� ริ “ดูดแก๊สมาท�ำไฟฟ้าเราเหน็ ดว้ ย แต่วา่ ขออีกขนั้ หนึง่ มเี วลาอกี ประมาณ สกั ๕ปี ทีจ่ ะมาทำ� ไฟฟ้าด้วยขยะทีส่ ลายไบโอแก๊สออกไปแลว้ เอาออกไปและกม็ าเผา ดว้ ยเคร่อื งสำ� หรับกรองมลพษิ ทอี่ อกมาจากการเผาตงั้ แต่ตน้ กม็ าฝัง แลว้ เรากด็ ดู แกส๊ ออกมาใช้ แลว้ ขดุ หลงั จากนน้ั น�ำมาเผา ไดข้ เี้ ถ้าแล้วนำ� ไปอดั หมดจากหลมุ นี้ก็เอา ขยะมากลบ ก็ผลิต๑๐ปี ครบวงจรแล้ว” พระราชดำ� รัสพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ในงานนทิ รรศการอุทยานวิจัยและงานเกษตรแหง่ ชาติ ประจ�ำปพี .ศ.2538
59พลงั งาน เมอ่ื ครง้ั ทใ่ี นหลวงและสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เป็นองค์ประธานเปดิ งานวันเกษตรแหง่ ชาติ พระองค์ทรงสนพระราชหฤทยั เกี่ยว กับโครงการผลิตแก๊สจากขยะและมีพระราชประสงค์ให้โครงการน้ีด�ำเนินไปอย่างรวดเร็วและ จรงิ จงั จงึ พระราชทานงบประมาณจากมลู นธิ ชิ ยั พฒั นาจำ� นวน ๑ ลา้ นบาทใหแ้ กค่ ณะทำ� งานของ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรต์ ลอดระยะเวลาการดำ� เนนิ งานในหลวงทรงตดิ ตามโครงการผา่ นราช เลขาและรายงานท่ีคณะท�ำงานทูลเกล้าฯ ถวายจนกระท่ังปีพ.ศ.๒๕๕๒ ก็สามารถผลิตกระแส ไฟฟ้าได้ ๔๘๐,๐๘๐ ยูนิต ซึ่งพระองค์ทรงพระราชทานแนวทางการด�ำเนินงานต่อคณะผดู้ �ำเนิน การ โดยใหแ้ บ่งพื้นท่ีฝังกลบขยะออกเปน็ ๒ ส่วนดว้ ยกัน
พ ัลงงาน 60 สว่ นแรก ในกรณที ม่ี พี นื้ ทฝี่ งั กลบอยแู่ ลว้ ใหใ้ ชก้ า๊ ซจากขยะใหห้ มด กอ่ น จากนน้ั นำ� ขยะไปแยกสว่ นทย่ี งั สามารถใชเ้ ปน็ เชอื้ เพลงิ ไดใ้ หน้ ำ� ไปเผา เพอ่ื นำ� เอาพลงั งานความรอ้ นไปใชป้ ระโยชน์ แลว้ เถา้ ถา่ นกน็ ำ� ไปผสมกบั วสั ดทุ เ่ี หมาะสมเพอ่ื อดั เปน็ แทง่ นำ� ไปใชใ้ นการกอ่ สรา้ งได้ เม่อื พน้ื ที่สว่ นแรกวา่ งลงก็สามารถน�ำขยะมาฝังกลบไดใ้ หม่
61 สว่ นทีส่ อง พลงั งาน ขณะท่ีด�ำเนินการร่อนแยกขยะในพื้นท่ีส่วนแรก ก็ใช้ประโยชน์จากก๊าซควบคู่กันไปก่อน เม่ือก๊าซหมดแล้วจึง ด�ำเนินการในลักษณะเดียวกันกับท่ีได้ด�ำเนินการในพ้ืนท่ีส่วน แรก ซึ่งถ้ากระท�ำได้อย่างต่อเน่ืองโดยจัดเวลาให้เหมาะสม ก็ จะท�ำให้พืน้ ที่ฝังกลบหมุนเวียนตลอดไป
พ ัลงงาน62 โครงการนต้ี ง้ั เปา้ หมายการดำ� เนนิ งานทกี่ ารผลติ กระแสไฟฟา้ ใหไ้ ด้ ๒๓๐ กโิ ลวตั ต์ โดยแบง่ เปน็ การใชไ้ ฟฟา้ ภายในส�ำนักงานโครงการส่วนหนึ่ง ทีเ่ หลือประมาณ ๒๐๐ กโิ ลวัตต์ จะจ�ำหน่ายเข้าสู่ระบบการไฟฟ้า ส�ำหรับกระบวนการผลิตไฟฟ้านั้นต้องน�ำขยะมาทับถมกัน มากๆจนเกดิ กา๊ ซมีเทน แล้วใช้ทอ่ ฝังเขา้ ไปในกองขยะ ดึงกา๊ ซมีเทนมา จากนั้นนำ� กา๊ ซมาผา่ น กระบวนการทำ� กา๊ ซใหส้ ะอาดผลการดำ� เนนิ โครงการดงั กล่าวประสบผลส�ำเรจ็ เป็นอยา่ งดี แต่ ยังมกี ารพฒั นาและปรับปรงุ แก้ไขข้อด้อยของระบบ
63 โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเป็นหนึ่งในโครงการที่ พลงั งาน ในหลวงทรงมีพระราชด�ำริและได้ทรง ริเริ่มด�ำเนินการทดลองการ แปรรูปผลิตผลการเกษตรขึ้นในพระราชวังสวนจิตรลดา ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๐๔ซ่ึงเป้าหมายหลักของโครงการเพื่อเป็นโรงงานตัวอย่างและ พระราชทานโอกาสให้บุคคลกลุ่มต่างๆ ทส่ี นใจเขา้ มาศึกษาดงู าน โดย พระองค์ทา่ นทรงพระราชทานทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ในการสร้างโครงการ อันหลากหลาย
พ ัลงงาน64 เม่ือมีจ�ำนวนโคนมเพิ่มขึ้นท้ังจากแม่โคท่ีให้ลูกทุกปีและมีผู้ นอ้ มเกลา้ ฯ นำ� มาถวายสมทบ ทำ� ใหม้ คี วามสามารถในผลติ นำ้� นมเพม่ิ ขึน้ จงึ ได้มกี ารผลติ เพ่ือน�ำออกจำ� หนา่ ยแก่บุคคลภายนอก รวมไปถงึ โรงเรยี นต่างๆ ในละแวกใกล้เคียง
65 พลงั งาน ยิง่ ไปกว่านัน้ ในหลวงของเราทรงมีสายพระเนตรอันกว้าง ไกลและทรงเขา้ ใจถงึ กลไกทางธรรมชาติ พระองคท์ รงทอดพระเนตร ผลพลอยได้จากโรงโคนมซ่ึงก็คือมูลโค จึงทรงมีพระราชด�ำริให้ ทดลองผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลโค โดยใช้กระบวนการน�ำมูลโคมา หมักซ่ึงจะได้ “Biogas” หรือ “แก๊สชีวภาพ”ส�ำหรับใช้เป็นเชื้อ เพลงิ ในโครงการสว่ นพระองคแ์ ละโรงโคนม ซงึ่ ถอื เปน็ การหมนุ เวยี น นำ� สงิ่ ทหี่ ลายคนมองไมเ่ หน็ คา่ กลบั มาสรา้ งเปน็ สง่ิ ทเ่ี ปย่ี มไปดว้ ยคณุ ประโยชน์ได้อยา่ งน่าท่ึง
พ ัลงงาน66 พลังงานทดแทน...พลังแหง่ สายพระเนตร
67 พลงั งาน ในการพฒั นาพลงั งานทดแทนอื่นๆ เชน่ พลังงานแสงอาทติ ย์ พลังงานลม เช้ือเพลิงอัดแท่ง ระบบผลิตน้�ำเย็นโดยใช้พลังงานความร้อนจากแกลบ ล้วนแต่มีตัวอย่าง กระจายอยู่ในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา และศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำรใิ นภมู ิภาคต่างๆ ถงึ แมว้ ่าการศึกษาคน้ ควา้ ในเร่อื งเหลา่ น้ีจะไม่ใชเ่ รอื่ งง่าย เพราะ เป็นเรื่องแปลกใหม่ส�ำหรับประเทศไทย แต่ในหลวงก็ทรงใส่พระราชหฤทัยย่ิงโดยทรงติดตาม ผลการด�ำเนินงานอยา่ งใกลช้ ิดด้วยพระองคเ์ อง โดยทรงเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนที่สนใจเขา้ มา ศกึ ษาและน�ำไปปรับใช้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนเอง
พ ัลงงาน68 เชื้อเพลิงอัดแท่ง (แกลบอัดแทง่ ) ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ ในหลวงของเราไดท้ รงแสดงใหเ้ หน็ วา่ แกลบมคี ณุ ประโยชน์ มากกวา่ ทเ่ี ราเคยคดิ โดยทรงมพี ระราชดำ� รใิ หน้ ำ� แกลบทไ่ี ดจ้ ากการสขี า้ วของโรงสขี า้ วตวั อยา่ ง จากสวนจติ รลดา มาใชป้ ระโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ ดนิ และทสี่ ำ� คญั กค็ อื นำ� มาทำ� เปน็ เชอื้ เพลงิ อดั แท่ง ซึ่งถือเป็นความคิดริเริ่มที่สะท้อนให้เห็นพระอัจฉริยภาพของพระองค์ท่านได้เป็นอย่างดี ตอ่ มาจงึ มกี ารจดั สรา้ งโรงบดแกลบขน้ึ ภายในโครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา โดยการดำ� เนนิ งานในขัน้ แรกเป็นการนำ� แกลบผสมปนู มารล์ และป๋ยุ เคมี เพอื่ ใช้ในการปรบั ปรงุ ดนิ
69 ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๕๒๓ โครงการส่วนพระองคส์ วนจติ รลดาจัดซือ้ เคร่อื งอัดแกลบให้ พลงั งาน เปน็ แทง่ เพอ่ื ใชแ้ ทนเชอื้ เพลงิ ชนดิ อนื่ รวมทงั้ จำ� หนา่ ยแกบ่ คุ คลภายนอกดว้ ย นอกจากนโี้ ครงการ แกลบอดั แทง่ ยงั คงมกี ารทดลองและพฒั นาขน้ั ตอนการผลติ ตามพระราชดำ� รอิ ยตู่ ลอดเวลา อยา่ ง เชน่ ในปี พ.ศ.๒๕๒๘ มีพระราชดำ� ริให้ทดลองอดั แกลบผสมผักตบชวา เพ่อื ทดลองน�ำผกั ตบชวา ทีเ่ ป็นวชั พืชตามแหล่งนำ้� มาทำ� เปน็ เชอ้ื เพลงิ แท่ง ในการผลิตแกลบอัดแท่งแกลบจะถูกล�ำเลียงเข้าสู่เครื่องบดอัดซ่ึงภายในเคร่ืองจะมี แม่พิมพ์และแท่งอดั เกลยี ว ซ่งึ ทำ� หนา้ ทีบ่ ดอัดแกลบใหเ้ ปน็ แท่งและมกี ารให้ความร้อนทีอ่ ุณหภมู ิ ประมาณ ๒๕๐ - ๒๗๐ องศาเซลเซียสแกแ่ ม่พิมพ์เมือ่ แกลบโดนความรอ้ น สารเซลลโู ลส ลกิ นิน และคาร์โบไฮเดรต ในแกลบจะละลายออกมาเคลอื บทผี่ วิ มคี ณุ สมบตั คิ ลา้ ยกาวทำ� ใหแ้ กลบเกาะกนั เปน็ แท่งแกลบอัดแท่งจะมีคุณสมบัติเหมือนฟืนสามารถน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงได้แต่ไม่สามารถรักษา สภาพให้เป็นแท่งอยู่ได้ถ้าโดนน�้ำจึงต้องน�ำไปเผาในเตาท่ีอุณหภูมิประมาณ๔๐๐ องศาเซลเซียส เป็นเวลา ๑๘-๒๐ชั่วโมง จนได้ถา่ นแกลบท่สี ามารถใชเ้ ป็นเชอื้ เพลงิ ไดเ้ หมอื นถา่ นไม้
พ ัลงงาน70 พลังงานแสงอาทติ ย์ ดวงอาทิตย์เป็นต้นก�ำเนิดของพลังงานน้�ำจากการท�ำให้น้�ำกลายเป็นไอและลอยตัวข้ึนสูง พลงั งานนำ�้ ทตี่ กกลบั ลงมาถกู นำ� ไปผลติ กระแสไฟฟา้ เปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของพลงั งานเคมใี นอาหารโดย พชื จะสงั เคราะหแ์ สงเปลยี่ นแรธ่ าตใุ หเ้ ปน็ แปง้ และนำ้� ตาลซงึ่ สามารถใหพ้ ลงั งานแกม่ นษุ ยแ์ ละสตั ว์ ชนิดต่างๆ ได้เป็นต้นก�ำเนิดของพลังงานลมนั่นคือท�ำให้เกิดความกดอากาศและท�ำให้เกิดการ เคลื่อนที่ของอากาศและสุดท้ายดวงอาทิตย์เป็นต้นก�ำเนิดของพลังงานคล่ืน ซ่ึงท�ำให้เกิด ปรากฏการณ์นำ�้ ขึ้น-นำ�้ ลง นอกจากนี้พลังงานความร้อนใต้พิภพก็ยังถือว่ามีรากฐานมาจากความร้อนของดวงอาทิตย์ อกี ด้วย เรยี กได้วา่ พระอาทิตย์ดวงๆ กลมๆ ที่เรามองเห็นกนั อยูท่ กุ วนั มคี ณุ ประโยชน์มากกว่าที่ คิดไว้เยอะทีเดยี ว โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในดา้ นการพฒั นาพลงั งาน ดงั จะเหน็ ได้จากภายในโครงการ ส่วนพระองคส์ วนจติ รลดา ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอันเน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ และโครงการหลวง ฯลฯ ต่างมีการน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้หลากหลายรูปแบบ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม กบั การใชง้ านเปน็ สำ� คญั และเปน็ การพฒั นาคดิ คน้ เทคโนโลยที ส่ี ามารถผลติ เองไดภ้ ายในประเทศ
71 ๑.การใช้พลงั งานแสงอาทิตย์เพ่ือผลิตความรอ้ น พลงั งาน การใชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ยเ์ พือ่ ผลิตน้ำ� ร้อน แบ่งออกได้ดังนี้ • การผลิตน้�ำร้อนชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ เป็นการผลิตน�้ำร้อนชนิดที่มีถัง เกบ็ อยสู่ งู กวา่ แผงรบั แสงอาทติ ยใ์ ช้หลักการ หมนุ เวยี นตามธรรมชาติ • การผลิตน้�ำร้อนชนิดใช้ปั๊มน้�ำหมุนเวียน เหมาะส�ำหรับการใช้ผลิตน�้ำร้อน จ�ำนวนมาก และมกี ารใช้อย่างต่อเน่ือง • การผลติ นำ�้ รอ้ นชนดิ ผสมผสาน เปน็ การนำ� เทคโนโลยกี ารผลติ นำ�้ รอ้ นจากแสง อาทิตย์มาผสมผสานกับความร้อนเหลือ ทิ้งจากการระบายความร้อนของเคร่ือง ทำ� ความเยน็ หรอื เคร่ืองปรบั อากาศ โดยผา่ นอปุ กรณ์แลกเปล่ียนความร้อน
พ ัลงงาน72 การใช้พลังงานแสงอาทติ ยใ์ นระบบอบแหง้ แบง่ ออกได้ดงั นี้ • การอบแห้งระบบ Passive เปน็ ระบบท่ีเครอ่ื งอบแห้งทำ� งานโดยอาศยั พลังงาน แสงอาทติ ยแ์ ละกระแสลมทพ่ี ดั ผา่ น ซง่ึ สามารถนำ� มาสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหมๆ่ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ ได้แก่ ก. เคร่ืองตากแห้งโดยธรรมชาติเป็นการวางวัสดุไว้ท่ีกลางแจ้งอาศัยความร้อน จากแสงอาทติ ยแ์ ละกระแสลมในบรรยากาศในการระเหยความชน้ื ออกจากวสั ดุ ข. ตู้อบแห้งแบบได้รับแสงอาทิตย์โดยตรงวัสดุที่อบจะอยู่ในเครื่องอบแห้งที่ ประกอบด้วยวัสดุที่โปร่งใสความร้อนท่ีใช้อบแห้งได้มาจากการดูดกลืนพลังงานแสง อาทิตย์และอาศัยหลักการขยายตัวเองอากาศร้อนภายในเคร่ืองอบแห้งท�ำให้เกิดการ หมุนเวยี นของอากาศเพ่ือชว่ ยถา่ ยเทอากาศชื้น ค. ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสมเครื่องอบแห้งชนิดน้ีวัสดุที่อยู่ภายใน จะไดร้ ับความรอ้ น ๒ทาง คอื ทางตรงจากดวงอาทิตยแ์ ละทางออ้ มจากแผงรับรงั สีดวง อาทติ ยท์ �ำใหอ้ ากาศรอ้ นก่อนที่จะผา่ นวัสดุอบแหง้
73 พลงั งาน • การอบแหง้ ระบบ Activeเป็นระบบอบแหง้ ทีม่ ีเครือ่ งชว่ ยให้อากาศไหลเ วยี นในทิศทางท่ีตอ้ งการ เชน่ มีพัดลมตดิ ตั้งในระบบเพอื่ บงั คับให้มีการไหลของ อากาศผ่านระบบ พัดลมจะดูดอากาศจากภายนอกให้ไหลผ่านแผงรับแสง อาทติ ยเ์ พอื่ รบั ความรอ้ นจากแผงรบั แสงอาทติ ยอ์ ากาศรอ้ นทไ่ี หลผา่ นพดั ลมและ ห้องอบแห้งจะมีความช้นื สัมพัทธต์ ำ�่ กวา่ ความชื้นของพืชผล จึงพาความชน้ื จาก พชื ผลออกสภู่ ายนอกท�ำให้พชื ผลทีอ่ บไว้แห้งได้ • การอบแหง้ ระบบ Hybrid เปน็ ระบบอบแหง้ ทใ่ี ชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์ และ ยังต้องอาศัยพลังงานในภาพแบบอ่ืนๆ ช่วยในเวลาที่มีแสงอาทิตย์ไม่สม�่ำเสมอ หรือต้องการให้ผลิตผลทางการเกษตรแห้งเร็วข้ึน เช่น ใช้ร่วมกับพลังงานเชื้อ เพลงิ จากชวี มวลพลงั งานไฟฟา้ วสั ดอุ บแหง้ จะไดร้ บั ความรอ้ นจากอากาศรอ้ นท่ี ผ่านเข้าแผงรับแสงอาทิตย์และการหมุนเวียนของอากาศจะอาศัยพัดลมหรือ เครือ่ งดูดอากาศช่วย
๒.การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพ่ือผลิตกระแส “เซลลแ์ สงอาทติ ย”์ เปน็ สงิ่ ประดษิ ฐท์ สี่ รา้ งขนึ้ เพอื่ เปน็ อปุ กรณส์ ำ� หรบั การเปลย่ี น พลงั งานแสงให้เปน็ พลังงานไฟฟ้า โดยการน�ำสารก่งึ ตัวนำ� เชน่ ซลิ คิ อน ซึ่งมีราคาถูกท่สี ุดและ มมี ากทีส่ ุดบนพ้นื โลก การน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ผลิตไฟฟ้าถือเป็นทางเลือกอันชาญฉลาดที่ได้รับความ นิยมมากขน้ึ เรอ่ื ยๆ โดยรปู แบบจะขึ้นอยกู่ ับการออกแบบตามวตั ถุประสงคโ์ ครงการเป็นกรณี เฉพาะ ดังเช่นทีห่ น่วยงานตา่ งๆ ของกระทรวงพลงั งานสนองแนวพระราชดำ� รดิ ว้ ยการติดตั้ง ระบบเซลลแ์ สงอาทติ ย์ เพอื่ ผลติ กระแสไฟฟา้ ในโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ เชน่ ศนู ย์ ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริในภูมิภาคต่าง ๆ โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านพุระก�ำ จังหวัดราชบุรี โครงการศูนย์ศิลปาชีพเกาะเกิด จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา สถานพี ฒั นาการเกษตรทส่ี งู จงั หวดั เชยี งใหม่ และโรงเรยี นจติ รลดา เปน็ ตน้
โครงการบา้ นพลงั งานแสงอาทิตย์ตามแนวพระราชดำ� ริ โครงการบา้ นพลงั งานแสงอาทติ ยเ์ ปน็ โครงการทกี่ ระทรวงกลาโหม กรมการ พลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพัฒนาพลังงานทหารได้จัดท�ำ ขน้ึ เพอื่ นอ้ มเกลา้ นอ้ มกระหมอ่ มถวายแดใ่ นหลวง ณ พระราชวงั สวนจติ รลดา ดว้ ยการนำ� พลังงานทดแทนมาใช้เพ่ืออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ� ริ ซงึ่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารเี สดจ็ แทนพระองคเ์ ปน็ ประธานในพิธเี ปดิ เมื่อวนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๙
พ ัลงงาน76 นอกจากโครงการตามแนวพระราชด�ำริของในหลวงที่เกี่ยวเนื่องกับเร่ืองของ พลงั งานจะสามารถเปน็ สว่ นทช่ี ว่ ยลดการใชพ้ ลงั งานแลว้ นนั้ ในดา้ นของนวตั กรรมที่ เกย่ี วเนอ่ื งกบั พลงั งานซงึ่ เปน็ พระอจั ฉรยิ ภาพของพระองคท์ า่ นกย็ งั เปน็ สว่ นชว่ ยเสรมิ สรา้ งความม่ันคงด้านพลังงานด้วยเช่นกันโดยเมื่อวันที๓่ ตลุ าคมพ.ศ.๒๕๕๓ที่ผ่านมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินน�ำคณะ กรรมการรางวัลนานาชาติ มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า มหิดลในพระบรมราชูปถัมภ์ ชมโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำรทิ จ่ี ังหวัดสงขลา ในการน้ี พระองค์ได้พระราชทานพระราชวโรกาสให้อธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ นำ� รศ.ชาคริต ทองอไุ ร ผอู้ ำ� นวยการสถานวี ิจัยและพฒั นาพลังงาน ทดแทนจากน้�ำมันปาล์มและพืชน้�ำมันและคณะ เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายอนุสิทธิ บตั รวธิ กี ารทดสอบคณุ ภาพไบโอดเี ซลโดยใชไ้ มโครเวฟ ซง่ึ เปน็ การตอ่ ยอดมาจากศนู ย์ ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จ.นราธิวาส ได้ด�ำเนินงาน สนองพระราชดำ� รพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โดยจดั ตง้ั โรงงานตน้ แบบในการผลติ ไบโอดเี ซลภายในศนู ย์ฯ
77 พลงั งาน ดว้ ยพระปรชี าและพระอจั รยิ ภาพ กอปรกบั สายพระเนตรอนั กวา้ งไกล แมค้ ำ� วา่ “พระบดิ าแหง่ การพฒั นาพลงั งานไทย” กย็ งั มอิ าจเทยี บกบั ผลทไ่ี ด้ จากโครงการพระราชดำ� รขิ องในหลวงทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งกบั พลงั งาน พระองคท์ รง เขา้ พระทยั ถึงหลักการแห่งพลงั งานอย่างถอ่ งแทท้ ้ังดิน นำ้� ลม และไฟ ซึ่ง หากมองผวิ เผนิ กเ็ ปน็ เพยี งสงิ่ แวดลอ้ มทต่ี อ้ งดแู ลรกั ษา แตพ่ ระองคท์ รงทอด พระเนตรสิ่งที่ยิ่งใหญ่กว่านั้น พระองค์ทรงสร้างสิ่งท่ีเรียกว่า “คุณอนันต์” และพระองค์ยงั ทรงปอ้ งกัน “โทษมหันต”์ สมดงั ที่ได้พระราชทานพระปฐม บรมราชโองการ ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกว่า “เราจะครองแผน่ ดินโดย ธรรม เพื่อประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชนชาวสยาม”
พ ัลงงาน78 พลังงานลม
79 พลงั งาน ถงึ แมว้ า่ ลมจะเปน็ สงิ่ ทไี่ มส่ ามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ แต่คุณประโยชน์ของลมนั้นเป็นส่ิงท่ีสามารถท�ำให้เห็นเป็นรูปธรรมได้ โดย เฉพาะอยา่ งยิง่ การพฒั นาพลังงานลมตามแนวพระราชด�ำรขิ องในหลวง ซ่งึ เริ่มต้นจากโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดามีการใช้พลังงานลมมานาน มากกว่า ๒๐ ปีแลว้ โดยในขัน้ แรกน้นั ใช้ในการวิดน�้ำเพื่อถา่ ยเทน�้ำของบอ่ เลยี้ งปลานลิ ทงั้ นนี้ างสริ พิ ร ไศละสตู อดตี อธบิ ดกี รมพฒั นาพลงั งานทดแทน และอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน กระทรวงพลงั งาน เลา่ ถงึ การนำ� พลงั งานลมมาใช้ตาม แนวพระราชด�ำริวา่ ...
80 “แนวพระราชด�ำริเรื่องการใช้พลังงานลมส่วนใหญ่เป็นเรื่องการสูบน�ำ้ อย่างเช่น ปราณบุรี มภี เู ขาทแี่ หง้ แล้ง เพราะคนตัดไมท้ ำ� ลายป่ า พระองค์ทา่ นทรงมีพระราชดำ� ริให้ปลกู ป่ า พ ัลงงาน ด้วยการใช้พลังงานลมมาใช้ในการสูบน�ำ้ ขึน้ ไปบนภูเขา เพื่อให้ดินมีความชุ่มชื้น สร้างสภาพ แวดล้อมทเี่ หมาะแก่การเจริญเติบโตของต้นไม้ กรมสนองพระราชด�ำริด้วยการน�ำกังหันลมไปติด ไวบ้ นยอดเขา เมอื่ กังหนั หมุนก็จะท�ำใหเ้ ครอื่ งสบู นำ�้ ท�ำงาน ดึงน�ำ้ ขึน้ ไปให้ความชุ่มชื้นแก่ดนิ ตน้ ไม้ ก็เจรญิ เติบโตไดค้ นทผี่ า่ นไปแถวนนั้ จะเหน็ กงั หันเรียงกนั อยู่ วันนีก้ รมมีเสาวัดลมความเร็วสูงประมาณสีส่ ิบเมตร แต่มีโครงการทีส่ ร้างกังหันลม พร้อมกบั การวัดลมทคี่ วามสูงประมาณเจ็ดสบิ เมตร ถงึ เกา้ สิบเมตร เครือ่ งวัดลมนจี้ ะช่วยในการ หาข้อมูลเกยี่ วกับความเร็วลมด้วย\" ท่ามกลางสายลมแห่งความเปล่ียนแปลงท่ีนับวันจะพัดแรงข้ึนทุกขณะ การพฒั นาพลงั งานลมไดเ้ รม่ิ ตน้ ขนึ้ แลว้ ในประเทศไทย โดยมแี นวพระราชดำ� ริ ของในหลวงเป็นดั่งการแผ้วถางทางให้ผู้ปฏิบัติงานได้น�ำไปศึกษาพัฒนาและ สามารถน�ำมาใช้งานได้อย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและทรัพยากรของ ประเทศไทย อาทเิ ช่น
81 พลงั งาน เทคโนโลยีกงั หันลม
พ ัลงงาน82 เทคโนโลยกี งั หนั ลม กงั หนั ลมเปน็ เครอื่ งจกั รกลชนดิ หนงึ่ ทสี่ ามารถรบั พลงั งานจลน์ จากการเคลอื่ นทขี่ องลมเปลยี่ นใหเ้ ปน็ พลงั งานกลจาก นนั้ นำ� พลงั งานกลมา ใชป้ ระโยชนโ์ ดยตรง เช่น การบดสเี มล็ดพืชในสมยั โบราณ การชักนำ�้ การ สบู นำ�้ หรอื ผลติ พลงั งานไฟฟ้าในปัจจุ บนั ตามความเปน็ จรงิ แลว้ การพฒั นา กังหันลมเพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์เริ่มมีมาตัง้ แต่สมัยอียิปต์โบราณจนถึงยุค ปัจจุ บนั โดยการออกแบบกงั หนั ลมตอ้ งอาศยั ความรูท้ างดา้ นพลศาสตรข์ อง ลมและหลักวิศวกรรมศาสตร์ในแขนงตา่ ง ๆ เพอื่ ใหไ้ ด้ก�ำลังงาน พลังงาน และประสทิ ธภิ าพสงู สดุ
83 พลงั งาน กังหนั ลมนำ� มาผลิตพลังงานได้ใน ๒ รูปแบบ • กังหันลมเพ่ือสบู น�ำ้ (Wind Turbine for Pumping) เปน็ กงั หนั ที่ รบั พลงั งานจลนจ์ ากการเคลอ่ื นทข่ี องลมและเปลย่ี นใหเ้ ปน็ พลงั งานกลเพอื่ ใช้ ใน การชักหรือสูบน้�ำจากที่ต่�ำข้ึนที่สูง เพ่ือใช้ในการท�ำนาเกลือ การเกษตร การอปุ โภคและการบรโิ ภค ปจั จบุ นั มใี ชอ้ ยดู่ ว้ ยกนั ๒ แบบ คอื แบบระหดั และ แบบสบู ชัก • กังหนั ลมเพอ่ื ผลติ ไฟฟา้ (Wind Turbine for Electric) เป็นกงั หนั ทรี่ บั พลงั งานจลนจ์ ากการเคลอ่ื นทข่ี องลมและเปลยี่ นใหเ้ ปน็ พลงั งาน กล จาก น้ันน�ำพลังงานกลมาหมุนเคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้าเพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า ปจั จบุ นั มกี ารนำ� มาใชง้ านทงั้ กงั หนั ลมขนาดเลก็ (Small wind Turbine) และ กงั หนั ลมขนาดใหญ่ (Large Wind Turbine)
พ ัลงงาน84 กังหันลมบรเิ วณโครงการสระเกบ็ น้�ำพระราม ๙ โครงการสระเกบ็ นำ�้ พระราม ๙ ตามแนวพระราชดำ� รติ ง้ั อยทู่ ่ี อำ� เภอธญั บรุ ี จงั หวดั ปทุมธานี เป็นหนึ่งในโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชด�ำริเน่ืองจากอุทกภัยเป็นภัย ธรรมชาตทิ ่ีอยูค่ ู่กบั ประเทศไทยมาชา้ นาน ย่งิ การพัฒนาทีด่ นิ เพอ่ื การอยอู่ าศัยและการ สญั จรมมี ากขน้ึ อทุ กภยั กย็ ง่ิ ทวคี วามรนุ แรงมากขนึ้ ดว้ ยเหตนุ เี้ อง ในหลวงจงึ ทรงมพี ระ มหากรุณาธคิ ณุ ตอ่ พสกนกิ รชาวไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแนวพระ ราชดำ� รเิ พ่ือเปน็ แนวทางในการด�ำเนนิ งานแกไ้ ขปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ อย่างเรง่ ดว่ น
85 พลงั งาน สระเก็บน้�ำพระราม ๙ เป็นหนึ่งในโครงการแก้มลิงตามแนวพระ ราชดำ� ริ อยรู่ ะหวา่ งคลองรงั สติ ๕และ๖รวมพนื้ ทกี่ วา่ ๒,๘๒๗ ไร่ ๑๐ ตารางวา แยก เปน็ ๒สระด้วยกนั ท้งั สระเก็บน้�ำท๑ี่ พื้นท่ปี ระมาณ ๗๙๐ ไร่ ความจปุ ระมาณ๖ลา้ น ลบ.ม. และสระเก็บน�้ำท่๒ี พน้ื ทีป่ ระมาณ ๑,๗๙๐ ไร่ ความจุประมาณ ๑๑.๑ ล้าน ลบ.ม. นอกจากนพ้ี ้ืนทโี่ ดยรอบสระเก็บน้ำ� ยงั จัดแตง่ เปน็ สวนสาธารณะเพ่ือใหเ้ ปน็ สถานท่ีพกั ผ่อนของประชาชนท่วั ไป มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรจี งึ ได้ จัด “โครงการพัฒนาอุทยานเฉลิมพระเกียรติบริเวณโครงการสระเก็บน้�ำพระราม ๙” เป็นโครงการเพื่อสนองพระราชด�ำริ โดยการน�ำพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสดุ โดยใช้ระบบร่วมระหว่างพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์เป็นการสร้าง ระบบผลติ กระแสไฟฟา้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งในพนื้ ทโี่ ครงการตามแนวพระราชดำ� ริ ซง่ึ ชว่ ง กลางวนั จะอาศัยพลังงานจากแสงอาทติ ยเ์ ปน็ หลกั ขณะทีใ่ นช่วงเยน็ หรอื กลางคนื จะอาศยั พลงั งานลม สำ� หรบั กงั หนั ลมทใ่ี ชผ้ ลติ ไฟฟา้ มจี ำ� นวนทง้ั สน้ิ ๒ตวั ขนาด๔๐๐ วัตต์และ๑,๐๐๐ วัตต์ ติดต้ังบริเวณสระเก็บน�้ำพระรามเก้า โดยเป็นกังหันลมที่ สามารถผลติ ก�ำลงั ไฟฟา้ ใหม้ ีความเร็วลมตำ่� และปราศจากเสียงรบกวน
กงั หนั ลมผลติ ไฟฟ้า ณ โครงการชั่งหวั มนั
กงั หนั ลมผลติ ไฟฟ้า ณ โครงการช่ังหัวมนั ในหลวงทรงมีพระราชด�ำริให้น�ำพลังงานลมมาใช้ ประโยชนต์ อ่ โครงการชง่ั หวั มนั ตามแนวพระราชดำ� ริ อำ� เภอทา่ ยาง จังหวัดเพชรบุรี ด้วยทรงเล็งเห็นว่าบริเวณพ้ืนท่ีในโครงการมีประ แสลมพัดแรง จึงได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้ ศูนย์วิจัยพลังงามลมน�้ำและแสง อาทิตย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ดำ� เนินการออกแบบและ ตดิ ตั้ง มกี ำ� ลงั การผลิตขนาด ๕๐ กโิ ลวตั ต์ ซง่ึ ในปจั จุบันมกี ังหนั ลม ท้ังหมดจ�ำนวน 20 ตวั และกล่าวได้ว่าเปน็ ทุ่งกังหันลมท่ีใหญท่ ส่ี ดุ ในประเทศไทย
พ ัลงงาน88 บรรณานุกรม - กระทรวงพลังงานร่วมกับสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย.พระบิดาแห่งการพัฒนา พลังงานไทย, พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑,กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร์พร้ินติ้งแอนดพ์ ับลิชช่งิ ,๒๕๔๙
แนวพระราชดำ� ริเก่ียวกับพลงั งาน www.sukphor.com
Search