Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Description: หนังสือ,เอกสาร,บทความที่นำมาเผยแพร่นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ที่เกิดขึ้นให้คุณทราบ ด้วยเหตุนี้ ถ้าคุณได้เจ้าหน้าที่การตลาดที่รู้ใจกัน และเชื่อถือได้ คุณจะเป็นผู้ลงทุนที่มีความสุข คลายความวิตกกังวลได้ ไม่น้อยทีเดียว เราขอแนะนำข้อควรคำนึงถึงในการเลือกเจ้าหน้าที่ การตลาดประจำตัวของคุณไว้ดังนี้ • ควรเปน็ ผมู้ สี ขุ ภาพดี ทง้ั ทางรา่ งกายและจติ ใจ ไมใ่ ชค่ นออ่ นแอ หรอื ลาปว่ ยบอ่ ย เพราะคณุ จะเสยี อารมณม์ าก หากไมส่ ามารถ ตามตวั ในยามคบั ขนั ได้ • ควรมปี ระสบการณใ์ นอาชพี นอ้ี ยา่ งนอ้ ย 2 ปขี น้ึ ไป • เคยมนี กั วเิ คราะหต์ ง้ั ขอ้ สงั เกตวา่ ควรมอี ายุ 27 ปขี น้ึ ไป เพราะ เปน็ วยั ทว่ี ฒุ ภิ าวะเพยี งพอ • ควรมพี น้ื ฐานการศกึ ษาทด่ี แี ละตรงสายงาน เชน่ เรยี นจบทาง ดา้ นการเงนิ บญั ชี เศรษฐศาสตร์ การตลาด เปน็ ตน้ • สามารถตอบคำถามหรอื วเิ คราะหข์ อ้ มลู ไดช้ ดั เจน มเี หตผุ ล น่าเชื่อถือ • ไม่ควรมีลูกค้าในความดูแลมากเกินไป • ไดร้ บั การยอมรบั จากกลมุ่ ลกู คา้ โดยเฉพาะในเรอ่ื งความ รบั ผดิ ชอบ ความซอ่ื สตั ย์ และมจี รรยาบรรณในวชิ าชพี ซง่ึ คณุ สามารถสอบถามจากเพอ่ื นผลู้ งทนุ รอบขา้ งได้ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 45

สรุป ○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○ บริษัทสมาชิก หรือ “โบรกเกอร์” คือคนกลางระหว่างผู้ลงทุน และตลาดหลักทรัพย์ มีหน้าที่รับคำสั่งซื้อขายเพื่อส่งไปยังระบบซื้อขาย หลักทรัพย์ของตลาดหลักทรัพย์ และให้บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการ ซื้อขายหลักทรัพย์ บริษัทนายหน้าช่วง หรือ “ซับโบรกเกอร์” ทำหน้าที่รับและส่ง คำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์จากผู้ลงทุนเช่นเดียวกันกับโบรกเกอร์ แต่จะต้อง ส่งคำสั่งดังกล่าวผ่านไปยังโบรกเกอร์ เพื่อส่งต่อเข้าสู่ระบบซื้อขาย หลกั ทรพั ยข์ องตลาดหลกั ทรพั ยอ์ กี ตอ่ หนง่ึ คณุ สมบตั ขิ องโบรกเกอรท์ ด่ี คี อื ใหบ้ รกิ ารขา่ วสารขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง พอเพยี ง ใหบ้ รกิ ารดว้ ยความรวดเรว็ ถกู ตอ้ งและซอ่ื สตั ย์ มฐี านะการเงนิ มน่ั คง นา่ เชอ่ื ถอื มสี ง่ิ อำนวยความสะดวกครบถว้ นและทนั สมยั เจา้ หนา้ ทก่ี ารตลาดทด่ี คี วรมปี ระสบการณเ์ พยี งพอ มพี น้ื ฐานการ ศกึ ษาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ธรุ กจิ มปี ระสทิ ธภิ าพในการใหบ้ รกิ าร ใหค้ ำแนะนำแก่ ผลู้ งทนุ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมจี รรยาบรรณในวชิ าชพี 4 6 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

4ขtอ้ มhลู พน้ืกSฐาา้กนใานวtรทลeง่ี ท4pุน: ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 47

ความพร้อมของการลงทุนในหุ้นนั้น นอกเหนือไปจากการรู้จัก ตลาดหลักทรัพย์ กระบวนการซื้อขาย รวมทั้งการสมัครเป็นลูกค้าบริษัท สมาชิกหรือโบรกเกอร์แล้ว สิ่งที่สำคัญยิ่งอีกอย่างหนึ่งคือการเข้าใจข้อมูล พน้ื ฐานทจ่ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การตดั สนิ ใจซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ ในบทนเ้ี ราจะ อธิบายให้คุณเข้าใจถึงข้อมูลสำคัญที่คุณมักได้พบเห็นอยู่เสมอ ๆ เมื่อ มีการรายงานหรือพูดถึงตลาดหลักทรัพย์ ขอ้ มลู พน้ื ฐานทส่ี ำคญั ข้อมูลพื้นฐานที่คุณจะต้องเข้าใจและใช้ในการพิจารณาเพื่อ ตดั สนิ ใจซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ ประกอบดว้ ยขอ้ มลู สำคญั เบอ้ื งตน้ 2 ประการ ด้วยกันคือ 1. การพิจารณาภาพรวมของตลาด การรับทราบข้อมูลและพิจารณาภาพโดยรวมของตลาด หลักทรัพย์ เป็นสิ่งแรกที่คุณได้พบเห็นหรือได้ยินอยู่เป็นประจำ ซึ่งมี หวั ขอ้ ทส่ี ำคญั ดงั น้ี 1.1 ดชั นรี าคาหนุ้ มกี ารคดิ คน้ กนั มาหลายรปู แบบ แตท่ น่ี ยิ มใชก้ นั มาก ทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ “ดชั นรี าคาหนุ้ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย” หรอื SET Index ซง่ึ เปน็ ดชั นรี าคาหนุ้ ทค่ี ำนวณถวั เฉลย่ี ราคาหนุ้ สามญั แบบถว่ งนำ้ หนกั ดว้ ยจำนวนหนุ้ จดทะเบยี น หมายความวา่ หนุ้ ใหญ่ หรอื หนุ้ ทม่ี ที นุ จดทะเบยี นสงู หากมกี ารเคลอ่ื นไหวขน้ึ ลงจะมผี ลตอ่ การเคลื่อนไหวของ SET Index มากกว่าการเปลี่ยนแปลงขึ้นลง ของหนุ้ เลก็ หรอื หนุ้ ทม่ี ที นุ จดทะเบยี นตำ่ หรอื นอ้ ยกวา่ นอกจาก SET Index แลว้ ยงั มดี ชั นรี าคาหนุ้ อน่ื ๆ ทม่ี กี ารคดิ คน้ กนั เพื่อใช้พิจารณาแนวโน้มของตลาดหลักทรัพย์อีก เช่น ดัชนี SET50 Index 4 8 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

และดชั นรี าคาหนุ้ รายกลมุ่ อตุ สาหกรรม (Sectoral Indices) เพอ่ื ใชพ้ จิ ารณาการ เคลอ่ื นไหวของหนุ้ ในแต่ละกลุ่ม อุตสาหกรรมว่า เคลื่อนไหวขึ้นลง เป็นอย่างไรในช่วง นน้ั ๆ 1.2 ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ นอกจากดัชนีราคาหุ้นตลาด หลกั ทรพั ยแ์ ลว้ ตวั เลขทผ่ี ลู้ งทนุ มกั ไดย้ นิ ควบคกู่ นั ไปคอื ปรมิ าณ การซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ ซง่ึ แสดงใหผ้ ลู้ งทนุ ไดท้ ราบวา่ ตลาด หลกั ทรพั ยม์ กี ารซอ้ื ขายหนาแนน่ หรอื คกึ คกั เพยี งใด ถา้ ภาวะตลาด ดี ผลู้ งทนุ กจ็ ะเขา้ มาซอ้ื ขายกนั อยา่ งคกึ คกั ในทางตรงกนั ขา้ มหาก ภาวะตลาดซบเซา ผลู้ งทนุ กจ็ ะเขา้ มาซอ้ื ขายกนั นอ้ ยลง ดงั นน้ั ปริมาณการซื้อขายจึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการ พิจารณาลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ 1.3 จำนวนหนุ้ ทม่ี รี าคาปดิ สงู ขน้ึ ลดลงหรอื เทา่ เดมิ หากวนั ใดทห่ี นุ้ สว่ นใหญม่ รี าคาปดิ สงู ขน้ึ จะเปน็ การสะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพของสภาวะ ตลาดหลกั ทรพั ยท์ ด่ี ี ในทางตรงขา้ ม หากวนั ใดทร่ี าคาหนุ้ สว่ นใหญ่ ตดิ ลบ สภาพตลาดอาจไมด่ นี กั หรอื ถา้ หนุ้ สว่ นใหญม่ รี าคาปดิ คอ่ น ขา้ งคงทแ่ี สดงวา่ ตลาดหลกั ทรพั ยน์ า่ จะมกี ารเคลอ่ื นไหวอยใู่ นชว่ ง แคบ ๆ ซง่ึ ผลู้ งทนุ อาจจะพจิ ารณาทศิ ทางทป่ี รมิ าณหนุ้ เปลย่ี นแปลง ไปในการวเิ คราะหต์ ลาดดว้ ยตนเองได้ อยา่ งไรกต็ าม ในเรอ่ื งน้ี อาจเปน็ การมองภาพในระยะสน้ั ๆ ผลู้ งทนุ ยงั ตอ้ งพจิ ารณาปจั จยั อน่ื ๆ มาประกอบดว้ ย ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 49

2. การพิจารณาคุณภาพหุ้นรายตัว นอกเหนือจากการพิจารณาภาพรวมของตลาดหลักทรัพย์ตาม ทก่ี ลา่ วมา คณุ ควรจะทราบดว้ ยวา่ หนุ้ ทด่ี แี ละนา่ ลงทนุ นน้ั สามารถดไู ดจ้ าก อะไรไดบ้ า้ ง ซง่ึ เราขออธบิ ายหลกั การเบอ้ื งตน้ ในการพจิ ารณา เพอ่ื ประกอบ การตดั สนิ ใจในการลงทนุ ของคณุ ดงั น้ี 2.1 ราคา (Price) โดยปกตผิ ลู้ งทนุ มกั เหน็ ราคาของหนุ้ เปน็ สง่ิ สำคญั เนอ่ื งจากมกี ารเคลอ่ื นไหวขน้ึ ลงจากแรงซอ้ื แรงขาย อยตู่ ลอดเวลา และเมอ่ื ตลาดหลกั ทรพั ยป์ ดิ ทำการ ผลู้ งทนุ มกั ดรู าคาปดิ ของหนุ้ ทต่ี นเองสนใจวา่ เพม่ิ ขน้ึ ลดลง หรอื เปลย่ี นแปลงมากนอ้ ยเพยี งใด และราคากห็ มายถงึ จำนวน เงนิ ทผ่ี ลู้ งทนุ พจิ ารณาวา่ เหมาะสมตอ่ การซอ้ื ขาย หรอื ถอื หนุ้ นน้ั ๆ ไวห้ รอื ไมอ่ ยา่ งไร แตใ่ นการวเิ คราะหค์ ณุ ภาพ ของหนุ้ ตา่ ง ๆ นน้ั ราคาหนุ้ จะตอ้ งนำมาวเิ คราะหร์ ว่ มกบั ผลการดำเนนิ งานอนั ไดแ้ ก่ กำไรตอ่ หนุ้ การจา่ ยปนั ผล หรอื ขอ้ มลู อน่ื ๆ อกี หลายประการ ดงั นน้ั ราคาจงึ เปน็ เพยี ง ตัวกำหนดเพื่อประกอบการตัดสินใจเบื้องต้นเท่านั้น 2.2 ราคาปดิ ตอ่ กำไรหนุ้ (P/E Ratio) เปน็ เกณฑท์ ค่ี ดิ จาก อตั ราสว่ น (Ratio) ราคาปดิ (Close Price: P) เทยี บกบั กำไร ตอ่ หนุ้ (Earnings per share: E) ซง่ึ สามารถแสดงคณุ ภาพใน ระดบั พน้ื ฐานของหนุ้ ตวั นน้ั ๆ ได้ คา่ P/E Ratio คำนวณได้ จากการเอาราคาปดิ ของหนุ้ ณ วนั ทำการหนง่ึ ๆ หารดว้ ย มลู คา่ กำไรตอ่ หนุ้ ของหนุ้ นน้ั ๆ ดงั มสี ตู รดงั น้ี P/E = ราคาปดิ หรอื ราคาตลาดของหนุ้ (P) กำไรสทุ ธติ อ่ หนุ้ ประจำงวด 12 เดอื นของหนุ้ (E) 5 0 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

ตวั เลขทไ่ี ดเ้ ปน็ การบอกวา่ หนุ้ หรอื หลกั ทรพั ยต์ วั นน้ั จะใช้ เวลากี่ปีในการที่ผลตอบแทนหรือกำไรสุทธิจะรวมกัน เทา่ กบั ราคาของมนั ณ เวลาทท่ี ำการคำนวณ เชน่ หนุ้ ABC มรี าคาปดิ (Price: P) เทา่ กบั 100 บาท และ มกี ำไรตอ่ หนุ้ (Earnings per share: E) เทา่ กบั 20 บาท ดงั นน้ั คา่ P/E Ratio จงึ เทา่ กบั 100/ 20 หรอื 5 เทา่ นน้ั เอง (ซง่ึ หมายความ วา่ หนุ้ ตวั น้ี ณ เวลาทค่ี ำนวณน้ี จะใชเ้ วลาเพยี ง 5 ปใี นการท่ี กำไรต่อหุ้นจะรวมกันเท่ากับราคาของมัน) หนุ้ ตวั ใดมคี า่ P/E Ratio ตำ่ ยอ่ มมคี ณุ ภาพทจ่ี ดั ไดว้ า่ ดวี า่ หนุ้ ทม่ี คี า่ P/E Ratio สงู ในทางกลบั กนั สมมตุ วิ า่ หนุ้ DEF มรี าคาปดิ เทา่ กบั 200 บาท และมีกำไรต่อหุ้นเท่ากับ 20 บาท ดังนั้น ค่า P/E Ratio ของหนุ้ ตวั นจ้ี งึ เทา่ กบั 200 หารดว้ ย 20 หรอื 10 เทา่ (ซง่ึ หมาย ความวา่ หนุ้ ตวั น้ี ณ เวลาทค่ี ำนวณนจ้ี ะใชเ้ วลา 10 ปี ในการท่ี กำไรต่อหุ้นจะรวมกันเท่ากับราคาของมัน) เมื่อเปรียบเทียบ หนุ้ ABC กบั หนุ้ DEF เรากพ็ อจะสรปุ ไดใ้ นระดบั หนง่ึ วา่ หนุ้ ABC มีคุณภาพดีกว่าหุ้น DEF กล่าวโดยสรุป หุ้นที่มีค่า P/E Ratio ทต่ี ำ่ กวา่ แสดงวา่ มคี วามสามารถในการทำกำไรไดด้ ี กวา่ หรอื ราคาหนุ้ ยงั ตำ่ กวา่ หนุ้ ทม่ี คี า่ P/E Ratio สงู เมอ่ื คดิ จาก ประสทิ ธภิ าพในการดำเนนิ งานหรอื ผลกำไร 2.3อตั ราเงนิ ปนั ผลตอบแทน (Dividend Yield) หมายถงึ อตั ราผล ตอบแทนจากเงินปันผลโดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากหุ้นตัว ใดมี Dividend Yield สงู อาจไดร้ บั ความสนใจจากผลู้ งทนุ มาก กวา่ เนอ่ื งจากใหผ้ ลตอบแทนในรปู ของเงนิ ปนั ผลมากกวา่ ซง่ึ สามารถเปรยี บเทยี บระหวา่ งหนุ้ แตล่ ะตวั ไดว้ า่ ตวั ใดนา่ สนใจ มากกว่ากัน ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 51

อัตราเงินปันผลตอบแทนสามารถคำนวณได้จากสูตรดังนี้คือ อตั ราเงนิ ปนั ผลตอบแทน = มลู คา่ ปนั ผลตอ่ หนุ้ (Dividend) X 100 ราคาหนุ้ (Market Price) เชน่ หนุ้ ABC มรี าคาซอ้ื ขายหนุ้ ละ 20 บาท ประกาศจา่ ย เงนิ ปนั ผลเทา่ กบั 2 บาท ดงั นน้ั อตั ราเงนิ ปนั ผลตอบแทน หนุ้ ABC = 2 X 100 = 10 % 20 2.4ปรมิ าณการซอ้ื ขาย การทผ่ี ลู้ งทนุ จะซอ้ื หรอื ขายหนุ้ ปรมิ าณ การซอ้ื ขายหนุ้ หรอื สภาพคลอ่ งนบั วา่ มสี ว่ นสำคญั กลา่ วคอื หากหนุ้ มสี ภาพคลอ่ งสงู หรอื มปี รมิ าณหนุ้ เขา้ มาหมนุ เวยี นซอ้ื ขายมาก การเขา้ ซอ้ื หรอื ขายยอ่ มทำไดง้ า่ ย หากมสี ภาพคลอ่ ง ต่ำ หรือมีปริมาณการซื้อขายน้อย การเข้าซื้อย่อมเป็นไปได้ ยากเพราะขาดผเู้ สนอขาย ในทางกลบั กนั หากผลู้ งทนุ ตอ้ งการ ขายหนุ้ แตไ่ มม่ ผี เู้ สนอซอ้ื หรอื มเี พยี งเลก็ นอ้ ย กอ็ าจทำใหก้ าร ขายหลกั ทรพั ยน์ น้ั เปน็ ไปไดย้ าก สง่ ผลเสยี ตอ่ ผลู้ งทนุ ทม่ี ี ความเรง่ รบี ในการใชเ้ งนิ ดงั นน้ั การพจิ ารณาปรมิ าณการซอ้ื ขายหุ้นจึงมีความจำเปน็ ด้วยเชน่ กนั 2.5การพิจารณาหุ้นในเชิงธุรกิจการเงิน หมายความถึงการ วเิ คราะหด์ วู า่ หนุ้ ทส่ี นใจลงทนุ นน้ั มศี กั ยภาพในการเจรญิ เตบิ โต มคี วามมน่ั คง เขม้ แขง็ ในทางการเงนิ และการบรหิ าร และมี โอกาสทจ่ี ะตอบแทนผลกำไรทค่ี มุ้ คา่ แกผ่ ทู้ เ่ี ขา้ มาซือ้ หนุ้ นน้ั ๆ ไวม้ ากนอ้ ยเพยี งใด การพจิ ารณาในเรอ่ื งดงั กลา่ วน้ี อาจจะคอ่ น ข้างละเอียดซับซ้อนซึ่งเมื่อผู้ลงทุนได้ทำความเข้าใจในการ ลงทนุ เบอ้ื งตน้ ดพี อแลว้ จงึ คอ่ ยศกึ ษาหาความรเู้ พม่ิ เตมิ ตอ่ ไป 5 2 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

ที่กล่าวมานี้ คือการพิจารณาจากสภาพตลาดและตัวหลักทรัพย์ นั้น แต่ยังมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องอีกหลายประการส่งผลต่อทิศทางการเคลื่อน ไหวของตลาดและราคาหนุ้ ซง่ึ สอ่ื ตา่ ง ๆ ไดร้ ายงานไวเ้ พอ่ื ใหผ้ ลู้ งทนุ ทราบ ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปคณุ จะไดท้ ราบวา่ มสี อ่ื อะไรบา้ งทใ่ี หข้ อ้ มลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั การลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ กอ่ นจะไดก้ ลา่ วถงึ ปจั จยั สำคญั ทจ่ี ะชว่ ยใหค้ ณุ พจิ ารณาตดั สนิ ใจวา่ ควรจะลงทนุ ในหลกั ทรพั ยห์ รอื ไมเ่ พยี งใด หรอื เมอ่ื ใด แหลง่ ขอ้ มลู และขา่ วสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ ปัจจุบันการซื้อขายหุ้นหรือหลักทรัพย์มีความแพร่หลายมากขึ้น ผู้ลงทุนนับแสน ๆ รายติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดหลักทรัพย์กัน ทกุ ๆ วนั ดงั นน้ั สอ่ื สารมวลชนตา่ ง ๆ จงึ รายงานสภาวะตลาดกนั ทกุ แขนง ตลาดหลักทรัพย์ได้เผยแพร่และสนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ แก่ผู้ลงทุนผ่าน สถานวี ทิ ยทุ ง้ั ภาค AM และ FM รวมทง้ั สถานโี ทรทศั น์ โดยมกี ารรายงาน การซอ้ื ขายตลอดเวลาทำการ มกี ารแจง้ ประกาศการจา่ ยเงนิ ปนั ผล เพม่ิ ทนุ หรือรายงานผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ในชว่ งหลงั จากตลาดหลกั ทรพั ยป์ ดิ ทำการ ยงั มรี ายงาน ราคาปิดและภาพรวมของตลาดหลักทรัพย์ด้วย ในด้านสื่อสิ่งพิมพ์นั้น หนังสือพิมพ์รายวันเกือบทุกฉบับก็จะมี รายงานสภาวะตลาดหลกั ทรพั ยด์ ว้ ยเชน่ กนั โดยเฉพาะหนงั สอื พมิ พร์ ายวนั ภาคธรุ กจิ จะมรี ายงานทค่ี อ่ นขา้ งละเอยี ด นอกเหนอื ไปจากขา่ วประกาศ และ ขา่ วธรุ กจิ การเงนิ การลงทนุ อน่ื ๆ นอกจากนี้ ข่าวสารข้อมูลและรายงานการซื้อขายยังมีพัฒนาการที่ ทนั สมยั เผยแพรโ่ ดยเทคโนโลยใี หม่ ทง้ั ทาง Internet, CD ROM และระบบ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 53

เผยแพร่ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์ (SETINFO) ให้ ผู้ลงทุนที่สนใจได้ศึกษาค้นคว้า ซึ่งสถานที่และหน่วยงานที่สำคัญที่ให้ บรกิ ารขอ้ มลู แกผ่ ลู้ งทนุ ไดแ้ ก่ 1. ห้องสมุดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นแหล่งเก็บ รวบรวมข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ เพื่อให้บริการแก่ผู้สนใจจะลงทุนใน ตลาดหลกั ทรพั ย์ หอ้ งสมดุ ตลาดหลกั ทรพั ยต์ ง้ั อยู่ ณ บรเิ วณชน้ั 1 ของอาคาร ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย เลขท่ี 62 ถนนรชั ดาภเิ ษก เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ และเปดิ บรกิ ารระหวา่ งเวลา 8.30 –18.30 น. ทกุ วนั จนั ทร์ - ศกุ ร์ และวนั เสาร์ เวลา 10.00-15.00 น. 2. เวบ็ ไซตข์ องตลาดหลกั ทรพั ย์ www.set.or.th ในเวบ็ ไซตข์ อง ตลาดหลักทรัพย์ นอกจากจะเป็นแหล่งข้อมูลที่ผู้ลงทุนและผู้สนใจทั่วไป จะได้ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารต่าง ๆ ของตลาดหลักทรัพย์ ข้อมูล การซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ ขา่ วของบรษิ ทั จดทะเบยี น เปน็ ตน้ ผเู้ ขา้ เยย่ี มชมใน เว็บไซต์ยังสามารถศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการลงทุนในหลักทรัพย์ได้ด้วย 3. ห้องสมุดสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตั้งอยู่ ณ ชั้น 15 อาคารดีทแฮมท์ 2 ถนนวิทยุ เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ ซง่ึ เปน็ ทต่ี ง้ั ของสำนกั งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 4. บรษิ ทั หลกั ทรพั ยห์ รอื โบรกเกอร์ สำหรบั ผทู้ ส่ี นใจจะลงทนุ ใน หลกั ทรพั ย์ โบรกเกอร์ คอื แหลง่ ขอ้ มลู ทด่ี ที ส่ี ดุ แหลง่ หนง่ึ ในการใหค้ วามรู้ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า ผู้ลงทุนสามารถสอบถามรายละเอียด และขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งครบถว้ น ทง้ั ในดา้ นขอ้ มลู พน้ื ฐานทว่ั ไป และเรอ่ื ง การซื้อขายซึ่งค่อนข้างซับซ้อน รวมทั้งปัจจัยและสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการลงทุน 5 4 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

ปจั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การลงทนุ หลังจากทราบแหล่งข้อมูล และวิธีการศึกษาข้อมูลสำคัญ ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหุ้นแล้ว ถึงจุดนี้เราอยากให้คุณได้ทราบถึงปัจจัย ตา่ ง ๆ ทอ่ี าจสง่ ผลกระทบตอ่ การลงทนุ ซง่ึ กม็ คี วามสำคญั ตอ่ ทศิ ทางตลาด หลกั ทรพั ย์ หรอื มผี ลตอ่ ราคาหนุ้ ทอ่ี ยใู่ นความสนใจของคณุ ดว้ ยเชน่ กนั 1. ปจั จยั ทางเศรษฐกจิ ถอื เปน็ ปจั จยั สำคญั ทส่ี ดุ ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การ ลงทนุ ในหลกั ทรพั ย์ ปญั หาทางเศรษฐกจิ อาจสง่ ผลกระทบตอ่ ปญั หาอน่ื ๆ ไดอ้ กี มากมาย และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบทางจติ วทิ ยาตอ่ ผลู้ งทนุ ไดม้ ากทส่ี ดุ ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่ผู้ลงทุนควรคำนึงถึงได้แก่ สภาพคลอ่ งทางการเงนิ เมอ่ื ใดกต็ ามทเ่ี กดิ ปญั หาสภาพคลอ่ งทางการ เงนิ หมายความวา่ ธรุ กจิ หรอื กจิ การทง้ั หลายขาดเงนิ หมนุ เวยี นทจ่ี ะใช้ ในการดำเนนิ งาน ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาอน่ื ๆ ตามมา อัตราดอกเบี้ย เมื่อเกิดปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน อัตราดอกเบี้ย จะขยบั ตวั สงู ขน้ึ ทำใหต้ น้ ทนุ การผลติ ของกจิ การหรอื อุตสาหกรรมต่าง ๆ สูงขึ้นตามไปด้วย ในทาง ตรงกนั ขา้ ม หากสภาพคลอ่ งทางการเงนิ มมี าก อัตราดอกเบี้ยจะ ลดต่ำลง ผู้คนใน สังคมจะมีกำลังซื้อ มากขึ้น ส่งผลให้ อตุ สาหกรรมขยายตวั ธุรกิจต่าง ๆ รวมถึง การลงทุนในหลักทรัพย์ก็ จะได้รับผลดีตามไปด้วย ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 55

อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศหรือค่าเงิน ปัญหาอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นเฉพาะอุตสาหกรรม ที่ต้องพึ่งพาวัตถุดิบจากต่างประเทศ หากค่าของเงินบาทอ่อนตัวลง ย่อมทำให้ค่าใช้จ่ายในการสั่งสินค้าเข้ามาผลิตหรือจำหน่ายสูงขึ้น ตามไปดว้ ย แตส่ ำหรบั กจิ การทส่ี ง่ ออกสนิ คา้ หรอื บรกิ ารอาจไดร้ บั ผล ดี อยา่ งไรกต็ าม สำหรบั ประเทศไทยซง่ึ อตุ สาหกรรมสว่ นใหญต่ อ้ ง พึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบ และมีภาระหนี้สินต่างประเทศค่อนข้างมาก คา่ เงนิ บาททอ่ี อ่ นตวั ลงจะสง่ ผลในทางลบแกธ่ รุ กจิ การผลติ ซง่ึ ภาพโดยกวา้ งอาจหมายรวมไปถงึ ตลาดการคา้ โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ ในปจั จบุ นั คอื ตลาดตา่ งประเทศ หากอตุ สาหกรรมภาคการผลติ และบริการของเรา สามารถผลิตและจำหน่ายสินค้าที่ตรงตามความ ต้องการของประเทศคู่ค้าได้ ทั้งยังมีราคาและคุณภาพเหมาะสมหรือ ดีกว่าสินค้าจากประเทศคู่แข่ง มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำ ได้รับการสนับ สนนุ ทเ่ี ขม้ แขง็ จากภาครฐั ปจั จยั เหลา่ นก้ี จ็ ะสง่ ผลใหส้ ามารถจำหนา่ ย สนิ คา้ หรอื บรกิ ารไดด้ ขี น้ึ นำเงนิ ตราจากตา่ งประเทศเขา้ มาเสรมิ สรา้ ง สภาพคล่องได้มากขึ้น และกำลังซื้อของประชาชนที่มีมากขึ้นจะ กระจายผลดไี ปยงั กจิ การอน่ื ๆ ภายในประเทศได้ ภาวะเศรษฐกิจต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศคคู่ า้ หากอยใู่ นสภาพดี ความตอ้ งการสนิ คา้ ยอ่ มมมี ากขน้ึ สง่ ผลดีต่อยอดขายและเม็ดเงินที่กลับเข้ามาในประเทศไทย ในทาง ตรงข้าม หากเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าประสบปญั หา จะทำใหย้ อด จำหน่ายสินค้าและบริการของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศลด น้อยลง ซึ่งจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม 2. ปัจจัยทางการเมือง เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาหุ้นได้ อย่างรวดเร็วและรุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยการเมืองในประเทศ 5 6 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

เนื่องจากรัฐบาลเป็นผู้กำหนดนโยบายต่าง ๆ ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อ เศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นการกำหนดอัตราภาษี การส่งเสริมการลงทุน การ หาตลาดตา่ งประเทศ เปน็ ตน้ 3. ปัจจัยอื่น ๆ เช่น ปัจจัยจากธรรมชาติอันได้แก่ ฝนแล้ง น้ำท่วม แผ่นดินไหว หรือภัยพิบัติต่าง ๆ รวมทั้งความไม่สงบภายในประเทศหรือ บริเวณชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อภาวะทาง เศรษฐกจิ ดา้ นอน่ื ๆ 4. ปัจจัยเกี่ยวกับตลาดหลักทรัพย์หรือตัวหลักทรัพย์ เช่น การเกิด ข่าวลือ การเก็งกำไรที่มากเกินไปจนปัจจัยพื้นฐานรองรับไม่ไหว กฎ ระเบียบที่เข้มงวดหรือหย่อนยานจนเกินไป อัตรามาร์จิน (Margin) และ ดอกเบี้ยที่ไม่เอื้อต่อผู้ลงทุน เหล่านี้คือปัจจัยทางลบของตลาด ส่วน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวหลักทรัพย์ เช่น ผลกำไร ฐานะการเงินของบริษัท จดทะเบยี น การประกาศเพม่ิ ทนุ การประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผล หรอื แมแ้ ตข่ า่ ว เกี่ยวกับผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียนก็อาจส่งผลกระทบต่อราคา หลกั ทรพั ยไ์ ดท้ ง้ั สน้ิ การวิเคราะห์การลงทุนในหลักทรัพย์โดยอาศัยปัจจัยต่าง ๆ ที่กล่าว มาข้างต้น เรียกว่า “การวิเคราะห์โดยใช้ปัจจัยพื้นฐาน” (Fundamental Analysis) อย่างไรก็ตาม ผู้ลงทุนอาจเคยได้ยินคำว่า “การวิเคราะห์ทาง ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 57

เทคนิค” (Technical Analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์หุ้นโดยอาศัยข้อมูล ตัวเลขการเคลื่อนไหวของราคาหุ้น และมูลค่าการซื้อขายหุ้นในช่วงระยะ เวลาหนึ่ง ๆ มาคาดคะเนแนวโน้มของหุ้นในอนาคต การวิเคราะห์ใน ลักษณะนี้มีรายละเอียดและวิธีการที่ซับซ้อน ผู้สนใจต้องศึกษาเพิ่มเติม จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ดงั ทก่ี ลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ สรุป ○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○ ขอ้ มลู พน้ื ฐานทจ่ี ำเปน็ ตอ่ การลงทนุ ในหลกั ทรพั ย์ ไดแ้ ก่ 1. สภาพตลาดโดยรวม โดยดจู ากทศิ ทางการเคลอ่ื นไหวของดชั นี ราคาหนุ้ ปรมิ าณการซอ้ื ขาย 2. พิจารณาคุณภาพหุ้นรายตัว โดยดูจากราคา อัตราส่วน P/E Ratio อัตราเงินปันผลตอบแทน ปริมาณหุ้นหมุนเวียน และผลประกอบ การของบรษิ ทั จดทะเบยี น และภาวะตลาดของธรุ กจิ นน้ั ๆ แหล่งข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ มีทั้ง จากวทิ ยุ โทรทศั น์ หนงั สอื พมิ พร์ ายวนั เวบ็ ไซต์ หอ้ งสมดุ ตลาดหลกั ทรพั ย์ หอ้ งสมดุ สำนกั งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และบรษิ ทั โบรกเกอร์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในหลักทรัพย์ ได้แก่ ปัจจัยทาง เศรษฐกจิ เชน่ สภาพคลอ่ งทางการเงนิ อตั ราดอกเบย้ี อตั ราแลกเปลย่ี น เงนิ ตราตา่ งประเทศ ภาวะการผลติ ภาวะเศรษฐกจิ ตา่ งประเทศ ปจั จยั ทาง การเมือง ส่วนที่เหลือคือ ปัจจัยของตลาดหลักทรัพย์ หรือตัวหลักทรัพย์ นน้ั ๆ 5 8 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

กา้ วท่ี 5:th 5 Stepราเงตรวยี ลั มพแรลอ้ มะสคำหวราบั มเสย่ี ง ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 59

เตรยี มพรอ้ มกอ่ นลงทนุ กอ่ นตดั สนิ ใจลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ ผลู้ งทนุ ทด่ี ตี อ้ งวางแผน และจัดการกับภาระทางการเงินด้านอื่น ๆ ที่มีอยู่ในชีวิตให้เรียบร้อยเสีย กอ่ น เงนิ ทน่ี ำมาลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ยค์ วรเปน็ “เงนิ สว่ นทเ่ี หลอื ” หลงั จากท่านได้เตรียมการขั้นพื้นฐานสำหรับชีวิตไว้เรียบร้อยแล้ว ค่าใช้จ่าย สำคญั ทค่ี ณุ ควรจดั เตรยี มไวก้ อ่ นเขา้ มาลงทนุ ในหลกั ทรพั ย์ ไดแ้ ก่ 1. เงนิ สำรองเผอ่ื ฉกุ เฉนิ ผเู้ ชย่ี วชาญทางการเงนิ เหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่ คนเราควรมีเงินเก็บสำรองไว้เผื่อใช้ในเวลาฉุกเฉิน อย่างน้อยที่สุดเท่ากับ คา่ ใชจ้ า่ ยรายเดอื นรวมกนั 3 เดอื น สมมตวิ า่ ในชวี ติ ประจำวนั ของคณุ และ ครอบครวั ตอ้ งใชจ้ า่ ยเงนิ ประมาณเดอื นละ 30,000 บาท คณุ ควรมเี งนิ เกบ็ สำรองเผื่อฉุกเฉินอย่างน้อยที่สุด 90,000 บาท เงินสำรองนี้ควรเก็บไว้ใน รปู แบบทม่ี คี วามเสย่ี งนอ้ ยทส่ี ดุ และสามารถเบกิ ใชไ้ ดท้ นั ทที ต่ี อ้ งการ เชน่ การฝากในรปู บญั ชอี อมทรพั ยก์ บั ธนาคารพาณชิ ยท์ ค่ี ณุ มคี วามมน่ั ใจ 2. เงินประกันชีวิต ประกันอุบัติภัย ประกันสุขภาพร่างกาย และ ทรพั ยส์ นิ ชวี ติ ไมแ่ นไ่ มน่ อน ทรพั ยส์ นิ และสง่ิ ทเ่ี ราครอบครองหรอื มไี วใ้ ช้ กเ็ ชน่ กนั ดงั นน้ั กอ่ นนำเงนิ มาลงทนุ ในหลกั ทรพั ย์ คณุ ควรจดั ทำประกนั ชวี ติ ประกนั อบุ ตั เิ หตุ ประกนั สขุ ภาพ ประกนั ภยั ประกนั รถยนต์ หรอื อน่ื ๆ ทง้ั แกต่ วั คณุ เองและสมาชกิ ในครอบครวั ใหเ้ รยี บรอ้ ยเสยี กอ่ น การ ลงทุนในทรัพย์สินนอกกายไม่ถือเป็นหลักประกันที่มีความมั่นคงต่อชีวิต และร่างกายของคุณและคนที่คุณรัก 3. เงินสำหรับแผนการในอนาคต เป็นเงินออมอีกส่วนหนึ่งที่คุณ ควรมีไว้สำหรับแผนการในอนาคตของคุณเอง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความคิด ความหวงั สถานการณ์ และความจำเปน็ ของคณุ แผนการในอนาคตอาจ 6 0 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

หมายถึง การศึกษาของคุณเอง การศึกษาของบุตร การมีบ้านหลังใหม่ใน อกี สามปขี า้ งหนา้ การตอ่ เตมิ บา้ น การมเี ครอ่ื งอำนวยความสะดวกบางอยา่ ง เพม่ิ ขน้ึ ฯลฯ หากคณุ มแี ผนการทช่ี ดั เจนเหลา่ นอ้ี ยใู่ นใจ กค็ วรจะวางแผน เกบ็ เงนิ เพอ่ื แผนการนน้ั ๆ ใหเ้ รยี บรอ้ ยเสยี กอ่ น ไมค่ วรคดิ วา่ จะใชเ้ งนิ ทไ่ี ด้ จากการลงทุนในหลักทรัพย์มาใช้เพื่อแผนการในอนาคตเหล่านั้น เมื่อคุณได้เตรียมความพร้อมในเรื่องพื้นฐานของชีวิตเรียบร้อย แล้ว ต่อไปคุณก็สามารถก้าวเข้ามาลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ได้อย่าง สบายใจ มั่นใจ ปลอดโปร่ง แจ่มใส สุขุมรอบคอบมากขึ้น เพราะไม่ต้อง เครยี ดหรอื เปน็ กงั วลกบั เรอ่ื งอน่ื ๆ ในชวี ติ รเู้ ขา รเู้ รา แตก่ อ่ นอน่ื ตอ้ งรเู้ ราเสยี กอ่ น คณุ คงเคยไดย้ นิ คำกลา่ วทว่ี า่ “รเู้ ขา รเู้ รา รบรอ้ ยครง้ั ชนะรอ้ ยครง้ั ” คำกล่าวนี้มาจากตำราพิชัยสงครามของซุนวู ที่มีมาแต่โบราณ และยังคง เปน็ จรงิ มาจนบดั น้ี ไมเ่ ฉพาะในเรอ่ื งสงคราม แตแ่ ทบทกุ เรอ่ื งในชวี ติ ของ คนเรา รวมทง้ั การลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ยด์ ว้ ย แตก่ อ่ นทเ่ี ราจะรเู้ ขา หรอื รู้ใครได้ อย่างแรกที่สุดเราต้องเริ่มจาก “รู้เรา” เสียก่อน เมื่อ “รู้เรา” จน ชดั เจนแลว้ การทจ่ี ะไป “รเู้ ขา” กง็ า่ ยขน้ึ อย่างแรก คุณจะต้องถามตัวเองก่อนว่า คุณต้องการลงทุนใน หลกั ทรพั ยเ์ พอ่ื ผลตอบแทนแบบไหน เมอ่ื ไร เทา่ ไร ซง่ึ เทา่ กบั เปน็ การวาง เป้าหมายที่ชัดเจนของคุณไว้ โดยคำนึงถึงรายได้และเงินออมของคุณ เองตรงนแ้ี หละ ทจ่ี ะทำใหค้ ณุ ไมเ่ ปน็ พวก “แมลงเมา่ บนิ เขา้ กองไฟ” อยา่ ง ท่เี ขามักเปรียบเปรยถงึ ผ้ลู งทุนในตลาดหลกั ทรัพย์ทล่ี งทุนตามสถานการณ์ เต้นไปตามข่าวลือ โดยไม่คิดถึงศักยภาพความพร้อมและความต้องการ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 61

ของตนเอง หากคณุ มเี ปา้ หมายทช่ี ดั เจน รวู้ า่ ตนเองมคี วามพรอ้ มทจ่ี ะลงทนุ ได้เท่าไร และต้องการผลตอบแทนมากน้อยเพียงใด เมื่อใด คุณจะมี หลักการพื้นฐานที่แจ่มชัด อยา่ งทส่ี อง คณุ ตอ้ งรจู้ กั ประเมนิ ตวั เองวา่ จะมเี วลาใหก้ บั การลงทนุ ในหลักทรัพย์มากน้อยเพียงใด หากมีเวลามาก คุณอาจติดตามการขึ้นลง ของราคาและการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ได้อย่างเต็มที่ ตัดสินใจซื้อขายได้ บอ่ ยครง้ั แตถ่ า้ คณุ มเี วลานอ้ ย คณุ คงตอ้ งมงุ่ ไปทก่ี ารลงทนุ ในสว่ นทม่ี กี าร เปลย่ี นแปลงไมม่ ากนกั และมงุ่ ผลตอบแทนในระยะยาวมากกวา่ ระยะสน้ั อย่างที่สาม คุณต้องตอบตัวเองให้ได้ว่าพร้อมที่จะเสี่ยงได้อย่าง “สบายใจ” มากน้อยแค่ไหน การที่จะตอบคำถามข้อนี้ได้ คุณต้องเริ่มที่ ความพรอ้ มของคณุ กอ่ น จากนน้ั ประเมนิ ตวั เองวา่ พรอ้ มทจ่ี ะเสย่ี งในปรมิ าณ เงินมากน้อยเพียงใด ภายในระยะเวลาเท่าใด อายุ ฐานะทางการงาน และ ครอบครวั มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งอยบู่ า้ งพอสมควร เพราะถา้ คณุ อายยุ งั นอ้ ย ความ รบั ผดิ ชอบไมม่ าก คณุ อาจจะเสย่ี งไดม้ าก โดยอาศยั การลงทนุ ซอ้ื ขายอยา่ ง 62 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

รวดเรว็ ในระยะสน้ั แตห่ ากคณุ มอี ายพุ อสมควรแลว้ และตอ้ งการลงทนุ เพอ่ื ผลตอบแทนเมื่อเกษียณอายุ ตรงนี้คุณอาจต้องเลือกแผนการลงทุนที่มี ความเสย่ี งนอ้ ย แตไ่ ดร้ บั ผลตอบแทนคอ่ นขา้ งแนน่ อนและตอ่ เนอ่ื ง ที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าการรู้จักตัวเองก็คือ คุณจะต้องให้ โบรกเกอร์หรือเจ้าหน้าที่ของโบรกเกอร์ที่คุณเป็นลูกค้าด้วยนั้นทราบถึง เป้าหมายและความคาดหวังของคุณด้วย การบอกเล่าให้เจ้าหน้าที่ของ โบรกเกอร์เข้าใจในเรื่องนี้ จะทำให้เขาสามารถให้คำแนะนำและบริการที่ เหมาะสมเพอ่ื ใหค้ ณุ ไดร้ บั ประโยชนแ์ ละผลตอบแทนในแบบทค่ี ณุ ตอ้ งการ มากทส่ี ดุ ผลตอบแทน การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ ครึ่งหนึ่งเป็นเรื่องของเงิน อีก ครง่ึ หนง่ึ เปน็ เรอ่ื งของเวลา ทก่ี ลา่ วเชน่ นเ้ี พราะในการลงทนุ แตล่ ะครง้ั คณุ ตอ้ งคำนงึ อยเู่ สมอวา่ จะไดร้ บั ผลตอบแทนเทา่ ไร ในชว่ งระยะเวลาใด การลงทนุ ทป่ี ระสบผลสำเรจ็ คอื การทค่ี ณุ ไดร้ บั ผลตอบแทนตาม ทต่ี ง้ั ความหวงั ไว้ ในเวลาทค่ี ณุ ตอ้ งการ และการลงทนุ จะประสบความสำเรจ็ ได้ ตอ้ งมาจากเปา้ หมายทเ่ี หมาะสม สมเหตสุ มผล ไมม่ ากไมน่ อ้ ยเกนิ ไป เชน่ ถ้าต้องการลงทุนเพื่อให้ได้ผลตอบแทนขนาดซื้อคฤหาสน์ราคา 20 ล้าน ไดภ้ ายในสองปี ทง้ั ๆ ทม่ี เี งนิ ลงทนุ เรม่ิ ตน้ เพยี ง 2 ลา้ นบาท อยา่ งนถ้ี อื วา่ ไมส่ มเหตสุ มผล แตถ่ า้ ดว้ ยเงนิ จำนวนเดยี วกนั คณุ ตง้ั เปา้ หมายไวว้ า่ จะตอ้ ง ได้ผลตอบแทนอีกหนึ่งเท่าตัวภายในเวลา 20 ปี อย่างนี้เรียกว่าความ คาดหมายตำ่ เกนิ ไป เพราะเทา่ กบั วา่ คณุ ตอ้ งการผลตอบแทนเฉลย่ี ไมถ่ งึ 5% ต่อปี ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 63

นอกจากนี้ ในการคำนวณผลตอบแทนจากการลงทุน คุณยังต้อง คำนงึ ดว้ ยวา่ เงนิ ทค่ี ณุ มอี ยหู่ รอื ลงทนุ ไปไมไ่ ดม้ คี า่ คงท่ี สว่ นใหญเ่ งนิ จะมคี า่ ลดน้อยลง หรือที่เรียกว่า “เงินเฟ้อ” นั่นเอง อัตราเงินเฟ้ออาจอยู่ที่ระดับ 2 – 4% ต่อปีหรืออาจมากกว่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยามเกิดวิกฤติ เศรษฐกจิ การตง้ั เปา้ หมายและการคำนวณผลการลงทนุ คณุ ตอ้ งคดิ หกั ลบ เผื่ออัตราเงินเฟ้อที่จะเกิดขึ้นด้วย ดังนั้น หากคุณได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนในระดับ 12% ตอ่ ปี ในขณะทอ่ี ตั ราเงนิ เฟอ้ ขน้ึ สงู ถงึ 4% ตอ่ ปใี นชว่ งเดยี วกนั กเ็ ปน็ อนั วา่ คุณได้รับผลตอบแทนจริงๆเพียง 8% เท่านั้น และเป็น 8% ที่จะต้อง ถูกนำไปคำนวณในภาษีเงินได้ของคุณเสียด้วย (โปรดดูรายละเอียดเรื่อง ภาษีในบทแรกและภาคผนวก) ในยามปกติ ผลู้ งทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ยค์ วรคาดหวงั ผลตอบแทน ไวท้ ร่ี ะดบั 12-15% ตอ่ ปี หากทำไดก้ ถ็ อื วา่ ประสบความสำเรจ็ พอสมควร ทเี ดยี ว คณุ อาจจะสงสยั วา่ ถา้ ไดผ้ ลตอบแทนประมาณน้ี สนู้ ำเงนิ จำนวน เดยี วกนั ไปปลอ่ ยกนู้ อกระบบไมด่ กี วา่ หรอื คำตอบกค็ อื คณุ คงตอ้ งคำนงึ ถงึ ความเสย่ี งทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ดว้ ยวา่ มากหรอื นอ้ ยกวา่ การลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ หากคุณยังสงสัยต่อไปว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำกับสถาบันการเงิน อาจใหผ้ ลตอบแทนตำ่ กวา่ นไ้ี มม่ ากนกั แตด่ เู หมอื นจะมคี วามมน่ั คงมากกวา่ คำตอบก็คือ คุณคงเห็นแล้วว่าสถาบันการเงินที่ใช้อัตราดอกเบี้ยเป็น เครอ่ื งมอื ในการบรหิ ารงานนน้ั ตง้ั อยบู่ นรากฐานทง่ี อ่ นแงน่ เพยี งใด แต่ถ้าคุณตั้งเป้าหมายอัตราผลตอบแทนที่สูงกว่านี้ คุณคงต้อง เตรียมตัวเตรียมใจทำการบ้านและหาข้อมูลมากหน่อย และทำใจยอมรับ ความเสี่ยงที่จะมีมากขึ้นตามมา คุณอาจเคยได้ยินว่ามีผู้ลงทุนบางคนได้รับ 64 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

ผลตอบแทนในอตั ราสงู หลายรอ้ ยเปอรเ์ ซนต์ เราขอบอกวา่ ตวั เลขดงั กลา่ ว เปน็ ขอ้ ยกเวน้ ซง่ึ มไิ ดเ้ กดิ ขน้ึ กบั ผลู้ งทนุ ทกุ คน หรอื ไมก่ เ็ ปน็ ตวั เลขยกเมฆ โดยทว่ั ไปผลตอบแทนในระดบั 30% ตอ่ ปี กน็ บั วา่ เปน็ สง่ิ มหศั จรรยแ์ ลว้ ในบรรดาผลตอบแทนที่เกิดจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ มสี ง่ิ ทค่ี ณุ ควรคำนงึ ถงึ อยสู่ ามประการคอื รายได้ มลู คา่ เพม่ิ ของทนุ และ ความมน่ั คง รายได้ (Income) คือ ผลตอบแทนในรูปตัวเงินที่มีลักษณะสม่ำ เสมอ ในระยะเวลาทแ่ี นน่ อน ไดแ้ ก่ ผลกำไรตอ่ หนุ้ จากการประกอบการใน แตล่ ะชว่ ง ดอกเบย้ี ทจ่ี ะไดร้ บั จากการซอ้ื พนั ธบตั รหรอื หนุ้ กตู้ า่ ง ๆ เปน็ ตน้ มูลค่าเพิ่มของทุน (Capital Appreciation) หมายถงึ การเตบิ โต ของมูลค่าการลงทุนตามระยะเวลาจากเมื่อแรกที่คุณลงทุน หุ้นสามัญใน กิจการที่กำลังเติบโตรุ่งเรืองจะให้ผลตอบแทนในลักษณะนี้ได้ค่อนข้างสูง และผลตอบแทนที่คุณได้รับ ก็คือ ส่วนต่างหรือกำไรจากการขายหุ้น นั้นออกไปนั่นเอง หุ้นสามัญยัง อาจให้ผลตอบแทนแบบเดียวกับ รายไดใ้ นรปู ของเงนิ ปนั ผล แตท่ ง้ั น้ี อาจมีความไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับ นโยบายการดำเนินงาน และสภาวะการ ลงทุนของกิจการแต่ละประเภท ความมั่นคง (Safety) ในการลงทุน ทุกประเภท ผู้ลงทุนจะต้องคำนึงเสมอว่า มคี วามไมแ่ นน่ อนประกอบอยดู่ ว้ ยเสมอ ดว้ ยเหตนุ ้ี ผลตอบแทนทค่ี ณุ ไดร้ บั ไมว่ า่ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 65

จะอยใู่ นรปู แบบใด คณุ ควรเผอ่ื ทว่ี า่ งสำหรบั ความไมแ่ นน่ อนนไ้ี วด้ ว้ ย เรื่องนี้ทำให้เราต้องกล่าวถึง ประเด็นใหญ่ประเด็นหนึ่งของการ ลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ นน่ั คอื – ความเสย่ี ง ไมม่ อี ะไรเสย่ี งมากเทา่ กบั การไมเ่ ขา้ ใจความเสย่ี ง ดงั ทก่ี ลา่ วในบทแรกของหนงั สอื เลม่ นว้ี า่ การลงทนุ ในหลกั ทรพั ย์ เป็นรูปแบบหนึ่งของการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูง แต่ก็มีความเสี่ยง รวมอยดู่ ว้ ย หลกั งา่ ย ๆ ของความเสย่ี งมอี ยวู่ า่ “High Risk, High Return” นน่ั คอื ยง่ิ หวงั ผลตอบแทนสงู ความเสย่ี งกส็ งู ตามไปดว้ ย คุณเท่านั้นที่จะเป็นผู้บอกว่าผลตอบแทนขนาดไหนเรียกว่าสูง และความเสี่ยงที่คุณสามารถยอมรับได้อยู่ที่ระดับไหน เมื่อพูดถึงจุดนี้ เราคงต้องย้อนกลับไปเน้นที่จุดเริ่มต้นของการตัดสินใจลงทุน นั่นคือ เป้าหมายของการลงทุนว่าคุณต้องการผลตอบแทนมากน้อยเพียงใด และรับความเสี่ยงได้มากน้อยแค่ไหน เพราะหากขาดเป้าหมายแล้ว คุณ จะไมม่ ที างรไู้ ดเ้ ลยวา่ การลงทนุ ของคณุ ประสบความสำเรจ็ หรอื ไม่ การประเมินความเสี่ยงเป็นเรื่องสลับซับซ้อน เนื่องจากมีปัจจัย ที่เกี่ยวข้องมากมายแตกต่างกันไปตามการลงทุนแต่ละประเภทหรือ หลักทรัพย์แต่ละแบบ ผู้ลงทุนต้องทำความเข้าใจและวิเคราะห์หลายแง่ หลายชั้น เราขอยกตัวอย่างเรื่องความเสี่ยงและความไม่แน่นอนเรื่อง ผลตอบแทนมาใหท้ า่ นลองคดิ ดงั น้ี • ไมแ่ นน่ กั ทก่ี ารลงทนุ ทด่ี เู หมอื นมน่ั คงปลอดภยั จะตอ้ งจบลง ดว้ ยผลตอบแทนตามทค่ี าดหวงั ไวเ้ สมอไป ตวั อยา่ งเชน่ คณุ อาจ เลอื กลงทนุ ในพนั ธบตั รหรอื หลกั ทรพั ยข์ องกจิ การทม่ี คี วาม 66 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

มน่ั คง แตใ่ หผ้ ลตอบแทนคอ่ นขา้ งนอ้ ย โดยเชอ่ื วา่ ในทส่ี ดุ เมอ่ื คดิ รวม ๆ แลว้ จะใหผ้ ลตอบแทนพอสมควร แตค่ วามเปน็ จรงิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ขณะน้ี กบ็ อกเราวา่ เหตกุ ารณใ์ นระยะยาวหา้ ปี สบิ ปี หรอื ยส่ี บิ ปี อาจทำใหผ้ ลตอบแทนทว่ี า่ นน้ั แทบไมม่ คี วามหมายเลยกไ็ ด้ ยง่ิ ในยคุ ทเ่ี ศรษฐกจิ ผนั แปรไดง้ า่ ยเชน่ ทกุ วนั น้ี และหากรวม อตั ราเงนิ เฟอ้ เขา้ ไปคดิ คำนวณดว้ ยแลว้ ผลตอบแทนทไ่ี ดก้ เ็ กอื บ “ถกู กนิ ” เสยี หมดเลยทเี ดยี ว • การลงทนุ ทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ในขณะน้ี อาจทำใหด้ เู หมอื นหมดเงนิ ไปไดใ้ นชว่ั ขา้ มวนั ขา้ มคนื แตใ่ นระยะยาว การลงทนุ นน้ั อาจให้ ผลตอบแทนเฉลย่ี คอ่ นขา้ งสงู กเ็ ปน็ ได้ เชน่ หากคณุ ลงทนุ ใน หนุ้ สามญั ของกจิ การบางประเภททป่ี ระสบผลขาดทนุ ใน ชว่ งหนง่ึ แตใ่ นระยะเวลาสามสป่ี หี ลงั จากนน้ั กจิ การนน้ั อาจ ฟื้นตัวและให้ผลตอบแทนแก่คุณได้มากพอสมควรเลยทีเดียว • มหี นุ้ หรอื หลกั ทรพั ยป์ ระเภทหนง่ึ ทเ่ี รยี กกนั วา่ “บลชู ปิ ” (Blue Chip) ไดแ้ ก่ หนุ้ ของกจิ การทค่ี าดกนั วา่ จะเตบิ โตหรอื ทำกำไร อยา่ งสมำ่ เสมอ แมผ้ ลตอบแทนจะไมม่ ากเทา่ กบั หนุ้ ทม่ี คี วาม เสย่ี งสงู อน่ื ๆ ประเดน็ นก้ี ม็ คี วามไมแ่ นน่ อนเชน่ กนั เพราะมหี นุ้ บลชู ปิ จำนวนไมน่ อ้ ยทม่ี อี ตั ราการเตบิ โตสมำ่ เสมอในชว่ งหา้ ปี หรอื สบิ ปแี รก แตร่ าคากลบั ตกฮวบฮาบในชว่ งตอ่ มา ซง่ึ อาจมี สาเหตมุ าจากการเปลย่ี นแปลงทางธรุ กจิ หรอื การเปลย่ี นตวั ผบู้ รหิ าร ไปจนถงึ การบรหิ ารงานทผ่ี ดิ พลาด ด้วยเหตุนี้ ไม่ว่าคุณจะเลือกลงทุนในหลักทรัพย์อะไร สิ่ง สำคัญที่สุด คือ คุณต้องไม่ประมาท หรือทึกทักเอาว่าการลงทุนนั้นจะให้ ผลตอบแทนแน่นอนตายตัว หรือไม่มีความเสี่ยงแฝงอยู่เลย ทุกครั้งที่ คดิ จะลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ คณุ ตอ้ งถามตวั เองทกุ ครง้ั วา่ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 67

1. “หากเสย่ี งลงทนุ ไป เราจะไดห้ รอื เสยี มากนอ้ ยแคไ่ หน” และ 2. “หากเสี่ยงแล้วพลาด เราจะต้องสูญเสียอะไรบ้าง” ยง่ิ ถา้ การลงทนุ มคี วามเสย่ี งมาก ๆ แลว้ คณุ ยง่ิ ตอ้ งตอบคำถามใน ข้อที่สองให้ชัดเจนยิ่งขึ้น และชั่งใจให้จงดีก่อนตัดสินใจ เช่น ถ้าผลลัพธ์ ของการสญู เสยี หมายถงึ การสญู เสยี เงนิ ลงทนุ ทม่ี อี ยไู่ ปกวา่ ครง่ึ คณุ อาจตอ้ ง ทบทวนยทุ ธศาสตรก์ ารลงทนุ ของคณุ เสยี ใหม่ คำถามข้อแรก เป็นการถามเพื่อประเมินอัตราความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับ “ตัวเลข” เงินลงทุนและผลตอบแทนเฉพาะกรณี แต่คำถาม ทส่ี องเปน็ คำถามทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปจั จยั และสภาพแวดลอ้ มอน่ื ๆ ในชวี ติ คณุ ทอ่ี ยนู่ อกเหนอื การลงทนุ ในกรณนี น้ั ๆ คณุ เปน็ คนกลา้ ไดก้ ลา้ เสยี แคไ่ หน นอกเหนือจากการประเมินกำลังเงิน และความพร้อมด้านต่าง ๆ แลว้ ผลู้ งทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ยย์ งั ตอ้ งรจู้ ติ วทิ ยาของตวั เองดว้ ยวา่ ตนเปน็ คนประเภทไหน กลา้ ไดก้ ลา้ เสยี เพยี งใด เรม่ิ ตน้ ดว้ ยการยอ้ นดปู ระสบการณ์ ที่ผ่านมาในชีวิตของคุณเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องงาน และการเงิน บางคนอาจกล้าขับรถด้วยความเร็วสูง แต่ไม่กล้าตัดสินใจเรื่องการเงินเลย กไ็ ด้ หากทผ่ี า่ นมาคณุ กลา้ เปลย่ี นงานบอ่ ย ๆ โดยไมต่ อ้ งชง่ั ใจวา่ จะไดร้ บั ผลตอบแทนคมุ้ กบั ทอ่ี อกจากงานเกา่ หรอื เปลา่ คณุ กม็ แี นวโนม้ ทจ่ี ะยอมรบั ความเสี่ยงได้สูง แต่ถ้าคุณเป็นคนที่จะตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อสักตัว ต้อง คดิ หนา้ คดิ หลงั สอบถามราคาจากรา้ นคา้ อยา่ งนอ้ ย 3-4 รา้ นเปน็ อยา่ งนอ้ ย ก็แสดงว่าคุณค่อนข้างจะระมัดระวังในเรื่องเงินทองสูงมากทีเดียว เรื่อง แบบนน้ี อกจากตวั คณุ เองแลว้ คนใกลช้ ดิ อาจชว่ ยออกความเหน็ ดว้ ยกไ็ ดว้ า่ คุณเป็นคนที่ยอมรับความเสี่ยงได้มากน้อยแค่ไหน 68 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

การรู้จักตนเองว่าเป็นคนกล้าเสี่ยงมากน้อยแค่ไหน มีความสำคัญ อย่างยิ่งต่อการเลือกและตัดสินใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ ข้อพึงระวัง สำหรบั คนกลา้ เสย่ี ง กค็ อื คณุ ตอ้ งตง้ั ขดี จำกดั ของความสญู เสยี ทค่ี ณุ สามารถ รบั ไดอ้ ยา่ งชดั เจน มวี ธิ เี ตอื นตวั เองและคดิ ทบทวนอยา่ งสมำ่ เสมอ ในทาง ตรงข้าม หากคุณเป็นคนช่างวิตกกังวล จะลงทุนอะไรสักอย่าง ต้องคิด ทบทวนหลายรอบ สงวนท่าทีอยู่เป็นเวลานาน คุณสมบัติข้อนี้ในแง่ดีคือ ทำใหค้ ณุ เปน็ คนไมป่ ระมาท แตผ่ ลเสยี กค็ อื คณุ อาจเสยี โอกาสหรอื ไมเ่ ปดิ โอกาสให้ตัวเองมีทางเลือกในการลงทุนแบบใหม่ ๆ ผู้ที่เสี่ยงเกินกำลัง และผู้ที่ระมัดระวังเกินเหตุ มักจะไม่ได้ตั้งเพดานหรือขีดจำกัดความเสี่ยง หรือการสูญเสียในการลงทุนไว้ ทำให้การควบคุมการตัดสินใจและการ กำหนดทางเลือกในการลงทุนไม่ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้และทั้งนั้น คุณเป็นคนเดียวที่จะรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ และเปน็ ผรู้ บั ผลลพั ธแ์ หง่ การตดั สนิ ใจนน้ั นอกจากน้ี ชวี ติ คณุ ยงั มอี กี หลาย ด้านที่ต้องคำนึงถึง อย่าให้การลงทุนมาเป็นต้นเหตุทำให้คุณต้องเป็นโรค กระเพาะ หรอื เปน็ โรคนอนไมห่ ลบั เปน็ อนั ขาด การบรหิ ารพอรต์ การลงทนุ ผู้ลงทุนทุกคนต้องรู้จักกับคำว่า “การบริหารพอร์ตการลงทุน” หรือที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า “Portfolio Management” ฟังดูอาจเข้าใจ ยาก แต่แท้ที่จริงแล้วการบริหารพอร์ตการลงทุนมีหลักการพื้นฐานง่าย ๆ เพียงไม่กี่ประการ ถ้าเปรียบว่าการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ เหมือนการปลูก สวนหย่อมสักแปลง คุณคงไม่ต้องการให้สวนหย่อมของคุณมีพืชพันธุ์ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 69

อย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว น่าจะมีทั้งไม้ดอก ไม้ผล ให้ดูและ รบั ประทานไดอ้ ยา่ งหลากหลาย สวนทม่ี กี ารปลกู พชื พนั ธผ์ุ สมผสานอยา่ ง เหมาะสม ย่อมมีโอกาสเจริญงอกงามมากกว่าสวนที่มีแต่พืชพันธุ์อย่างใด อย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ก็อาศัยหลักการนี้เช่นเดียวกัน การบรหิ ารพอรต์ การลงทนุ ทด่ี ตี อ้ งมคี วามผสมผสานเพอ่ื กระจายความเสย่ี ง มีความหลากหลายในเรื่องผลตอบแทน และคงทนต่อความเปลี่ยนแปลง ของสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น ปริมาณการลงทุน ประเภทหลักทรัพย์ที่ คุณเลือกซื้อ อัตราผลตอบแทนในรูปแบบของรายได้ หรือเงินปันผล ตลอดจนระยะเวลาที่คุณลงทุนในหลักทรัพย์แต่ละประเภท เป็นปัจจัย ที่คุณควรคำนึงถึงทุกครั้งที่ต้องตัดสินใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ โดย ตอ้ งเขา้ ใจในความพรอ้ มของตนเอง ศกึ ษาขอ้ มลู เปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง ของผลตอบแทน ประเมินความเสี่ยงของการลงทุนหลาย ๆ แบบ หรือ หลกั ทรพั ยห์ ลาย ๆ ตวั กอ่ นตดั สนิ ใจลงทนุ พอรต์ การลงทนุ ทด่ี ี ควรมลี กั ษณะพน้ื ฐานดงั ตอ่ ไปน้ี • ตอ้ งกระจายความเสย่ี งอยา่ งมสี มดลุ ย์ ไมค่ วรทมุ่ เงนิ ของคณุ เพอ่ื การ ลงทนุ รปู แบบใดรปู แบบหนง่ึ หรอื หลกั ทรพั ยต์ วั ใดตวั หนง่ึ ทง้ั หมด เป็นอันขาด 70 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

•ไมค่ วรหลากหลายหรอื กระจดั กระจายมากเกนิ ไป จนมลี กั ษณะ เปน็ “เบย้ี หวั แตก” ยากแกก่ ารตดิ ตามดแู ล และอาจทำใหค้ ณุ เสยี คา่ บรกิ ารมากเกนิ จำเปน็ การลงทนุ ในหลกั ทรพั ยใ์ นแตล่ ะชว่ งไมค่ วร เกนิ กวา่ 6-12 หลกั ทรพั ย์ •ควรมสี ดั สว่ นเหมาะสมกบั เปา้ หมายการลงทนุ ของคณุ โดยมสี มดลุ ย์ ระหวา่ งการลงทนุ ทห่ี ลกั ทรพั ยท์ ม่ี คี วามเสย่ี งนอ้ ย และใหผ้ ลตอบ แทนคอ่ นขา้ งแนน่ อน กบั การลงทนุ ทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ในระดบั ทค่ี ณุ ยอมรบั ได้ ซง่ึ อาจใหผ้ ลตอบแทนไมแ่ นน่ อน แตเ่ วลาไดผ้ ลตอบ แทนกไ็ ดอ้ ยา่ งเปน็ กอบเปน็ กำ สดั สว่ นทเ่ี หมาะสมนค้ี ณุ เทา่ นน้ั ที่จะเป็นคนบอกได้ •ควรมคี วามยดื หยนุ่ ในระดบั หนง่ึ นน่ั คอื คณุ สามารถเปลย่ี นแผน การลงทุนได้ เมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปหรือเมื่อต้องการ กระบวนการบรหิ ารพอรต์ การลงทนุ ทด่ี ี ตอ้ งประกอบดว้ ยการหมน่ั ตดิ ตามประเมนิ และทบทวนแผนการลงทนุ อยา่ งสมำ่ เสมอตามสถานการณ์ แบบเดยี วกบั ทค่ี ณุ ตอ้ งหมน่ั รดนำ้ พรวนดนิ เสรมิ ปยุ๋ หรอื เปลย่ี นพชื พนั ธ์ุ ในสวนหยอ่ มใหเ้ หมาะสมอยเู่ สมอ นอกเหนือจากการวางแผนและลงทุนจริงแล้ว คุณอาจสร้างพอร์ต การลงทนุ จำลอง หรอื Hypothetical Portfolio ขน้ึ มากอ่ น และลองตดิ ตาม ผลลัพธ์สักระยะหนึ่ง ประมาณ 2-3 สัปดาห์ ก่อนตัดสินใจปรับเปลี่ยน พอร์ตการลงทุนจริงของคุณก็ได้ บนั ทกึ หลกั ฐาน และเอกสาร เพอ่ื ประโยชนข์ องตวั คณุ ก่อนเริ่มลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ คุณควรตระเตรียมเครื่องไม้ เครอ่ื งมอื และทท่ี างสำหรบั การลงทนุ ใหเ้ รยี บรอ้ ย ซง่ึ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ คณุ จะตอ้ งหาหอ้ งหบั พเิ ศษ หรอื จดั หาซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอรม์ าไวป้ ระจำตวั ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 71

สิ่งที่เรากำลังพูดถึงก็คือ การรู้จักจดบันทึก เก็บข้อมูล และรักษา หลักฐานการลงทุน ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้เป็นระเบียบ ไม่สูญหาย พร้อมที่จะหยิบขึ้นมาใช้ได้ทุกเมื่อ แม้ว่าคุณจะมีผู้ช่วย คือ โบรกเกอร์ที่คอยให้บริการคุณอยู่แล้วก็ตาม คุณต้องสามารถบอกได้ว่า อะไรอยทู่ ไ่ี หน คณุ สง่ั ซอ้ื อะไรไป เมอ่ื ไร สง่ั ขายอะไรไปจำนวนเทา่ ใด หรอื ขณะทค่ี ณุ ลงทนุ ซอ้ื หนุ้ ตวั ใดตวั หนง่ึ คณุ ตง้ั ใจจะถอื มนั ไวน้ านเทา่ ใด ขอ้ มลู เหลา่ น้ี ไมม่ ใี ครตดิ ตามใหค้ ณุ ไดด้ เี ทา่ กบั ตวั คณุ เอง เงนิ ของ คณุ การลงทนุ ของคณุ หลกั ฐานของคณุ เอกสารของคณุ ขอ้ มลู ของคณุ คณุ เทา่ นน้ั ทจ่ี ะตดิ ตามตรวจสอบไดด้ ที ส่ี ดุ และคณุ อกี นน่ั แหละทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชน์มากที่สุดจากการบันทึกข้อมูล และการเก็บรักษาหลักฐาน เอกสารตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี คำแนะนำเบอ้ื งตน้ บางประการ ไม่มีสูตรสำเร็จสำหรับการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ เพราะ ถา้ มจี รงิ ผทู้ ค่ี น้ พบหรอื รจู้ รงิ กค็ งไมอ่ ยากบอกใคร เพราะการบอกใหค้ นอน่ื รู้ จะทำให้คนเหล่านั้นเปลี่ยนพฤติกรรมมาลงทุนในแบบที่เขาเป็นอยู่ ซึ่ง จะทำให้สูตรสำเร็จนั้นไม่มีความหมายไปโดยปริยาย คำกล่าวที่ว่า “ผรู้ ไู้ มพ่ ดู ผพู้ ดู ไมร่ ”ู้ จงึ ใชไ้ ดด้ สี ำหรบั การลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ นอก จากนี้สิ่งที่เกิดขึ้นในตลาดหลักทรัพย์ เป็นผลจากการตัดสินใจและการ กระทำของผู้ลงทุนแต่ละคนที่เข้ามาลงทุน ซึ่งมีเป้าหมาย ความคาดหวัง วิธีการลงทุน ทัศนคติต่อความเสี่ยง และจิตวิทยาเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนกัน วิธีการและแผนการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ที่เหมาะกับผู้ลงทุนรายหนึ่ง อาจไม่เหมาะกับผู้ลงทุนรายอื่น ๆ ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ทั้งนี้ยัง ไม่รวมถึงข้อเท็จจริงที่ว่าสถานการณ์แวดล้อมทางเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกวินาที 72 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

อย่างไรก็ตาม ในบทนี้เราอยากให้ข้อแนะนำเบื้องต้นบางประการ ใหค้ ณุ ทราบเพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ คำแนะนำ เหล่านี้รวบรวมจากประสบการณ์ของผู้ลงทุนชั้นนำหลายท่าน อาจไม่ได้ บอกวา่ คณุ ควรจะซอ้ื หรอื ขายหลกั ทรพั ยอ์ ะไร เมอ่ื ไร อยา่ งไร แตอ่ าจบอก คณุ ไดว้ า่ พฤตกิ รรมการลงทนุ ทม่ี แี นวโนม้ นำคณุ ไปสคู่ วามสำเรจ็ มอี ะไรบา้ ง และอะไรคือพฤติกรรมการลงทุนที่คุณพึงหลีกเลี่ยง ผลู้ งทนุ ทป่ี ระสบความสำเรจ็ มกั จะ 1. ตง้ั เปา้ หมาย กำหนดระยะเวลา แนวทางการลงทนุ และวาง เค้าโครงพอร์ตการลงทุนไว้อย่างชัดเจน 2. เชื่อมั่นในตัวเอง ไม่ใช่เพราะอัตตาแห่งตน แต่เพราะมี คุณสมบัติตามข้อ 1 อย่างครบถ้วน และยึดถือเป็นแนวทางในการลงทุน อยา่ งสมำ่ เสมอ 3. มีความอดทนพอที่จะค้นพบด้วยตัวเองว่าแนวทางการลงทุน ทต่ี นวางไว้ ถกู หรอื ผดิ อยา่ งไร 4. ยอมรับความถูกต้องและความผิดพลาดในการตัดสินใจของ ตนอยา่ งตรงไปตรงมา โดยไมโ่ ยนความผดิ ใหใ้ คร 5. กระตอื รอื รน้ ทจ่ี ะเรยี นรแู้ ละทำความเขา้ ใจสง่ิ ใหม่ และพรอ้ ม ทจ่ี ะปรบั ทศิ ทางการลงทนุ หลงั จากไดไ้ ตรต่ รองอยา่ งรอบคอบแลว้ 6. มเี วลาใหก้ บั การลงทนุ ของตนเพยี งพอ เหมาะสมกบั ลกั ษณะ และวิธีการลงทุนที่ตัวเองเลือกใช้ 7. มี “แผนสอง” ไวร้ องรบั อยเู่ สมอ หากสถานการณไ์ มเ่ ปน็ ไป ตามที่คาดหวังไว้ จะมีแผนที่ชัดเจนว่าควรปรับเปลี่ยนพอร์ตการลงทุน ของตนอย่างไร ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 73

8. รู้จักอารมณ์ความรู้สึก และขีดความกล้าได้กล้าเสียของตน โดยไมป่ ลอ่ ยใหม้ นั เปน็ นาย แตก่ ไ็ มเ่ กบ็ กดมนั ไว้ รจู้ กั เรยี นรแู้ ละใชม้ นั ให้ เกิดประโยชน์ตามสถานการณ์ 9. ละเอียดรอบคอบในการบันทึก ติดตามข้อมูล เก็บรักษา เอกสารและหลกั ฐานตา่ ง ๆ 10. คำนึงถึงการขาดทุน การสูญเสีย ความผิดพลาด อันอาจเกิด จากการตัดสินใจแต่ละครั้งพอ ๆ กับที่เห็นลู่ทางของผลตอบแทนและ ความสำเร็จ และ สง่ิ ทผ่ี ลู้ งทนุ ทด่ี พี งึ หลกี เลย่ี ง ไดแ้ ก่ 1. ไมต่ น่ื ตมู ตามขา่ วลอื แมว้ า่ ในบางครง้ั ขา่ วลอื จะมมี ลู ความ จรงิ อยบู่ า้ งกต็ าม 2. ไมโ่ ออ้ วด หรือเปิดเผยแผนการลงทนุ ของตนใหผ้ ูอ้ ืน่ ทราบ 3. ไม่ฝากการลงทุนของตนให้ใครดูแลตัดสินใจ หรือทำการ แทน (ยกเวน้ ในกรณที ใ่ี หโ้ บรกเกอรห์ รอื บรษิ ทั หลกั ทรพั ยจ์ ดั การกองทนุ รวมช่วยดูแลตามจำนวนเงินลงทุนและระยะเวลาที่ได้ตกลงกันไว้) 4. ไม่นำเอาอคติหรือความพอใจหรือไม่พอใจส่วนตัวใด ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการลงทุนมาประกอบการตัดสินใจ เช่น เลือกถือหุ้น บางตวั ไวเ้ พราะบรษิ ทั นน้ั สนบั สนนุ พรรคการเมอื งทต่ี นชอบ 5. ไมล่ งทนุ แบบ “ทมุ่ สดุ ตวั ” หรอื “เทหมดหนา้ ตกั ” ใหก้ บั การ ลงทนุ ในรปู แบบใดรปู แบบหนง่ึ หรอื การตดั สนิ ใจครง้ั ใดครง้ั หนง่ึ 6. ขวนขวายหาความรู้ และไม่หลงเชื่อสูตรสำเร็จ ไม่ว่าจะมา จากมอื อาชพี นกั เศรษฐศาสตร์ หรอื นกั โหราศาสตรก์ ต็ าม 7. ตอ้ งไมค่ ดิ วา่ การลงทนุ แบบใด หรอื หนุ้ ตวั ใด เปน็ “ของแน”่ โดยเฉพาะในระยะเวลาที่ยาวนานออกไป 74 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

8. ไม่นำผลการลงทุนของตนไปเปรียบเทียบกับผู้อื่นใน ลกั ษณะพสิ จู นค์ วามเกง่ กลา้ 9. ไม่ยึดติดกับรูปแบบ หรือวิธีการลงทุนที่เคยทำให้ตนเอง พลาดพลง้ั หรอื สญู เสยี 10. ไมล่ งทนุ ในสง่ิ ทต่ี วั เองไมเ่ ขา้ ใจ ถา้ ไมเ่ ขา้ ใจ กต็ อ้ งพรอ้ มทจ่ี ะ ยอมรับว่าไม่รู้ และกล้าซักถามจนเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ หากคุณได้อ่านหนังสือเล่มนี้ตั้งแต่ต้นมาจนถึงบรรทัดนี้ ก็ เท่ากับได้ทราบหลักการพื้นฐานในระดับหนึ่ง และมีความเข้าใจเบื้องต้น เพยี งพอสำหรบั กา้ วแรกของคณุ สกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 75

บทสง่ ทา้ ย ○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○ ในทา้ ยทส่ี ดุ เรามคี ตพิ จนใ์ นภาษาละตนิ บทหนง่ึ ซง่ึ ผรู้ แู้ ละผลู้ งทนุ ชน้ั นำในระดบั สากลจำนวนมากยอมรบั และถงึ กบั แนะนำใหเ้ ขยี นตดิ ไวใ้ น ที่เก็บเอกสารหรือที่ทำงานของผู้ลงทุนทั้งหลายว่า Caveat emptor. (Let the buyer beware.) เราอยากปิดท้ายหนังสือเล่มนี้ ด้วยคติพจน์ข้อนี้ซึ่งแปลเป็น ภาษาไทยสำหรับผู้ลงทุนชาวไทยว่า ผลู้ งทนุ ตอ้ งไมป่ ระมาท 76 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

ภาคผนวก ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 77

ข้อมูลเกี่ยวกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย วสิ ยั ทศั น์ 2546 มงุ่ มน่ั สกู่ ารเปน็ ตลาดทนุ ชน้ั แนวหนา้ แหง่ หนง่ึ ในเอเชยี ดว้ ยสนิ คา้ คณุ ภาพทส่ี ะทอ้ นภาพอยา่ งเหมาะสมกบั โครงสรา้ ง เศรษฐกจิ ไทย พรอ้ มดว้ ยเครอ่ื งมอื บรหิ ารความเสย่ี งทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ล ตลอดจนการบังคับใช้กฎระเบียบและการกำกับดูแลกิจการ ในระดับมาตรฐานสากล สถานที่ตั้ง เลขท่ี 62 ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรงุ เทพมหานคร 10110 โทรศพั ท์ 0-2229-2000 หรอื 0-2654-5656 โทรสาร 0-2654-5649 เวบ็ ไซต์ http://www.set.or.th โครงสร้างคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ ประกอบด้วยกรรมการที่คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) แต่งตั้ง จำนวน 5 ท่าน และกรรมการที่บริษัท สมาชกิ เลอื กตง้ั จำนวน 5 ทา่ น และผจู้ ดั การตลาดหลกั ทรพั ยซ์ ง่ึ ไดร้ บั การ แต่งตั้งจากคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ ดำรงตำแหน่งกรรมการโดย ตำแหนง่ จำนวน 1 ทา่ น ลักษณะการดำเนินงาน • เปน็ นติ บิ คุ คลทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ตามพระราชบญั ญตั ติ ลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2517 เปดิ ทำการซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยเ์ ปน็ ครง้ั แรกเมอ่ื วนั ท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2518 78 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

• ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลางการซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ และใหบ้ รกิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยไม่นำผลกำไรมาแบ่งปัน • ปจั จบุ นั ดำเนนิ งานภายใตพ้ ระราชบญั ญตั หิ ลกั ทรพั ยแ์ ละตลาด หลกั ทรพั ย์ พ.ศ. 2535 • การดำเนนิ งานหลกั และบรกิ ารตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การรบั หลกั ทรพั ย์ จดทะเบียน และการดูแลการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทจดทะเบียน การ ซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ การกำกบั ดแู ลและใหบ้ รกิ ารบรษิ ทั สมาชกิ ในสว่ น ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย ตลอดจนการส่งเสริมและเผยแพร่ข้อมูล ใหแ้ กผ่ ลู้ งทนุ ภาระหน้าที่ • เสรมิ สรา้ งการระดมเงนิ ทนุ ระยะยาวของภาคธรุ กจิ เพอ่ื การพฒั นา เศรษฐกิจของประเทศ • จดั ใหม้ รี ะบบการดำเนนิ งานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส และมคี วาม ยตุ ธิ รรม • คมุ้ ครองผลประโยชนข์ องผลู้ งทนุ • สง่ เสรมิ การพฒั นาตลาดทนุ โดยรวมของประเทศ การเข้าร่วมกิจกรรมกับองค์กรระหว่างประเทศ • สมาชกิ ของสมาพนั ธต์ ลาดหลกั ทรพั ยน์ านาชาติ (The World Federation of Exchanges : FIBV) • สมาชกิ สมทบขององคก์ รคณะกรรมการกำกบั หลกั ทรพั ยแ์ ละ ตลาดหลักทรัพย์นานาชาติ (International Organization of Securities Commission (IOSCO) • สมาชกิ ของสหพนั ธต์ ลาดหลกั ทรพั ยภ์ าคพน้ื เอเชยี ตะวนั ออกและ แปซิฟิค (East Asian and Oceanian Stock Exchanges Federation :EAOSEF) ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 79

บรษิ ทั ยอ่ ย • บรษิ ทั ศนู ยร์ บั ฝากหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จำกดั • บรษิ ทั หลกั ทรพั ยจ์ ดั การกองทนุ รวม เพอ่ื ผลู้ งทนุ ตา่ งดา้ ว จำกดั • บรษิ ทั ไทยเอน็ วดี อี าร์ จำกดั • บรษิ ทั เซท็ เทรด ดอท คอม จำกดั ข้อมูลของบริษัทย่อย บรษิ ทั ศนู ยร์ บั ฝากหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จำกดั สถานที่ตั้ง ชน้ั 4 และ 7 อาคารตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย เลขท่ี 62 ถนนรชั ดาภเิ ษก เขตคลองเตย โทรศพั ท์ กรงุ เทพมหานคร 10110 โทรสาร 0-2359-1200-01 เวบ็ ไซต์ 0-2359-1259 http://www.tsd.co.th โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยผู้บริหารที่มาจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บรษิ ทั สมาชกิ และหนว่ ยงานราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อาทิ ธนาคารแหง่ ประเทศ ไทย จำนวนทง้ั สน้ิ 11 ทา่ น 80 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

ลักษณะการดำเนินงาน บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด จัดตั้งโดย ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย เปดิ ดำเนนิ การเมอ่ื วนั ท่ี 1 มกราคม 2538 โดยทำหน้าที่เป็นศูนย์รับฝากหลักทรัพย์และสำนักหักบัญชีเพียงแห่งเดียว ในประเทศไทย โดยใช้ระบบยอดสุทธิในการชำระราคาและส่งมอบ หลกั ทรพั ยส์ ำหรบั หลกั ทรพั ยท์ ซ่ี อ้ื ขายในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์ใหม่ และศูนย์ซื้อขายตราสารหนี้ไทย นอกจากนี้ ยัง ทำหน้าที่เป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ให้แก่บริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรม ตา่ ง ๆ บรษิ ทั หลกั ทรพั ยจ์ ดั การกองทนุ รวม เพอ่ื ผลู้ งทนุ ตา่ งดา้ ว จำกดั สถานทต่ี ง้ั ชน้ั 7 อาคารตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย โทรศัพท์ เลขท่ี 62 ถนนรชั ดาภเิ ษก เขตคลองเตย กรงุ เทพมหานคร 10110 0-2359-1200-01 และโทรสาร 0-2359-1258 ลักษณะการดำเนินงาน บรษิ ทั หลกั ทรพั ยจ์ ดั การกองทนุ รวม เพอ่ื ผลู้ งทนุ ตา่ งดา้ ว จำกดั จดั ตง้ั โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้รับอนุญาตประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ประเภทการจัดการโครงการกองทุนรวม เพื่อผู้ลงทุนซึ่งเป็น คนตา่ งดา้ ว จากสำนกั งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เมอ่ื วนั ท่ี13 กมุ ภาพนั ธ์ 2540 และเรม่ิ ประกอบธรุ กจิ หลกั ทรพั ยต์ ง้ั แตว่ นั ท่ี 2 กรกฎาคม 2540 โดยรปู แบบ การบรหิ ารเปน็ ลกั ษณะกองทนุ เปดิ ซง่ึ แตล่ ะกองทนุ จะลงทนุ ในหลกั ทรพั ย์ ของบริษัทจดทะเบียนบริษัทใดบริษัทหนึ่งเท่านั้น อย่างไรก็ตาม แม้ว่า กองทุนรวมเหล่านี้จะถือครองโดยคนต่างด้าวก็ตาม แต่ก็มีสถานะเป็น นติ บิ คุ คลทม่ี สี ญั ชาตไิ ทย ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 81

บรษิ ทั ไทยเอน็ วดี อี าร์ จำกดั สถานทต่ี ง้ั ชน้ั 7 อาคารตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย โทรศัพท์ เลขท่ี 62 ถนนรชั ดาภเิ ษก เขตคลองเตย กรงุ เทพมหานคร 10110 0-2359-1200-01 และโทรสาร 0-2359-1258 ลักษณะการดำเนินงาน บริษัทจัดตั้งขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มี วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนและส่งเสริมการลงทุน สำหรับผู้ลงทุนชาวต่างประเทศ จะดำเนินการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ บรษิ ทั จดทะเบยี นเมอ่ื ผลู้ งทนุ ตอ้ งการซอ้ื หรอื ขายคนื ตราสารใบแสดงสทิ ธิ ในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงไทย หรือ NVDR ซึ่งจะไม่มี ขอ้ ตดิ ขดั ในเรอ่ื งจำนวนหลกั ทรพั ยท์ ถ่ี อื ครองหรอื สญั ชาตผิ ลู้ งทนุ ทถ่ี อื ตราสาร ดงั กลา่ ว สามารถรบั สทิ ธปิ ระโยชนท์ างการเงนิ ไดเ้ สมอื นลงทนุ โดยตรงใน หลกั ทรพั ยข์ องบรษิ ทั จดทะเบยี นทกุ ประการ ไมว่ า่ จะเปน็ เงนิ ปนั ผล สทิ ธใิ น การจองซอ้ื หนุ้ เพม่ิ ทนุ (Right/TSR) หรอื ใบสำคญั แสดงสทิ ธใิ นการจองซอ้ื หนุ้ สามญั (Warrants) แตไ่ มม่ สี ทิ ธใิ นการออกเสยี งในทป่ี ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ 82 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

บรษิ ทั เซท็ เทรด ดอท คอม จำกดั สถานทต่ี ง้ั ชน้ั 8 อาคารตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย โทรศัพท์ เลขท่ี 62 ถนนรชั ดาภเิ ษก เขตคลองเตย กรงุ เทพมหานคร 10110 0-2229-2084-88 โทรสาร 0-2654-5583 ลักษณะการดำเนินงาน บรษิ ทั เซท็ เทรด ดอท คอม จำกดั จดั ตง้ั ขน้ึ โดยตลาดหลกั ทรพั ย์ แหง่ ประเทศไทย มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารทเ่ี ปน็ ทางเลอื กสำหรบั การ พัฒนาระบบรับส่งคำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านอินเทอร์เน็ตให้แก่ บรษิ ทั สมาชกิ เพอ่ื เปน็ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยและอตั ราเสย่ี งในการลงทนุ โดยรวม ของธรุ กจิ โดยไมต่ อ้ งลงทนุ พฒั นาเครอื ขา่ ยของตนเอง โดยใหบ้ รกิ ารพฒั นา ระบบงานด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบเครือข่าย สื่อสารที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับการซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่บริษัท หลกั ทรพั ยแ์ ละผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง รวมถงึ การใหบ้ รกิ าร ดา้ นเทคโนโลยที ต่ี อ่ เนอ่ื ง เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการซื้อขายหลักทรัพย์ ผ่านอินเทอร์เน็ตหรือ ทางสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 83

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การดำเนนิ งานของตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย • สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นตามพระราช บัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เป็นผู้กำกับดูแล และกำหนดนโยบายพฒั นาตลาดทนุ ทง้ั ระบบ ไดแ้ ก่ การออกหลกั ทรพั ย์ จำหน่ายให้แก่ประชาชนในตลาดแรก ธุรกิจการซื้อขายหลักทรัพย์ใน ตลาดรองและการดำเนนิ งานของตลาดหลกั ทรพั ย์ และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี ว ข้องกับธุรกิจหลักทรัพย์ รวมถึงการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำ กิจการ และการป้องกันการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขาย หลกั ทรพั ย์ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกอบดว้ ย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลงั เปน็ ประธานกรรมการ ผวู้ า่ การธนาคารแหง่ ประเทศไทย ปลดั กระทรวง การคลัง ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เป็นกรรมการ และกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง โดยคำแนะนำของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลงั อกี ไมน่ อ้ ยกวา่ 4 คน แตไ่ มเ่ กนิ 6 คน ในจำนวนนต้ี อ้ ง เปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นกฎหมาย ดา้ นการบญั ชี และดา้ น การเงนิ ดา้ นละ หนง่ึ คน • สมาคมบรษิ ทั จดั การลงทนุ (Association of Investment Management Companies: AIMC) เป็นสมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ตาม พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มีวัตถุ ประสงค์เพื่อเป็นศูนย์รวมของบริษัทหลักทรัพย์ประเภทบริษัทจัดการ ลงทุน ทำหน้าที่ในการสร้างมาตรฐานและพัฒนาการลงทุนและ ตลาดทุนไทย ตลอดจนรักษาผลประโยชน์และอำนวยความสะดวกให้ แกผ่ ลู้ งทนุ ในกองทนุ รวม 84 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

• สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ (Association of Securities Companies: ASCO) เป็นสมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ที่จัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มีวัตถุ ประสงค์เพื่อเป็นศูนย์รวมของบริษัทหลักทรัพย์ทุกประเภท เพื่อส่ง เสริมความร่วมมือระหว่างบริษัทหลักทรัพย์ และให้ความร่วมมือกับ องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุนและ ธรุ กจิ หลกั ทรพั ยข์ องประเทศไทย สมาคมฯ ยงั จดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมดา้ น ธุรกิจหลักทรัพย์แก่บุคลากรของสมาชิกสมาคม และจัดสอบเพื่อ ใหป้ ระกาศนยี บตั รแกเ่ จา้ หนา้ ทก่ี ารตลาดของบรษิ ทั หลกั ทรพั ยอ์ กี ดว้ ย • สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Securities Analysts Association : SAA) เปน็ สมาคมทต่ี ลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย รว่ มกบั สมาคม บริษัทหลักทรัพย์จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 มีวัตถุประสงค์เพื่อ สง่ เสรมิ การศกึ ษาและพฒั นาวชิ าการดา้ นการวเิ คราะหห์ ลกั ทรพั ยแ์ ละ การเงิน ตลอดจนเสริมสร้างมาตรฐานจรรยาบรรณและคุณภาพของ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์เพื่อความก้าวหน้าของตลาดทุนไทย • สมาคมสง่ เสรมิ ผลู้ งทนุ ไทย (Thai Investors Association) จดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายสมาคมเมื่อปีพ.ศ. 2532 มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริม ความรู้ด้านการวิเคราะห์หลักทรัพย์ และเผยแพร่ข่าวสารแก่ผู้ลงทุน ตลอดจนใหค้ วามรว่ มมอื และประสานงานกบั องคก์ รอน่ื ๆ เพอ่ื สง่ เสรมิ การลงทนุ ในหลกั ทรพั ยแ์ ละพฒั นาตลาดทนุ ไทย • สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors Association : IOD) รว่ มจดั ตง้ั โดยตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ธนาคารแห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเพื่อการพัฒนาตลาดทุนไทย และธนาคารโลก มีวัตถุ ประสงค์เพื่อพัฒนาและสนับสนุนบทบาทของกรรมการบริษัทใน ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 85

การบริหารและกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) และเป็นศูนย์กลางให้ความรู้และจัดกิจกรรมฝึกอบรมเพื่อยกระดับ มาตรฐาน และคุณภาพของกรรมการบริษัทในประเทศไทยให้เป็นที่ น่าเชื่อถือแก่นักลงทุนทั้งภายในและต่างประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในหลักทรัพย์ประเภทอื่น • ศนู ยซ์ อ้ื ขายตราสารหนไ้ี ทย (Thai Bond Dealing Center : TBDC) เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาด หลกั ทรพั ย์ พ.ศ. 2535 ดำเนนิ งานภายใตก้ ารกำกบั ดแู ลของสำนกั งาน คณะกรรมการกำกบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ (ก.ล.ต.) ทำหนา้ ท่ี เป็นศูนย์กลางของการซื้อขายตราสารหนี้ และเป็นหน่วยงานสำคัญ ในการพัฒนาตลาดซื้อขายตราสารหนี้ของประเทศไทย ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กจิ การของตลาดหลกั ทรพั ย์ บริษัทไทยหรือนิติบุคคลต่างประเทศที่ลงทุนในหลักทรัพย์ ประเภทต่าง ๆ เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นจะต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตาม หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ประเภท ผลู้ งทนุ ไทย ผลู้ งทนุ ตา่ งชาตทิ ไ่ี มไ่ ด้ เงนิ ได้ ประกอบกิจการในประเทศไทย เงินกำไร ไม่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย แต่ต้องนำเงินกำไร - ถกู หกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยในอตั รา จากการขาย ที่ได้มารวมคำนวณหากำไรสุทธิ เพื่อเสีย รอ้ ยละ 15 เว้นแต่เงินกำไรจาก หลักทรัพย์ ภาษีเงินได้นิติบุคคล การขายหน่วยลงทุนหลักทรัพย์ ของกองทุนรวม ตาม พ.ร.บ. หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ พ.ศ.2535 ไม่ต้องเสียภาษี 86 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

ประเภท ผลู้ งทนุ ไทย ผู้ลงทุนต่างชาติที่ไม่ได้ประกอบ เงนิ ได้ กจิ การในประเทศไทย เงินปันผล ต้องนำเงินปันผลที่ได้รับมารวมเป็นรายได้ - ถกู หกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยในอตั รา เพียงกึ่งหนึ่ง ของจำนวนที่ได้รับ และถูกหัก รอ้ ยละ 10 เวน้ แตถ่ า้ เปน็ เงนิ สว่ น ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยในอตั รารอ้ ยละ 10 และ แบ่งกำไรจากกองทุนรวม ตาม สามารถนำภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายมาเครดิต พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาด ออกจากภาษีที่ต้องเสียได้ ยกเว้นกรณี หลกั ทรพั ย์ พ.ศ.2535 ไมต่ อ้ ง ต่อไปนี้ เสียภาษี ! กรณีเป็นบริษัทจดทะเบียน จะได้รับ ยกเวน้ ไมถ่ กู หกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ย และหาก ไดถ้ อื หนุ้ ไวไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื น กอ่ นและ หลังวันที่มีเงินได้จากเงินปันผล จะได้รับ ยกเว้นไม่ต้องนำเงินปันผลมารวมเป็น รายได้ในการคำนวณหากำไรสุทธิเพื่อ เสียภาษีทั้งจำนวน ! กรณีเป็นบริษัทจำกัดที่ถือหุ้นใน บริษัทจำกัดผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อย กวา่ รอ้ ยละ 25 ของหนุ้ ทง้ั หมดทม่ี ี สิทธิออกเสียง และบริษัทผู้จ่ายเงิน ปันผลมิได้ถือหุ้นในบริษัทผู้รับเงิน ปันผล จะได้รับยกเว้นไม่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย และหากเป็นเงินปันผลที่ได้จาก หนุ้ ทไ่ี ดถ้ อื ไวไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื น กอ่ น และหลังวันที่มีเงินได้จากเงินปันผล จะ ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำเงินปันผลเป็น รายได้ในการคำนวณหากำไรสุทธิเพื่อ เสียภาษีทั้งจำนวน ! กรณีได้รับส่วนแบ่งกำไรจากกองทุน รวม ตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาด หลกั ทรพั ย์ พ.ศ. 2535 จะไมถ่ กู หกั ภาษี ณ ท่จี า่ ย แต่ต้องนำไปรวมคำนวณ เพื่อเสียภาษีเงินได้ แต่ถ้าในกรณี ดังนี้ • กรณีบริษัทจดทะเบียนที่ได้ถือหน่วย ลงทนุ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื น กอ่ นและ หลังวันที่มีเงินส่วนแบ่งกำไร จะได้รับ ยกเว้นไม่ต้องนำส่วนแบ่งกำไรมารวม เป็นรายได้ในการคำนวณหากำไรสุทธิ เพื่อเสียภาษีทั้งจำนวน ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 87

ประเภท ผลู้ งทนุ ไทย ผู้ลงทุนต่างชาติที่ไม่ได้ประกอบ เงนิ ได้ กจิ การในประเทศไทย • กรณีบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ทไ่ี ดถ้ อื หนว่ ยลงทนุ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื น ก่อนและหลังวันที่มีเงินส่วนแบ่งกำไร จะได้รับยกเว้นไม่ต้องนำส่วนแบ่ง กำไรมารวมเป็นรายได้ในการคำนวณ หากำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีกึ่งหนึ่ง ! กรณไี ดร้ บั เงนิ ปนั ผลจากบรษิ ทั ทไ่ี ด้ รับการส่งเสริมการลงทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทนุ หรอื BOI ไมถ่ กู หกั ภาษี ณ ที่จ่าย และได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมา รวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ถกู หกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยรอ้ ยละ 1 และตอ้ งนำ - ถกู หกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยในอตั รา ไปรวมคำนวณกำไรสุทธิ เพื่อเสียภาษี รอ้ ยละ 15 ปลายปีด้วย อากรแสตมป์ คิดตามราคาหุ้นที่ชำระแล้วหรือตามราคา - เหมือนผู้ลงทุนไทย (ตราสาร ในตราสารการโอน แล้วแต่อย่างใดมาก การโอน) กวา่ ในอตั รา 1 บาท สำหรบั ทกุ จำนวน 1,000 บาทหรอื เศษของ 1,000 บาท ยกเว้นกรณีการโอนหลักทรัพย์จดทะเบียน ที่ตลาดหลักทรัพย์หรือบริษัท ศูนย์รับฝาก หลกั ทรพั ย(์ ประเทศไทย) จำกดั เปน็ นายทะเบียนสำหรับการโอนหลักทรัพย์นั้น หมายเหตุ : ในกรณีของผู้ลงทุนที่เป็นนิติบุคคลต่างชาติบางประเทศนั้น อัตราภาษีดังกล่าวข้างต้นอาจได้รับการลดหย่อน หรือยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินกำไรจากการขายหลักทรัพย์ เงินปันผล และดอกเบี้ยหุ้นกู้ ตามเงื่อนไขที่ กำหนดไว้ในอนุสัญญาภาษีซ้อน ขณะเดียวกัน กรณีผู้ลงทุนบุคคลธรรมดาต่างชาติอาจได้รับการลดหย่อน หรือยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับ เงินปันผล และดอกเบี้ยหุ้นกู้ ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในอนุสัญญาภาษีซ้อน ปจั จบุ นั มปี ระเทศทเ่ี ปน็ คสู่ ญั ญาอนสุ ญั ญาภาษซี อ้ นกบั ประเทศไทย รวมทง้ั สน้ิ 43 ประเทศ ไดแ้ ก่ เกาหลี แคนาดา ญี่ปุ่น เดนมาร์ก นอร์เวย์ นิวซีแลนด์ เนเธอร์แลนด์ เนปาล เบลเยี่ยม โปแลนด์ ฝรั่งเศส ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย โรมาเนีย ลักเซมเบอร์ก เวียดนาม สเปน สวิสเซอร์แลนด์ สวีเดน สหรัฐอเมริกา อิตาลี อิสราเอล แอฟริกาใต้ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน สหราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์เหนือ สาธารณรัฐเชค สาธารณรัฐ ประชาชนจนี สาธารณรฐั ประชาชนบงั กลาเทศ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สาธารณรฐั ปากสี ถาน สาธารณรฐั ฟนิ แลนด์ สาธารณรฐั มอรเิ ชยี ส สาธารณรฐั สงั คมนยิ มประชาธปิ ไตยศรลี งั กา สาธารณรฐั สงิ คโปร์ สาธารณรฐั ออสเตรเลยี สาธารณรฐั ออสเตรยี สาธารณรฐั อนิ เดยี สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี สาธารณรฐั อซุ เบกสิ ถาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สาธารณรัฐฮังการี ไซปรัส และบัลแกเรีย 88 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

รายชื่อและที่อยู่ของบริษัทสมาชิก หมาย ชอ่ื บรษิ ทั ชอ่ื ยอ่ เลข 1 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ บวั หลวง จำกดั BLS 191 อาคารสลี มคอมเพลก็ ซ์ ชน้ั 29 ถนนสลี ม บางรกั กรงุ เทพฯ 10500 โทร. 0-2231-3777 โทรสาร 0-2231-3797 http://www.bualuang.co.th 2 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ทสิ โก้ จำกดั TSC 48/2 ทสิ โกท้ าวเวอร์ ถนนสาทรเหนอื บางรกั กรงุ เทพฯ 10500 โทร. 0-2633-6999 โทรสาร 0-2633-6150 http://www.tiscosec.com 3 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ แอด๊ คนิ ซนั จำกดั (มหาชน) ASL 132 อาคารสนิ ธร 1 ชน้ั 2 ถนนวทิ ยุ ลมุ พนิ ี เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2263-3733 โทรสาร 0-2254-4032 http://www.asl.co.th 4 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ดบี เี อส วคิ เคอรส์ (ประเทศไทย) จำกดั DBSV 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชน้ั 14-15 ถนนพระราม 1 ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2658-1222 โทรสาร 0-2658-1441 http://www.th-dbsvickers.com 5 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ซกิ โก้ จำกดั (มหาชน) SICSEC 130-132 อาคารสนิ ธร ทาวเวอร์ 2 ชน้ั 1-2 ถนนวทิ ยุ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2627-3100 โทรสาร 0-2263-2043 http://www.brokernumberfive.com 6 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ เมอรร์ ลิ ลนิ ช์ ภทั ร จำกดั MLP 252/6 อาคารเมอื งไทย-ภทั ร 1 ชน้ั 6-11 ถนนรชั ดาภเิ ษก หว้ ยขวาง กรงุ เทพฯ 10320 โทร. 0-2305-9000 โทรสาร 0-2275-3040 http://www.ml.com ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 89

หมาย ชอ่ื บรษิ ทั ชอ่ื ยอ่ เลข 7 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ บที ี จำกดั BTSEC 44 อาคารไทยธนาคาร ชน้ั G, 23-26 ซ.หลงั สวน ถ.เพลนิ จติ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2657-9000 โทรสาร 0-2657-9111 http://www.BTsecurities.com 8 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ เอบเี อน็ แอมโร เอเซยี จำกดั (มหาชน) AST 175 อาคารสาธรซติ ท้ี าวเวอร์ ชน้ั 3 ถนนสาทรใต้ ทงุ่ มหาเมฆ สาทร กรงุ เทพฯ 10120 โทร. 0-2285-1666, 0-2285-1777 โทรสาร 0-2285-1900 http://www.ast.co.th 10 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ไอ.บ.ี จำกดั IB 152 อาคารอนิ โดสเุ อซ ชน้ั 6 ถนนวทิ ยุ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2256-7888, 0-2256-7999 โทรสาร 0-2256-7893-4 http://www.indocarrsec.com 11 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ แอสเซท พลสั จำกดั ASSET 193/111-115 อาคารเลครชั ดา ชน้ั 27 ถนนรชั ดาภเิ ษกตดั ใหม่ คลองเตย กรงุ เทพฯ 10100 โทร. 0-2661-9999, 0-2264-0666 โทรสาร 0-2661-9486 http://www.assetplus.com 12 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ หยวนตา้ (ประเทศไทย) จำกดั YUANTA 540 อาคารเมอรค์ วิ ร่ี ทาวเวอร์ (อาคารวรรณเพลส) ชน้ั 8-10 ถนนเพลนิ จติ ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2658-6300 โทรสาร 0-2658-6383 http://www.yuanta.co.th 13 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ เคจไี อ (ประเทศไทย) จำกดั (มหาชน) KGI 323 อาคารยไู นเตด็ เซน็ เตอร์ ชน้ั 23 ถนนสลี ม กรงุ เทพฯ 10500 โทร. 0-2231-1111 โทรสาร 0-2267-8260 http://www.kgieworld.com 14 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ พฒั นสนิ จำกดั (มหาชน) CNS 21/3 อาคารไทยวา ทาวเวอร์ ชน้ั 1 ถนนสาทรใต้ กรงุ เทพฯ 10120 โทร. 0-2285-0060, 0-2677-3333 โทรสาร 0-2285-0620 http://www.cns.co.th 90 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

หมาย ชอ่ื บรษิ ทั ชอ่ื ยอ่ เลข 15 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ เอส จี สนิ เอเซยี จำกดั SGACS 622 อาคารเอม็ โพเรยี ม ชน้ั 11/1-8 ถนนสขุ มุ วทิ 24 คลองตนั คลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทร. 0-2658-9000 โทรสาร 0-2658-9003 16 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ธนชาติ จำกดั NATSEC 444 อาคารเอม็ บเี ค ทาวเวอร์ ชน้ั 14 ถนนพญาไท วงั ใหม่ ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2217-9595, 0-2217-9622, 0-2217-8888 โทรสาร 0-2217-9642 http://www.natsec.co.th 19 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ เกยี รตนิ าคนิ จำกดั KKS 500 อาคารอมั รนิ ทรท์ าวเวอร์ ชน้ั 7 ถนนเพลนิ จติ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2256-9898-9 โทรสาร 0-2256-9783, 0-2256-9756 http://www.kks.co.th 22 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ทรนี ตี ้ี จำกดั TRINITY 179/109-110 ชน้ั 25 อาคารบางกอกซติ ้ี ทาวเวอร์ ถนนสาทรใต้ ทงุ่ มหาเมฆ สาทร กรงุ เทพฯ 10120 โทร. 0-2286-3999 โทรสาร 0-2286-6333, 0-2286-6777 http://www.trinitythai.com 23 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ไทยพาณชิ ย์ จำกดั SCBS 130 อาคารสนิ ธร 3 ชน้ั 26 ถนนวทิ ยุ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2263-3500 โทรสาร 0-2263-3801-2 http://www.scbsec.com 26 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ยโู อบี เคยเ์ ฮยี น (ประเทศไทย) จำกดั UOBKHST 130-132 อาคารสนิ ธร ถ.วทิ ยุ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2659-8000 โทรสาร 0-2263-2306 27 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ บฟี ทิ จำกดั BFITSEC 25 อาคารกรงุ เทพประกนั ภยั ชน้ั 22 ถนนสาทรใต้ กรงุ เทพฯ 10120 โทร. 0-2677-4330 โทรสาร 0-2677-4328 http://www.bfit.co.th ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 91

หมาย ชอ่ื บรษิ ทั ชอ่ื ยอ่ เลข 28 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ไอเอน็ จี (ประเทศไทย) จำกดั INGT 130-132 อาคารสนิ ธร 1 ชน้ั 8 ถนนวทิ ยุ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2263-2888-9 โทรสาร 0-2263-2898 http://www.ing.com 29 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ กรงุ ศรอี ยธุ ยา จำกดั AYS 898 อาคารเพลนิ จติ ทาวเวอร์ ชน้ั 4 ถนนเพลนิ จติ กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2658-6767 โทรสาร 0-2263-0408 http://www.ays.co.th 30 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ อนิ เทล วชิ น่ั จำกดั IVS อาคารเมอรค์ วิ ร่ี ชน้ั 17 เลขท่ี 540 ถนนเพลนิ จติ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2658-5800 โทรสาร 0-2658-5799 33 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ฟนิ นั ซา่ จำกดั FINANSA 48/14-15 ชน้ั 8 อาคารทสิ โกท้ าวเวอร์ ถนนสาทรเหนอื สลี ม บางรกั กรงุ เทพฯ 10500 โทร. 0-2638-0300 โทรสาร 0-2638-0301 http://www.finansa.com 34 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ฟลิ ลปิ (ประเทศไทย) จำกดั (มหาชน) PHILIP 849 อาคารวรวฒั น์ ชน้ั 15 ถนนสลี ม บางรกั กรงุ เทพฯ 10500 โทร. 0-2268-0999, 0-2635-1700 โทรสาร 0-2268-1621 http://www.phillip.co.th 38 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ยไู นเตด็ จำกดั (มหาชน) US 1550 อาคารแกรนดอ์ มั รนิ ทรท์ าวเวอร์ ชน้ั 4-5 ถนนเพชรบรุ ตี ดั ใหม่ ราชเทวี กรงุ เทพฯ 10310 โทร. 0-2207-0038 โทรสาร 0-2207-0404 http://www.unitedsec.com 92 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์

หมาย ชอ่ื บรษิ ทั ชอ่ื ยอ่ เลข 41 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ เจ.พ.ี มอรแ์ กน (ประเทศไทย) จำกดั JPM 20 อาคารบปุ ผจติ ชน้ั 2-3 ถ.สาทรเหนอื สลี ม บางรกั กรงุ เทพฯ 10500 โทร. 0-2684-2600 โทรสาร 0-2684-2610 42 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ กมิ เอง็ (ประเทศไทย) จำกดั KIMENG 540 อาคารเมอรค์ วิ ร่ี ทาวเวอร์ ชน้ั 8-10 ถ. เพลนิ จติ ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2658-6300 โทรสาร 0-2658-6301 http://www.kimeng.co.th 43 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ บเี อน็ พี พารบี าส์ พรี กี รนิ BNPPP (ประเทศไทย) จำกดั 444 อาคารเอม็ บเี ค ทาวเวอร์ ชน้ั 19 ถนนพญาไท ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2659-8999 โทรสาร 0-2216-3542 http://www.peregrineonline.co.th 45 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ซี แอล เอส เอ (ประเทศไทย) จำกดั CLSA 87 อาคารเอม็ ไทย ทาวเวอร์ ชน้ั 16 ถนนวทิ ยุ ลมุ พนิ ี ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2253-2945 โทรสาร 0-2253-0534 http://www.clsa.com 47 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ซมี โิ ก้ จำกดั (มหาชน) ZMICO 287 อาคารลเิ บอรต์ ส้ี แควร์ ชน้ั 16 ถนนสลี ม บางรกั กรงุ เทพฯ 10500 โทร. 0-2695-5000 โทรสาร 0-2631-1709 http://www.seamico.com 49 บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ ยบู เี อส วอรเ์ บริ ก์ จำกดั UBSW 93/1 อาคารดที แฮลม์ ทาวเวอร์ เอ ชน้ั 13 ถนนวทิ ยุ ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2252-3867, 0-2651-5700 โทรสาร 0-2252-3965 http://www.ubswarburg.com มถิ นุ ายน 2545 ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย 93

รายชื่อและที่อยู่ของ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ชอ่ื และทอ่ี ยู่ ชอ่ื ยอ่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม กสิกรไทย จำกัด TFAM 252/38-41 อาคารสำนกั งานเมอื งไทย-ภทั ร 1 ชน้ั 31 ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงหว้ ยขวาง เขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพฯ 10320 โทร. 0-2693-2300 โทรสาร 0-2693-2320 http://www.tfam.co.th บริษทั หลักทรพั ยจ์ ัดการกองทนุ เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) MFC 193-195 อาคารเลครชั ดา ชน้ั 30-32 ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทร. 0-2661-9000-99 โทรสาร 0-2661-9102-3 http://www.mfcfund.com บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม พรีมาเวสท์ จำกัด PRIMAVEST 900 อาคารตน้ สนทาวเวอร์ ชน้ั 5 ถนนเพลนิ จติ แขวงลมุ พนิ ี เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2257-0555 ,0-2257-0361-7 โทรสาร 0-2257-0360 http://www.primavest.com บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม ทหารไทย จำกัด TMBAM อาคารอบั ดลุ ราฮมิ ชน้ั 28 ถนนพระราม 4 แขวงสลี ม เขตบางรกั กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2636-1818 โทรสาร 0-2636-1820990 http://www.tmbam.com บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม ไทยพาณิชย์ จำกัด SCBAM 132 อาคารสนิ ธร 3 ชน้ั 23 ถนนวทิ ยุ แขวงลมุ พนิ ี เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 0-2263-2800 โทรสาร 0-2263-4044 http://www.scbam.com 94 กา้ วแรกสกู่ ารลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์