พระรหามชวบดัญญตั ิ
(บEนั xทpกึlaหnลatักoกrาyรMแลeะmเหoตraผุ nลd u m) ส่วนของเน้ือหาที่แสดงให้ทราบถึงเหตุผลหรือความจำเป็นท่ี จะต้องมี หรือแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายฉบับน้ัน โดยหลักการมีความ มุ่งหมายเพื่อให้ผู้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทราบถึงขอบเขตของ พระราชบัญญัตินั้นโดยเฉพาะกรณีท่ีเป็นร่างพระราชบัญญัติฉบับ แก้ไขเพ่มิ เตมิ สำหรับเหตุผลในร่างพระราชบัญญัติเป็นข้อความท่ีบอกถึง เจตนารมณ์ของกฎหมายอย่างสั้นๆ ซ่ึงเมื่อมีการนำลงประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา กจ็ ะกลายเปน็ เครอื่ งมอื ประการหนงึ่ ในการพจิ ารณา หรือค้นเจตนารมณ์ของกฎหมาย หรือใช้ประกอบในการใช้บังคับ หรือตคี วามกฎหมายดว้ ย 80 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เล่มท่ี ๒
ช่ือรา่ งพระราชบัญญตั ิ (Name of Bill) สว่ นทแี่ สดงใหท้ ราบวา่ เปน็ กฎหมายเกย่ี วกบั เรอ่ื งใดและทราบ ถงึ สาระสำคญั และขอบเขตในการใชบ้ งั คบั ของรา่ งพระราชบญั ญตั นิ นั้ ซ่ึงช่ือร่างพระราชบัญญัติจะปรากฏอยู่ ๒ แห่ง คือ ในส่วนหัวเร่ือง เพื่อให้ผู้ใช้กฎหมายเม่ืออ่านช่ือในส่วนหัวเรื่องแล้วเข้าใจหรือทราบ ได้ทันทีว่าเป็นกฎหมายเก่ียวกับเรื่องใดและมีขอบเขตการใช้บังคับ เพียงใด และในร่างมาตรา ๑ เพื่อกำหนดช่ือที่ถูกต้องตามกฎหมาย ท่ีเรียกใช้และอ้างอิงถึงร่างพระราชบัญญัติน้ันให้เป็นอย่างเดียวกัน ดังน้ัน จึงต้องเป็นช่ือเดียวกันและเขียนอย่างเดียวกันกับช่ือร่าง พระราชบัญญตั ิในส่วนหัวเรือ่ งด้วย คำท่ีเก่ียวขอ้ งในวงงานรัฐสภา 81
ผ(Iู้เnสtนroอdรu่าcงeพrรoะfรtาhชeบBญั ilญl) ัติ การเสนอร่างพระราชบัญญัติเป็นขั้นตอนแรกเร่ิมของ กระบวนการตราพระราชบัญญัติก่อนนำเข้าสู่การพิจารณาของสภา ซึ่งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดก้ ำหนดเกี่ยวกับผู้เสนอร่างพระราชบัญญตั ไิ ว้ ดังน้ี ๑. ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เสนอได้ก็แต่ โดยคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจำนวนสมาชกิ ทัง้ หมดเทา่ ที่มอี ยู่ของสภาผ้แู ทนราษฎร หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา และศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ซ่ึงประธานศาลและประธานองค์กรนั้นเป็นผู้รักษาการตาม พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนูญน้ัน 82 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๒
๒. ร่างพระราชบัญญัติ เสนอได้ก็แต่โดยคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า ๒๐ คน ศาลหรือ องคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู เฉพาะกฎหมายทเี่ กยี่ วกบั การจดั องคก์ ร และกฎหมายที่ประธานศาลและประธานองค์กรนั้นเป็นผู้รักษาการ และประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน เข้าช่ือกันเพ่ือเสนอกฎหมายที่เก่ียวข้องกับสิทธิ เสรีภาพ และ แนวนโยบายพื้นฐานแหง่ รัฐ ทั้งนี้ ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่จะเสนอเข้าสู่ การพจิ ารณาของสภาจะต้องไดร้ ับคำรบั รองจากนายกรฐั มนตรี สำหรับการเสนอร่างพระราชบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ บัญญัติให้ เสนอได้ก็แต่โดยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติร่วมกันจำนวน ไม่น้อยกว่า ๒๕ คน หรือคณะรัฐมนตรี หรือสภาปฏิรูปแห่งชาติ ตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง แต่ร่างพระราชบัญญัติเก่ียวด้วยการเงิน จะเสนอไดก้ แ็ ตโ่ ดยคณะรัฐมนตรี ซง่ึ ในอนาคต อาจจะมกี ารปรบั ปรงุ ใหส้ มาชกิ วฒุ สิ ภา สามารถ เสนอร่างพระราชบัญญัติได้ภายในขอบเขตท่ีบัญญัติในรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชั่วคราว) พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ คำที่เกี่ยวข้องในวงงานรฐั สภา 83
คำปรารภ (Preamble) เปน็ อารมั ภบทของกฎหมายที่มคี วามมุ่งหมาย ดงั ต่อไปน้ี ๑. แสดงพระราชอำนาจของสถาบันพระมหากษัตริย์ในการ ประกาศใชบ้ งั คบั พระราชบญั ญตั ติ ามรฐั ธรรมนญู ดว้ ยความเหน็ ชอบ ขององคก์ รฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั โิ ดยการพจิ ารณาตามกระบวนการนติ บิ ญั ญตั ิ ตามทร่ี ัฐธรรมนญู บัญญตั ไิ ว้ ๒. แจง้ ใหท้ ราบวา่ กฎหมายทตี่ ราขน้ึ ใชบ้ งั คบั นนั้ เปน็ กฎหมาย ใหม่หรือเป็นกฎหมายท่ีแก้ไขเพิ่มเติม หรือเป็นกฎหมายท่ีปรับปรุง หรือเปน็ กฎหมายทีย่ กเลกิ กฎหมายที่ใชบ้ ังคับอยู่ ๓. เพื่อให้ทราบว่ากฎหมายฉบับนั้นมีบทบัญญัติท่ีเป็น การจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามบทบัญญัติมาตราใดของ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (บLTiทbhจeeำrPกtirัดeosสvoิiทsfiธoaิแnPลseะarเbสsooรnuีภtuาtnพhdeขeRอreงtsบhtrุคeiคcCtลoioตnnาstมoiftรuRัฐtธiigoรhnรt)มs aนnูญd เปน็ สว่ นของกฎหมายทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ มบี ทบญั ญตั บิ างมาตรา ทมี่ ผี ลเปน็ การจำกดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คลตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยได้รับรองไว้ และให้อำนาจในการตรากฎหมาย ท่มี ผี ลเป็นการจำกัดสิทธแิ ละเสรภี าพดังกลา่ วในมาตราใด 84 สารานุกรมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เล่มท่ี ๒
วนั ใชบ้ งั คบั กฎหมาย (Law Enforcement Date) เป็นการกำหนดสภาพบังคับของกฎหมายว่ามีผลใช้บังคับ ต้ังแต่เมื่อใด ซ่ึงโดยทั่วไปจะกำหนดให้ใช้บังคับถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้ประชาชนหรือผู้อยู่ภายใต้บังคับแห่ง กฎหมายได้รับทราบล่วงหน้าว่ากฎหมายจะใช้บังคับเม่ือใด อย่างไรก็ตาม กฎหมายบางฉบับก็มีความจำเป็นต้องกำหนดวันใช้ บังคับเป็นวันอ่ืน ซึ่งขึ้นอยู่กับเหตุผลความจำเป็นของกฎหมายน้ัน โดยในปัจจุบนั มีการใช้ในกรณตี ่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ ๑. กรณใี หพ้ ระราชบญั ญตั มิ ผี ลใชบ้ งั คบั ทนั ที เชน่ ใหม้ ผี ลใช้ บังคบั ตงั้ แต่วันประกาศในราชกจิ จานุเบกษา คำที่เก่ียวขอ้ งในวงงานรัฐสภา 85
๒. กรณีให้พระราชบัญญัติมีผลใช้บังคับในอนาคต เช่น ใหม้ ผี ลใชบ้ งั คบั เมอื่ พน้ กำหนดหนง่ึ รอ้ ยแปดสบิ วนั นบั แตว่ นั ประกาศ ในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป ๓. กรณีให้พระราชบัญญัตมิ ีผลใช้บงั คับย้อนหลงั เช่น ใหใ้ ช้ บงั คบั ตั้งแต่วันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗ ๔. กรณีใช้ท้องที่เป็นตัวกำหนดวันใช้บังคับกฎหมาย เช่น ให้ใช้บังคับใน ... (กำหนดท้องที่) เมื่อพ้นกำหนด ... วันนับแต่ วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ๕. กรณกี ฎหมายบางหมวดหรอื บางมาตราใชบ้ งั คบั ในวนั อน่ื ที่แตกต่างจากวันประกาศใช้กฎหมายท้ังฉบับ เช่น ให้ใช้บังคับเมื่อ พ้นกำหนด ... วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่มาตรา ... และมาตรา ... ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจาก วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป 86 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๒
Aบทbrยoกgเaลtิกioกnฎoหfมthายe L(Tawhe) Provisions about the เปน็ บทที่ระบวุ ่ากฎหมายใดจะถกู ยกเลกิ ไมใ่ ช้บังคบั อกี ตอ่ ไป บทนิยาม (Definition) การอธิบายความหมายของถ้อยคำในกฎหมายและใช้แทน ข้อความในกฎหมายน้ัน หรืออธิบายคำศัพท์ทางเทคนิคในการย่อคำ หรือขอ้ ความในกฎหมายนนั้ คำทเี่ กีย่ วขอ้ งในวงงานรฐั สภา 87
ผู้รักษาการ (Person in Charge) เป็นการกำหนดเพ่ือให้มีรัฐมนตรีเจ้าของเรื่องท่ีแน่นอนใน การเป็นผู้ดูแลปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมาย บางแห่งเรียก คำศพั ทน์ ว้ี า่ “บทรกั ษาการ” หรอื “มาตรารกั ษาการ” ซงึ่ มคี วามหมาย เชน่ เดยี วกนั บทเฉพาะกาล (Transitory Provision) บทบัญญัติในส่วนท้ายสุดของกฎหมาย เขียนขึ้นเพ่ือกำหนด การเชื่อมต่อของการใช้บังคับระหว่างกฎหมายใหม่กับกฎหมายเดิม หรือเพื่อกำหนดมาตรการทางกฎหมายที่ใช้บังคับเป็นการชั่วคราว ในระยะแรก เพ่ือให้การดำเนินการของรัฐหรือองค์กร หรือสิทธิ ประโยชน์ที่เคยมีกฎหมายรองรับสามารถดำเนินการต่อเนื่องโดย ไม่หยดุ ชะงกั 88 สารานุกรมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี ๒
บทเฉพาะกาล มาตรา ๒๙๒ ให้ คณะองคมนตรีซ่ึงดํารงตําแหน่งอยู่ในวันประกาศใช้ รัฐธรรมนูญน้ ีเป็ นคณะองคมนตรีตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญน้ ี มาตรา ๒๙๓ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ทาํ หน้าท่รี ัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาตาม บทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญน้ีจนกว่าจะมกี ารประชุมรัฐสภาเป็นคร้ังแรกตามมาตรา ๑๒๗ ในระหว่างเวลาตามวรรคหน่ึง ถ้าบทบัญญัติใดในรัฐธรรมนูญน้ีหรือกฎหมาย อ่ืนบัญญัติให้ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภา เป็ นผู้ลงนามรับ สนองพระบรมราชโองการให้ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็ นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราช โองการ ในวาระเร่ิมแรก หากปรากฏว่าเม่ือต้องมีการประชุมรัฐสภาเป็นคร้ังแรกตาม มาตรา ๑๒๗ แล้วแต่ยังไม่มีวุฒิสภา ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทาํ หน้าท่วี ุฒิสภาต่อไป เว้นแต่ การพิจารณาให้ บุคคลดํารงตําแหน่งและการถอดถอนจากตําแหน่งตามบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญน้ี จนกว่าจะมีวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญน้ี และกิจการใดท่สี ภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ ดําเนินการในระหว่างเวลาดังกล่าว ให้ มีผลเป็ นการดําเนินการของวุฒิสภา และในกรณีท่ี บทบัญญัติใดในรัฐธรรมนูญน้ีหรือกฎหมายอ่นื บัญญัติให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนอง พระบรมราชโองการ ให้ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็ นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราช โองการ มิให้นําบทบัญญัติมาตรา ๙๓ มาตรา ๙๔ มาตรา ๑๐๑ มาตรา ๑๐๒ มาตรา ๑๐๖ มาตรา ๑๐๙ มาตรา ๑๑๑ มาตรา ๑๑๓ มาตรา ๑๑๔ มาตรา ๑๑๕ มาตรา ๑๑๙ มาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๙๗ วรรคส่ี มาตรา ๒๖๑ และบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดท่หี ้ามมิให้บุคคลดาํ รง ตาํ แหน่งทางการเมือง มาใช้บังคบั กบั การดาํ รงตาํ แหน่งของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๕๓ มาใช้บังคับกับการส้ินสุดของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๒๙๔ ให้สภาร่างรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ส้ินสุดลงในวัน ประกาศใช้รัฐธรรมนูญน้ี เพ่ือประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ลงสมัครรับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือดาํ รงตาํ แหน่งสมาชิกวุฒิสภาภายในสองปี นับแต่วนั ท่พี ้นจากตาํ แหนง่ ตามวรรคหน่ึง คำทเี่ กี่ยวขอ้ งในวงงานรฐั สภา 89
บ(Sัญchชeที d้าuยleพAระnรnาeชxบedญั tญo ตัth ิ e Act) เป็นส่วนท่ีระบุเน้ือหาท่ีมีรายละเอียดมาก รวมทั้งอาจมี การแกไ้ ขบอ่ ยครงั้ ตามสถานการณท์ เ่ี ปลยี่ นแปลงไป แตม่ คี วามจำเปน็ ต่อสาระสำคัญของกฎหมาย ซึ่งหากนำไปเขียนไว้ในมาตราต่าง ๆ จะทำใหก้ ฎหมายมเี นอื้ หาคอ่ นขา้ งยาวและเยนิ่ เยอ้ เชน่ อตั ราเงนิ เดอื น และเงนิ ประจำตำแหน่ง อตั ราภาษี 90 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เลม่ ท่ี ๒
(กCารlaแsบsi่งfiหcaมtวioดnหoมfูต่ Lาaมwก)ฎหมาย เปน็ การแบง่ แยกและจดั เรยี งเนอื้ หาสาระตามลำดบั ความสำคญั ของเรอ่ื งออกเปน็ กลมุ่ ๆ เพอื่ ใหผ้ ใู้ ชก้ ฎหมายและผอู้ ยใู่ ตบ้ งั คบั กฎหมาย มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของกฎหมาย ตลอดจนทำให้การอ่าน และค้นหาเรือ่ งท่ตี ้องการทราบเปน็ ไปได้อย่างรวดเร็ว ผ(Pู้รeับrsสoนnอwงhพoรCะoบuรnมteรrาsชigโnอsงtกhาeรR o yal Command) บุคคลที่รัฐธรรมนูญกำหนดบังคับให้ลงนามเพ่ือแสดง ความรับผิดชอบและรับทราบในการนำพระบรมราชโองการของ พระมหากษัตรยิ ไ์ ปดำเนนิ การ คำทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในวงงานรฐั สภา 91
ขอ้ บังคบั กหามรวปดระชมุ สภา
ก(EาlรeเcลtือioกnปoรfะtธhาeนPแrลeะsiรdอeงnปt รaะnธdาVนiสceภ-าP resid ent) การเลือกประธานและรองประธานสภาจะกระทำเม่ือมี การประชุมสภาคร้ังแรกภายหลังจากที่มีการเลือกต้ังทั่วไปในกรณีที่ สภานั้นเป็นสภาที่มาจากการเลือกตั้ง หรือภายหลังจากการแต่งตั้ง สมาชกิ สภาในกรณที ส่ี ภานนั้ เปน็ สภาทม่ี าจากการแตง่ ตง้ั หรอื จะกระทำ เมอื่ ประธานสภาหรอื รองประธานสภาพน้ จากตำแหนง่ กอ่ นครบวาระ การดำรงตำแหน่ง โดยในการเลือกประธานและรองประธานสภา ครงั้ แรก เลขาธกิ ารสภาจะเชญิ สมาชกิ ผมู้ อี ายสุ งู สดุ ซงึ่ อยใู่ นทป่ี ระชมุ เปน็ ประธานชว่ั คราวของทป่ี ระชมุ เพอื่ ใหท้ ป่ี ระชมุ ดำเนนิ การเลอื กตงั้ ประธานและรองประธานสภา และเพ่ือให้ที่ประชุมดำเนินการใน เร่ืองอนื่ ท่จี ำเป็นจะต้องประชุมปรึกษาในการประชุมคร้งั น้ันดว้ ย 94 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เล่มที่ ๒
แต่ถ้าผู้เป็นประธานช่ัวคราวของท่ีประชุมได้รับการเสนอช่ือ เป็นประธานหรือรองประธานสภา สมาชิกผู้มีอายุสูงสุดในลำดับ ถัดไปซ่ึงอยู่ในท่ีประชุมจะเป็นผู้ทำหน้าที่เป็นประธานช่ัวคราวของ ท่ีประชมุ การเลือกประธานสภา สมาชิกแต่ละคนมีสิทธิเสนอ ชื่อสมาชิกได้หนึ่งช่ือ และการเสนอนั้นต้องมีสมาชิกให้การรับรอง ไม่น้อยกว่าสิบคน และก่อนท่ีจะดำเนินการเลือกต้ังประธานน้ัน ข้อบังคับการประชุมกำหนดให้ผู้ได้รับการเสนอชื่อกล่าวแสดง วิสัยทัศน์ในการที่จะดำรงตำแหน่งต่อที่ประชุมภายในเวลาที่ ที่ประชุมสภากำหนด โดยหากมีการเสนอชื่อเพียงช่ือเดียวจะถือว่า ผนู้ ัน้ ไดร้ บั เลอื ก แต่ถ้ามีการเสนอชื่อสองชื่อหรือมากกว่าสองชื่อจะต้องมีการ ลงคะแนนเปน็ การลบั โดยสมาชกิ จะตอ้ งเขยี นชอ่ื ผซู้ งึ่ ตนประสงคจ์ ะเลอื ก ลงบนแผ่นกระดาษใส่ซองท่ีเจ้าหน้าที่จัดให้ จากน้ัน เลขาธิการสภา คำทเี่ กี่ยวขอ้ งในวงงานรฐั สภา 95
จะเรียกช่ือสมาชิกตามลำดับอักษร เพ่ือให้สมาชิกมาลงคะแนน เปน็ รายคน โดยนำซองใบลงคะแนนใสล่ งในภาชนะทจ่ี ดั ไวเ้ พอ่ื การนน้ั และในการตรวจนับคะแนน ประธานของท่ีประชุมจะเชิญสมาชิก จำนวนห้าคนเปน็ กรรมการตรวจนับคะแนน กรณมี กี ารเสนอชอื่ สองชอ่ื ผไู้ ดค้ ะแนนสงู สดุ เปน็ ผไู้ ดร้ บั เลอื ก ถ้าได้คะแนนสูงสุดเท่ากัน จะต้องมีการเลือกใหม่อีกครั้งหนึ่ง แต่ถ้า คะแนนยงั เทา่ กนั อกี จะใชว้ ธิ จี บั สลาก สว่ นกรณมี กี ารเสนอชอ่ื มากกวา่ สองชอื่ ผไู้ ดค้ ะแนนสงู สดุ และมคี ะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ กงึ่ หนง่ึ ของจำนวน สมาชกิ ทมี่ าประชมุ เปน็ ผไู้ ดร้ บั เลอื ก แตถ่ า้ ผไู้ ดค้ ะแนนสงู สดุ มคี ะแนน ไม่ถงึ กึ่งหนึง่ ของจำนวนสมาชิกทีม่ าประชมุ จะต้องดำเนนิ การดงั นี้ ๑. ถา้ มผี ไู้ ดค้ ะแนนสงู สดุ ลำดบั แรกหนงึ่ คนและผไู้ ดค้ ะแนน สูงสุดลำดับที่สองหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดสองลำดับ ดงั กล่าวมาให้สมาชิกลงคะแนน หรือ ๒. ถา้ มผี ไู้ ดค้ ะแนนสงู สดุ ลำดบั แรกเกนิ กวา่ หนง่ึ คน ใหน้ ำชอื่ ผ้ไู ด้คะแนนสูงสุดดังกลา่ วมาให้สมาชกิ ลงคะแนน หรอื ๓. ถา้ มผี ไู้ ดค้ ะแนนสงู สดุ ลำดบั แรกหนง่ึ คนและมผี ไู้ ดค้ ะแนน สูงสุดลำดับที่สองเกินกว่าหน่ึงคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุด ลำดบั แรกและลำดบั ที่สองทุกคนมาให้สมาชกิ ลงคะแนน ทั้งน้ี ผู้ได้คะแนนสูงสุดจะเป็นผู้ได้รับเลือก แต่ถ้าคะแนนยัง เทา่ กนั อกี จะตอ้ งใชว้ ธิ จี บั สลาก โดยประธานของทป่ี ระชมุ จะประกาศ ชอ่ื ผไู้ ดร้ บั เลอื กตอ่ ทปี่ ระชมุ และสั่งให้เจา้ หนา้ ทท่ี ำลายบตั รออกเสยี ง ลงคะแนนนน้ั ด้วย 96 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เล่มท่ี ๒
การเลอื กรองประธานสภา ในการเลอื กรองประธานสภา มวี ธิ กี าร เชน่ เดยี วกบั การเลอื กประธานสภา แ ล ะ ก ร ณี ที่ ส ภ า มี ม ติ ใ ห้ มี ร อ ง ประธานสภาสองคน จะเลือกรอง ประธานสภาคนทหี่ นง่ึ กอ่ นแลว้ จงึ เลือกรองประธานสภาคนท่ีสอง การแต่งตั้งประธานและรองประธานสภา เมื่อได้เลือก ประธานและรองประธานสภาแลว้ เลขาธกิ ารสภาจะมหี นงั สอื แจง้ ไปยงั นายกรัฐมนตรี เพ่ือนำความข้ึนกราบบังคมทูลเพ่ือทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ แต่งต้ังตอ่ ไป เม่ือพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังประธานและรองประธาน สภาแลว้ เลขาธกิ ารสภาจะสง่ สำเนาประกาศพระบรมราชโองการไปยงั คณะรัฐมนตรี ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา ศาลปกครองสูงสุด และ องคก์ รตามรฐั ธรรมนญู เพอื่ ทราบด้วย คำทเี่ กีย่ วข้องในวงงานรฐั สภา 97
เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๕๕ ง หน้า ๑ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๗ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศ แต่งต้ังประธานและรองประธานสภานติ ิบญั ญตั แิ ห่งชาติ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยท่ีสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ลงมติเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ เลือกสมาชิก สภานติ ิบัญญัตแิ หง่ ชาตใิ ห้เป็นประธานและรองประธานสภานิตบิ ัญญัตแิ หง่ ชาติ คอื ๑. นายพรเพชร วิชติ ชลชยั เป็นประธานสภานิติบญั ญตั แิ ห่งชาติ ๒. นายสรุ ชยั เล้ียงบุญเลิศชยั เปน็ รองประธานสภานติ บิ ญั ญตั ิแหง่ ชาติ คนทห่ี นงึ่ ๓. นายพีระศักด์ิ พอจติ เปน็ รองประธานสภานติ บิ ญั ญัตแิ หง่ ชาติ คนท่สี อง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ จึงแต่งตั้งให้ผู้มีนามดังกล่าวเป็นประธานและรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตั้งแตบ่ ดั น้ีเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๗ สงิ หาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ เปน็ ปที ่ี ๖๙ ในรชั กาลปัจจบุ ัน ผ้รู ับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา หวั หน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 98 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เลม่ ท่ี ๒
การประชมุ สภา (Sitting) การประชมุ สภามี ๒ ลกั ษณะ คอื การประชมุ ทเ่ี ปน็ การเปดิ เผย (public sitting) และการประชมุ ลบั (sitting in camera) โดยจะต้องมี การนัดประชุมเพ่ือให้สมาชิกทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม รวมทั้ง จะต้องมีระเบียบวาระการประชุมและกระบวนการอ่ืน ๆ ตามท่ี ข้อบงั คบั การประชุมกำหนดไว้ การประชุมสภาที่เป็นการเปิดเผย คือ การประชุมท่ี ประชาชนสามารถเข้าฟังการประชุมในสถานท่ีท่ีจัดเตรียมไว้ ในห้องประชุมสภา หรือติดตามข่าวสารและผลการประชุมจาก ส่ือมวลชนในสาขาต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีท่ีมีการ คำทเ่ี กย่ี วข้องในวงงานรฐั สภา 99
ถ่ายทอดสดการประชุมทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือ ทางส่ืออิเล็กทรอนิกส์อ่ืน ท้ังนี้ เพ่ือเป็นหลักประกันการตรวจสอบ และการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึน้ รัฐธรรมนูญและข้อบังคับการประชุมของสภาทุกฉบับจะ บัญญัติหลักการในการประชุมสภาโดยเปิดเผยไว้เสมอ แต่ใน ขณะเดียวกันก็กำหนดข้อยกเว้นไว้ด้วย สำหรับในบางกรณีที่อาจ จำเป็นต้องให้ประชุมลับ เช่น กรณีการประชุมสภาในภาวะสงคราม กรณที เ่ี กย่ี วกบั ผลประโยชนส์ ำคญั ของชาติ กรณที เ่ี กย่ี วกบั ความมน่ั คง ของชาติ กรณที ี่อาจสง่ ผลกระทบตอ่ ความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ การประชุมลับ จะมีเฉพาะกรณีท่ีท่ีประชุมสภาเห็นว่ามี ความจำเป็น โดยมีเงื่อนไขในการเสนอให้มีการประชุมลับตามที่ รัฐธรรมนูญหรือข้อบังคับการประชุมกำหนด เช่น รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้บัญญัติเก่ียวกับเร่ืองน้ี ไว้ในมาตรา ๑๓๓ ว่า “การประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุม วุฒิสภา และการประชุมร่วมกันของรัฐสภาย่อมเป็นการเปิดเผย ตามลักษณะท่ีกำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมแต่ละสภา แต่ถ้า คณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกของแต่ละสภา หรือสมาชิกทั้งสองสภา รวมกันมีจำนวนไม่น้อยกว่าหน่ึงในส่ีของจำนวนสมาชิกทั้งหมด เท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา หรือจำนวนสมาชิกของทั้งสองสภา เทา่ ทม่ี อี ยูร่ วมกนั แลว้ แตก่ รณี ร้องขอใหป้ ระชมุ ลับกใ็ ห้ประชมุ ลบั ” 100 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี ๒
การนัดประชมุ สภา (Convening of the Sitting) กำหนดนดั หมายทใี่ หส้ มาชกิ สภามาประชมุ สภา เพอ่ื พจิ ารณา เรอื่ งทบ่ี รรจเุ ขา้ ระเบยี บวาระการประชมุ (Agenda) ตามทปี่ ระธานสภา คำท่เี ก่ียวข้องในวงงานรฐั สภา 101
เป็นผู้กำหนดและสั่งตามข้อบังคับการประชุมสภา ผู้ที่ทำหน้าท่ี ในการนัดประชุมดังกล่าว ได้แก่เลขาธิการสภา โดยการนัดประชุม ต้องทำเป็นหนังสือ เว้นแต่เม่ือได้บอกนัดในท่ีประชุมแล้ว จึงให้ ทำหนังสือนัดเฉพาะสมาชิกที่ไม่ได้เข้าประชุม และการนัดประชุม ตอ้ งนดั ลว่ งหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ สามวนั แตป่ ระธานสภาจะนดั เรว็ กวา่ นนั้ หรอื นัดประชมุ โดยวธิ อี ื่นใดกไ็ ดเ้ มอื่ เหน็ ว่าเป็นเรอื่ งด่วน การจัดระเบียบวาระการประชุม (Arrangement of the Agenda) คือ การจัดลำดับเรื่องในการประชุมว่าจะประชุม เรือ่ งใดก่อนหลงั เพ่ือใหส้ มาชกิ ไดร้ บั ทราบ โดยขอ้ บงั คบั การประชุม จะกำหนดลำดบั เรื่องทจี่ ะประชุมไว้ ดังนี้ (๑) เร่อื งทปี่ ระธานจะแจง้ ตอ่ ทป่ี ระชมุ (๒) รบั รองรายงานการประชุม (๓) กระทถู้ าม (๔) เรอื่ งที่คณะกรรมาธกิ ารพิจารณาเสรจ็ แลว้ (๕) เรือ่ งทค่ี า้ งพจิ ารณา (๖) เร่อื งท่เี สนอใหม่ (๗) เร่อื งอน่ื ๆ ทงั้ นี้ในกรณที ป่ี ระธานสภาเหน็ วา่ เรอ่ื งใดเปน็ เรอ่ื งดว่ นจะจดั ไว้ ในลำดบั ใดของระเบยี บวาระการประชมุ ก็ได้ 102 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี ๒
คำท่เี กี่ยวขอ้ งในวงงานรัฐสภา 103
องคป์ ระชมุ (Quorum) จำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้เป็นจำนวนต่ำท่ีสุดท่ีจะสามารถ เปิดประชุมเพ่ือพิจารณาหรือเพื่อลงมติในเร่ืองใด ๆ ได้ โดยปกติ จะกำหนดองค์ประชุมไว้ท่ีจำนวนไม่น้อยกว่าหรือเกินกว่าก่ึงหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ แต่อาจมีการกำหนดจำนวน องค์ประชุมให้น้อยกว่าหรือมากกว่าก็ได้ หากเห็นว่าเป็นเรื่องที่มี ความจำเป็นสำหรับการพิจารณาในเรื่องนั้น ๆ เช่น องค์ประชุม ในการพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถามในที่ประชุมสภา กำหนดให้มี สมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่าหน่ึงในสามของจำนวนสมาชิกท้ังหมด เท่าที่มีอยู่ เป็นต้น ซึ่งถ้ามีสมาชิกหรือกรรมาธิการมาลงชื่อไม่ครบ องค์ประชุม การประชุมจะไม่สามารถดำเนินการได้ เพราะจะไม่มีผล ในทางกฎหมาย 104 สารานุกรมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๒
ตรวจสอบองค์ประชุม หมายถึง การที่ประธานสภาขอให้ สมาชิกในที่ประชุมได้แสดงตนว่ามาประชุมและอยู่ในท่ีประชุม ก่อนที่ที่ประชุมจะได้ลงมติหรือดำเนินการในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงต่อไป โดยอาจใช้วิธีการตรวจสอบองค์ประชุมโดยให้สมาชิกยกมือขึ้นหรือ วิธีการอน่ื ใดตามที่ประธานกำหนด คำทีเ่ กยี่ วขอ้ งในวงงานรฐั สภา 105
รายงานการประชุมสภา (Minutes of the Sitting) หมายถึง เอกสารหลักฐานที่ได้บันทึกข้อเท็จจริงของ การประชุมสภา ซ่ึงจะต้องประกอบด้วย รายชื่อสมาชิกท่ีมาประชุม สมาชกิ ทล่ี าประชมุ และสมาชกิ ทขี่ าดประชมุ บนั ทกึ ผลการแสดงตน ของสมาชิก และบันทึกการออกเสียงลงคะแนนโดยเปิดเผยซึ่ง ปรากฏรายชอ่ื สมาชกิ 106 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เล่มท่ี ๒
รายงานการประชุมสภาจะจัดทำโดยเจ้าหน้าท่ีของสภา เมื่อมีการจัดทำแล้ว จะต้องเสนอให้สภารับรองว่าเป็นรายงาน การประชมุ สภาทถ่ี กู ตอ้ งตรงกบั มตขิ องสภา แตก่ อ่ นทจ่ี ะเสนอใหส้ ภา รับรองได้ ข้อบังคับการประชุมกำหนดใหค้ ณะกรรมาธกิ ารท่มี หี น้าที่ ตรวจรายงานการประชุม ได้ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานการ ประชมุ ดงั กลา่ วก่อน เม่ือคณะกรรมาธิการได้ดำเนินการตรวจสอบแล้ว จะต้องวาง สำเนาไวจ้ ำนวน ๓ ฉบับ ณ สถานที่และภายในเวลาท่ีกำหนดไว้ ทั้งน้ี เพื่อให้สมาชิกได้มีโอกาสตรวจสอบความถูกต้องก่อนท่ีจะเสนอให้ สภารับรอง โดยสมาชิกมีสิทธิขอแก้ไขเพ่ิมเติมรายงานการประชุม ดังกล่าวให้ตรงตามที่เป็นจริง โดยย่ืนคำขอแก้ไขเพ่ิมเติมต่อประธาน คณะกรรมาธกิ าร ถา้ คณะกรรมาธกิ ารไมย่ อมแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ใหต้ ามทข่ี อ สมาชิกผู้นั้นมีสิทธิท่ีจะยืนยันคำขอแก้ไขเพ่ิมเติมเพื่อขอให้สภา วนิ จิ ฉยั ได้ และถา้ มกี ารแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ รายงานการประชมุ สภา ภายหลงั จากครบกำหนดเวลาท่ีวางไว้ให้สมาชิกได้ตรวจดูแล้ว ไม่ว่าจะเป็น การแกไ้ ขของคณะกรรมาธกิ ารหรอื ของสมาชกิ ในคราวทส่ี ภาพจิ ารณา รับรองรายงานการประชุมสภานั้น คณะกรรมาธิการต้องแจ้งให้ ท่ปี ระชมุ สภาทราบถงึ การแกไ้ ขเพิม่ เติมดังกล่าวด้วย ในการตรวจรายงานการประชุมสภาคร้ังใด ถ้ามีผู้ใดกล่าว ถอ้ ยคำหรอื ขอ้ ความใดๆและไดม้ กี ารถอนหรอื ถกู สงั่ ใหถ้ อนถอ้ ยคำหรอื ขอ้ ความนน้ั แลว้ ขอ้ บงั คบั การประชมุ สภากำหนดใหค้ ณะกรรมาธกิ าร พิจารณาว่าสมควรจะตัดถ้อยคำหรือข้อความดังกล่าวออกหรือไม่ คำที่เกย่ี วขอ้ งในวงงานรัฐสภา 107
ไว้ในรายงานการประชุมสภาน้ันด้วย ส่วนถ้อยคำหรือข้อความท่ี ตดั ออกจะตอ้ งบันทกึ ไว้ในรายงานการประชมุ ของคณะกรรมาธกิ าร เม่ือสภาได้รับรองรายงานการประชุมสภาแล้ว ประธานสภา จะลงลายมอื ชอื่ ไว้เปน็ หลักฐาน แตห่ ากเปน็ กรณีท่ีสภาไดร้ บั รองแล้ว แตป่ ระธานสภายงั ไมไ่ ดม้ กี ารลงลายมอื ชอ่ื ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน หรอื รายงาน การประชุมท่ียังมิได้มีการรับรองเพราะเหตุที่อายุของสภาสิ้นสุดลง หรอื เหตจุ ำเปน็ อนื่ อนั ไมอ่ าจกา้ วลว่ งได้ เลขาธกิ ารสภาจะเปน็ ผบู้ นั ทกึ เหตุนัน้ ไว้ และเปน็ ผู้รับรองความถกู ตอ้ งของรายงานการประชุมน้นั และถ้าเป็นกรณีการประชุมลับ สภาอาจมีมติให้มีการจด รายงานการประชมุ ลบั ครงั้ ใดทง้ั หมดหรอื แตเ่ พยี งบางสว่ นกไ็ ด้ แตต่ อ้ ง มีบันทึกพฤติการณ์ไว้ ทั้งนี้ การเปิดเผยรายงานการประชุมลับ ให้คณะกรรมาธิการพิจารณาและเสนอความเห็นเพื่อให้สภามีมติ ว่าจะเปิดเผยหรือไม่ โดยเลขาธิการสภาจะเป็นผู้พิมพ์และผู้โฆษณา รายงานการประชุมสภา 108 สารานุกรมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เล่มที่ ๒
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: