Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 8 พ.ศ.2553

พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 8 พ.ศ.2553

Published by Hathaichanok Tagoonchamlong, 2020-09-07 03:19:24

Description: พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553

Search

Read the Text Version

พระราชบญั ญัติ ระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แกไ้ ขเพ่มิ เติมถึงปจั จบุ ัน (ฉบับท่ี ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓ ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันท่ี ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เปน็ ปีท่ี ๔๖ ในรชั กาลปจั จุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบญั ญตั ขิ น้ึ ไวโ้ ดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ดงั ตอ่ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั นิ ี้เรียกวา่ “พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔” มาตรา ๒๑ พระราชบญั ญตั ินี้ให้ใชบ้ งั คับตั้งแตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ใหย้ กเลกิ (๑) ประกาศของคณะปฏวิ ตั ิ ฉบบั ที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (๒) ประกาศของคณะปฏวิ ตั ิ ฉบบั ท่ี ๓๑๐ ลงวนั ที่ ๑๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ (๓) พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๑๗ (๔) พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๑๗ (๕) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๑๗ (๖) พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๑๙ (๗) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบบั ที่ ๒๒ ลงวนั ที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๐ (๘) พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๐๘/ตอนที่ ๑๕๖/ฉบบั พิเศษ หนา้ ๑/๔ กันยายน ๒๕๓๔

-๒- (๙) ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ ๔๘ เรื่องแก้ไขเพ่ิมเติมประกาศของคณะ ปฏวิ ัติ ฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวนั ที่ ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ลงวนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓/๑๒ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัติน้ีต้องเป็นไปเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถ่ิน การกระจาย อานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ท้ังนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบ ต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งต้ังบุคคลเข้าดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคานึงถึง หลกั การตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าท่ีของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างย่ิงให้ คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ทัง้ นี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกจิ เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตราน้ี จะตราพระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และ วธิ ีการในการปฏิบัตริ าชการและการสงั่ การให้สว่ นราชการและข้าราชการปฏบิ ัตกิ ็ได้ มาตรา ๔ ให้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ดงั นี้ (๑) ระเบยี บบรหิ ารราชการส่วนกลาง (๒) ระเบยี บบรหิ ารราชการส่วนภูมิภาค (๓) ระเบียบบรหิ ารราชการส่วนท้องถิน่ มาตรา ๕ การแบง่ ราชการออกเปน็ สว่ นต่าง ๆ ตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ี ให้กาหนดตาแหน่ง และอตั ราเงนิ เดอื นโดยคานงึ ถงึ คณุ ภาพและปริมาณงานของสว่ นราชการน้ัน ๆ ไวด้ ้วย การบรรจแุ ละการแต่งตง้ั บคุ คลใหด้ ารงตาแหนง่ หน้าทรี่ าชการตา่ ง ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย มาตรา ๖ ให้นายกรฐั มนตรรี ักษาการตามพระราชบญั ญตั ินี้ สว่ นท่ี ๑ การจดั ระเบียบบรหิ ารราชการสว่ นกลาง มาตรา ๗ ให้จัดระเบยี บบริหารราชการส่วนกลาง ดงั นี้ (๑) สานักนายกรัฐมนตรี (๒) กระทรวง หรือทบวงซ่งึ มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง (๓) ทบวง ซ่งึ สังกดั สานกั นายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ๒ มาตรา ๓/๑ เพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

-๓- (๔) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ซ่ึงสังกัดหรือไม่สังกัดสานัก นายกรฐั มนตรี กระทรวงหรือทบวง สานักนายกรัฐมนตรีมฐี านะเปน็ กระทรวง สว่ นราชการตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) มีฐานะเป็นนติ บิ ุคคล มาตรา ๘๓ การจัดตั้ง การรวม หรือการโอนสว่ นราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชบญั ญัติ การจัดต้ังทบวงโดยให้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้ระบุการสังกัดไว้ในพระราชบัญญัติ ดว้ ย การจัดตั้งกรมหรือส่วนราชการท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ซึ่งไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรอื ทบวง ใหร้ ะบกุ ารไมส่ ังกัดไว้ในพระราชบญั ญตั ิด้วย มาตรา ๘ ทวิ๔ การรวมหรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ไม่ว่าจะมีผลเป็นการจัดตั้งส่วนราชการ ขนึ้ ใหมห่ รือไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหนง่ หรืออัตราของข้าราชการหรือลกู จา้ งเพ่ิมข้นึ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎกี า พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่ง ให้ระบุอานาจหน้าที่ของส่วนราชการ การโอนอานาจหน้าที่ตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย ซึ่งส่วนราชการหรือเจ้าพนักงานที่มีอยู่เดิม การโอนข้าราชการและลูกจ้าง งบประมาณ รายจา่ ย รวมทั้งทรัพย์สินและหนี้สินเอาไวด้ ้วย แล้วแตก่ รณี ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณมีหน้าที่ตรวจสอบดูแลมิให้มีการ กาหนดตาแหนง่ หรอื อตั ราของขา้ ราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการท่ีจัดตั้งข้ึนใหม่ หรือที่ถูกรวมหรือโอนไปตาม วรรคหน่ึง เพมิ่ ขึน้ จนกว่าจะครบกาหนดสามปนี บั แตว่ นั ทพ่ี ระราชกฤษฎกี าตามวรรคหนึ่งมผี ลใช้บังคับ มาตรา ๘ ตรี๕ การเปลี่ยนช่ือส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และในกรณีท่ีช่ือ ตาแหน่งของขา้ ราชการในสว่ นราชการนั้นเปลย่ี นไปให้ระบุการเปลีย่ นชอ่ื ไวใ้ นพระราชกฤษฎีกาด้วย บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถ่ินอื่น ประกาศ หรือ คาสั่งใดท่ีอ้างถึงส่วนราชการหรือตาแหน่งของข้าราชการที่ได้ถูกเปลี่ยนช่ือตามวรรคหน่ึง ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น ประกาศหรือคาส่ังนั้นอ้างถึงส่วนราชการ หรือตาแหน่งของขา้ ราชการท่ไี ดเ้ ปล่ียนช่ือนน้ั มาตรา ๘ จตั วา๖ การยุบส่วนราชการตามมาตรา ๗ ใหต้ ราเป็นพระราชกฤษฎีกา เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่วนราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายท่ีเหลืออยู่ของส่วน ราชการนนั้ เปน็ อนั ระงับไป สาหรับทรัพย์สินอ่ืนของส่วนราชการนั้นให้โอนให้แก่ส่วนราชการอ่ืนหรือหน่วยงานอื่น ของรัฐ ตามท่ีรัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งกาหนดโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการ สิทธิและหนี้สินของส่วนราชการนั้นให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในพระราช กฤษฎีกา ๓ มาตรา ๘ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๔ มาตรา ๘ ทวิ เพมิ่ โดยพระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๕ มาตรา ๘ ตรี เพ่มิ โดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๖ มาตรา ๘ จตั วา เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓

-๔- ข้าราชการหรือลูกจ้างซ่ึงต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยุบตาแหน่ง อันเน่ืองมาแต่การยุบส่วนราชการ ตามวรรคหน่ึง นอกเหนือจากสิทธิประโยชน์ท่ีพึงได้รับตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับอื่นแล้ว ให้ข้าราชการ หรอื ลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการทก่ี าหนดในพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนงึ่ ดว้ ย ในกรณที สี่ ่วนราชการ รฐั วิสาหกิจหรอื หน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการหรือลูกจ้างตาม วรรคสามก็ให้กระทาได้โดยมิให้ถือว่าข้าราชการหรือลูกจ้างผู้น้ันได้พ้นจากราชการตามวรรคสาม แต่ท้ังน้ีต้อง กระทาภายในสามสิบวนั นับแตพ่ ระราชกฤษฎกี าตามวรรคหนึ่งมีผลใชบ้ งั คบั มาตรา ๘ เบญจ๗ พระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๘ ทวิ หรอื มาตรา ๘ จัตวา ที่มีผลเป็นการแก้ไขเพิ่มเติม หรือยกเลิกบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่จัดตั้งส่วนราชการ กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม หรือ กฎหมายอืน่ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ตามมาตรา ๒๓๐ วรรคหา้ ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย ให้ระบุให้ชัดเจนในพระ ราชกฤษฎีกาว่าบทบญั ญตั ิใดถกู แกไ้ ขเพ่ิมเติมหรอื ยกเลิกเปน็ ประการใดในกฎหมายน้นั มาตรา ๘ ฉ๘ การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอื่น และมฐี านะเป็นกรม ให้ออกเปน็ กฎกระทรวงและใหร้ ะบอุ านาจหน้าทขี่ องแตล่ ะสว่ นราชการไว้ในกฎกระทรวงด้วย ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการตามวรรคหน่ึงเป็นผู้ออกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการดังกล่าว กฎกระทรวงนน้ั เมอื่ ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้วให้ใชบ้ งั คบั ได้ มาตรา ๘ สัตต๙ ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณร่วมกันเสนอ ความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการแบ่งส่วนราชการภายในและในการกาหนดอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการ ตามมาตรา ๘ ฉ ในการเสนอความเห็นดังกล่าวให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนจัดอัตรากาลัง และ สานักงบประมาณจัดสรรเงนิ งบประมาณใหส้ อดคลอ้ งเสนอไปในคราวเดยี วกนั มาตรา ๘ อฏั ฐ๑๐ การแบง่ ส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันในทบวงมหาวิทยาลัยให้เป็นไป ตามกฎหมายว่าดว้ ยมหาวทิ ยาลยั หรือสถาบนั น้ัน หมวด ๑ การจดั ระเบียบราชการในสานกั นายกรัฐมนตรี มาตรา ๙ การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม ใหส้ ่วนราชการในสานักนายกรฐั มนตรบี รรดาท่ีกาหนดไวใ้ นกฎหมายวา่ ด้วยการปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม มฐี านะเปน็ กรม ๗ มาตรา ๘ เบญจ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๘ มาตรา ๘ ฉ เพ่ิมโดยพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๙ มาตรา ๘ สัตต เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๑๐ มาตรา ๘ อฏั ฐ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓

-๕- สานกั นายกรัฐมนตรอี าจจัดให้มสี ว่ นราชการเป็นการภายในข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อทาหน้าท่ีจัดทา นโยบายและแผน กากับ เร่งรัด และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการตามนโยบายที่คณะรัฐมนตรี กาหนดหรอื อนมุ ัติ เพ่อื การนีน้ ายกรฐั มนตรีจะสงั่ ใหก้ รมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรมใน สานกั นายกรัฐมนตรีจดั ทากไ็ ด้ มาตรา ๑๐ สานักนายกรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่ตามท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม สานกั นายกรฐั มนตรมี นี ายกรฐั มนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสมั ฤทธ์ิของงานในสานักนายกรัฐมนตรีให้สอดคล้องกับนโยบายทค่ี ณะรฐั มนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภา หรือทีค่ ณะรฐั มนตรีกาหนดหรืออนุมัติ โดยจะให้มีรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีเป็น ผชู้ ่วยส่งั และปฏิบตั ริ าชการกไ็ ด้๑๑ ในกรณีที่มีรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีหรือมีทั้งรองนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี การส่ังและการปฏิบัติราชการของรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจา สานักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย๑๒ ในระหว่างท่ีคณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะ เข้ารับหน้าท่ีเพราะนายกรัฐมนตรีตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ ศาลรฐั ธรรมนญู วนิ จิ ฉัยวา่ ความเปน็ รฐั มนตรีของนายกรฐั มนตรสี ้ินสุดลง หรือวฒุ สิ ภามีมติให้ถอดถอนจากตาแหน่ง ให้คณะรฐั มนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ถ้าไม่มีผู้ดารง ตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง เป็นผู้ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีแทน๑๓ ในระหว่างท่ีคณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ต้ังขึ้นใหม่จะ เข้ารับหน้าท่ี ให้คณะรัฐมนตรีดังกล่าวอานวยความสะดวกให้หัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ดาเนินการใด ๆ เท่าที่ จาเป็น เพื่อรับแนวทางการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ จากนายกรฐั มนตรีคนใหม่มาเตรยี มการดาเนินการได้๑๔ มาตรา ๑๑ นายกรัฐมนตรใี นฐานะหัวหนา้ รัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) กากับโดยท่ัวไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วน ภมู ิภาค และส่วนราชการซง่ึ มีหน้าทค่ี วบคุมราชการส่วนท้องถิ่น ช้ีแจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ ปฏบิ ตั ิราชการ ในกรณจี าเปน็ จะยบั ยง้ั การปฏิบตั ริ าชการใด ๆ ที่ขดั ตอ่ นโยบายหรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมี อานาจสัง่ สอบสวนข้อเท็จจริงเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการ ส่วนทอ้ งถนิ่ (๒) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีกากับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือหลาย กระทรวงหรอื ทบวง ๑๑ มาตรา ๑๐ วรรคสอง แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๒ มาตรา ๑๐ วรรคสาม แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๓ มาตรา ๑๐ วรรคสี่ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๔ มาตรา ๑๐ วรรคหา้ เพม่ิ โดยพระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

-๖- (๓) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตาแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการท่ี เรียกชอื่ อยา่ งอนื่ ท่มี ีฐานะเปน็ กรม (๔) สั่งให้ข้าราชการซ่ึงสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหน่ึงมาปฏิบัติราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้ ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรือไม่ก็ได้ ในกรณีท่ีให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ เงินเดือนในสานกั นายกรฐั มนตรีในระดับ และขนั้ ทไ่ี ม่สงู กวา่ เดิม (๕) แต่งตั้งข้าราชการซ่ึงสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรม หน่ึง โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเช่นว่าน้ีให้ข้าราชการซ่ึงได้รับแต่งตั้งมีฐานะ เสมือนเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถ้าเป็นการแต่งตั้ง ขา้ ราชการต้งั แตต่ าแหนง่ อธบิ ดีหรอื เทยี บเทา่ ขึน้ ไปต้องไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะรฐั มนตรี (๖) แต่งตั้งผ้ทู รงคณุ วุฒิเป็นประธานท่ีปรึกษา ที่ปรึกษา หรือคณะที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี หรือเป็น คณะกรรมการเพ่ือปฏบิ ตั ริ าชการใด ๆ และกาหนดอัตราเบย้ี ประชมุ หรือคา่ ตอบแทนใหแ้ ก่ผูซ้ ่งึ ได้รบั แตง่ ตั้ง (๗) แตง่ ตง้ั ข้าราชการการเมอื งให้ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี (๘) วางระเบยี บปฏิบตั ิราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปโดยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เทา่ ท่ีไมข่ ัดหรือแย้งกบั พระราชบญั ญัตินี้หรือกฎหมายอ่นื (๙) ดาเนินการอื่น ๆ ในการปฏบิ ัตติ ามนโยบาย ระเบียบตาม (๘) เม่อื คณะรัฐมนตรีให้ความเหน็ ชอบแลว้ ให้ใชบ้ งั คบั ได้ มาตรา ๑๒ ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็น กรม แต่มิได้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือทบวง นายกรัฐมนตรีจะมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ประจาสานกั นายกรฐั มนตรปี ฏบิ ัติราชการแทนกไ็ ด้ มาตรา ๑๓ สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขาธิการ นายกรัฐมนตรเี ปน็ ผู้บงั คบั บัญชาข้าราชการ และรบั ผดิ ชอบในการปฏิบัตริ าชการขน้ึ ตรงตอ่ นายกรัฐมนตรี และให้มี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร เป็นผู้ช่วยส่ังและปฏิบัติ ราชการและจะให้มีผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี เป็นผูช้ ว่ ยสั่งและปฏบิ ัตริ าชการดว้ ยก็ได้ ใหเ้ ลขาธิการนายกรัฐมนตรแี ละรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรฝี ่ายการเมอื ง เป็นข้าราชการการเมือง และ ให้รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝา่ ยบริหาร และผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี เป็นขา้ ราชการพลเรือนสามญั มาตรา ๑๔ สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์ มีเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการขึน้ ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรี และให้มรี องเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยส่ังและปฏิบัติราชการ และจะให้มี ผูช้ ่วยเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรีเปน็ ผูช้ ่วยสงั่ และปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้ ให้เลขาธิการคณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็น ขา้ ราชการพลเรือนสามัญ

-๗- มาตรา ๑๕๑๕ ในสานกั นายกรฐั มนตรี อาจมสี ่วนราชการท่ีอยู่ในบงั คับบญั ชาข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีได้ ตามทก่ี าหนดในกฎหมายวา่ ดว้ ยการปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม มาตรา ๑๖ สานักนายกรัฐมนตรี นอกจากมีนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจา สานกั นายกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสานักนายกรัฐมนตรีคนหน่งึ มอี านาจหนา้ ที่ดงั น้ี (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติ ราชการของสานักนายกรัฐมนตรี และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจาปีของส่วนราชการใน สานกั นายกรัฐมนตรใี หเ้ ป็นไปตามนโยบายท่นี ายกรัฐมนตรีกาหนดรวมท้ังกากบั เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติราชการของสว่ นราชการในสานกั นายกรัฐมนตรี (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีรองจากนายกรัฐมนตรี รอง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของส่วนราชการซึ่งหัวหน้าส่วนราชการ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสานักงานปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี ในการปฏบิ ัติราชการของปลัดสานักนายกรัฐมนตรีตามวรรคหน่ึง ให้มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเป็น ผู้ชว่ ยสงั่ และปฏบิ ตั ิราชการ และจะใหม้ ีผูช้ ว่ ยปลัดสานักนายกรัฐมนตรเี ปน็ ผู้ช่วยส่งั และปฏิบัตริ าชการดว้ ยก็ได้ ในกรณีท่ีมีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือมีท้ังรองปลัดสานัก นายกรัฐมนตรีและผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสานัก นายกรฐั มนตรีเปน็ ผบู้ ังคบั บัญชาขา้ ราชการและรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิราชการรองจากปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็น ข้าราชการพลเรือนสามัญ และให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผู้ดารง ตาแหน่งที่เรียกช่ืออย่างอื่นในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ตามท่ีปลัดสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดหรือมอบหมาย ให้นาความในมาตรา ๑๙/๑ มาใชบ้ งั คับแก่ราชการของสานักนายกรัฐมนตรี ในส่วนท่ีเกี่ยวกับสานักงาน ปลัดสานักนายกรัฐมนตรแี ละสว่ นราชการท่ีมิไดข้ ึน้ ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรดี ว้ ยโดยอนโุ ลม๑๖ มาตรา ๑๗ สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการประจาทั่วไปของสานัก นายกรัฐมนตรี และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหน่ึงในสังกัดสานัก นายกรัฐมนตรีโดยเฉพาะ รวมท้ังกากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ให้ เปน็ ไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นราชการของส่วนราชการ ซึง่ กฎหมายกาหนดให้หวั หน้าสว่ นราชการขนึ้ ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรี ในกรณีที่สานักนายกรัฐมนตรีมีทบวงอยู่ในสังกัดและยังไม่สมควรจัดตั้งสานักงานปลัดทบวงตามมาตรา ๒๕ วรรคสาม จะใหส้ านักงานปลัดสานกั นายกรัฐมนตรที าหน้าทส่ี านักงานปลดั ทบวงด้วยกไ็ ด้ ๑๕ มาตรา ๑๕ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๖ มาตรา ๑๖ วรรคหา้ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

-๘- หมวด ๒ การจดั ระเบยี บราชการในกระทรวงหรือทบวง มาตรา ๑๘ ใหจ้ ดั ระเบยี บราชการของกระทรวง ดังน้ี (๑) สานักงานรฐั มนตรี (๒) สานกั งานปลดั กระทรวง (๓) กรม หรือสว่ นราชการทเี่ รยี กชือ่ อยา่ งอ่ืน เวน้ แตบ่ างกระทรวงเหน็ วา่ ไม่มีความจาเป็นจะไม่แยกส่วน ราชการต้ังขึน้ เป็นกรมก็ได้ ใหส้ ่วนราชการตาม (๒) และสว่ นราชการที่เรยี กชื่ออย่างอน่ื ตาม (๓) มฐี านะเปน็ กรม กระทรวงใดมคี วามจาเป็นจะต้องมีส่วนราชการเพ่ือทาหน้าท่ีจัดทานโยบายและแผน กากับ เร่งรัด และ ติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง จะจัดระเบียบบริหารราชการโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี เพื่อใหม้ ีสานกั นโยบายและแผนเป็นสว่ นราชการภายใน ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงก็ได้ ในกระทรวงจะตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่วนราชการเพื่อรับผิดชอบภาระหน้าท่ีใดโดยเฉพาะซ่ึงไม่มี ฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการดังกล่าวเป็นอธิบดีหรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นท่ีมีฐานะเป็น อธิบดีก็ได้ ในกรณีเช่นน้ันให้อธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นดังกล่าวมีอานาจหน้าที่สาหรับส่วน ราชการน้ันเช่นเดียวกับอธิบดี ตามท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้คณะอนุกรรมการสามัญประจากระทรวง ทาหน้าทค่ี ณะอนุกรรมการสามญั ประจากรม สาหรบั สว่ นราชการนน้ั ๑๗ การตราพระราชกฤษฎกี าตามวรรคสี่ให้กระทาได้ในกรณเี ปน็ การยบุ รวม หรือโอนกรมในกระทรวงใดมา จัดตั้งเป็นส่วนราชการตามวรรคส่ีในกระทรวงน้ันหรือกระทรวงอ่ืน โดยไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของ ข้าราชการหรือลกู จ้างเพมิ่ ขน้ึ และใหน้ าความในมาตรา ๘ ทวิ และมาตรา ๘ เบญจ มาใชบ้ ังคับโดยอนุโลม๑๘ การแต่งต้งั อธบิ ดหี รือผูด้ ารงตาแหนง่ ทเ่ี รยี กชือ่ อย่างอื่นของส่วนราชการตามวรรคส่ี ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เป็นผู้นาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ และให้ผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าวเป็นผู้ดารงตาแหน่งระดับสูงตาม กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ๑๙ ก่อนที่คณะรัฐมนตรีจะให้ความเห็นชอบในร่างพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังส่วนราชการตามวรรคส่ีของ กระทรวงใด ใหน้ ายกรฐั มนตรีสง่ รา่ งพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวตอ่ สภาผ้แู ทนราษฎรและวฒุ สิ ภาเพ่อื ทราบ๒๐ ใหน้ าความในวรรคสี่ วรรคห้า วรรคหก และวรรคเจ็ด มาใช้บังคบั กบั สานกั นายกรัฐมนตรีและทบวงตาม หมวด ๓ โดยอนุโลม๒๑ มาตรา ๑๙๒๒ กระทรวงมีอานาจหน้าที่ตามทีก่ าหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ๑๗ มาตรา ๑๘ วรรคสี่ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๘ มาตรา ๑๘ วรรคห้า เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๙ มาตรา ๑๘ วรรคหก เพมิ่ โดยพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๐ มาตรา ๑๘ วรรคเจด็ เพิม่ โดยพระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๑ มาตรา ๑๘ วรรคแปด เพิม่ โดยพระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๒ มาตรา ๑๙ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

-๙- การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหน่ึง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ส่วนการจัดระเบียบราชการในกระทรวงท่ีเก่ียวกับการทหาร และการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย การนั้น มาตรา ๑๙/๑๒๓ ให้ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจและหัวหน้าส่วนราชการต้ังแต่ระดับกรมข้ึนไป วางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่วนราชการต่าง ๆ ในกระทรวงร่วมกันเพ่ือให้เกิด ประสทิ ธภิ าพ ความคุม้ คา่ และบรรลเุ ปา้ หมายของกระทรวง เพือ่ ประโยชน์ในการดาเนนิ การตามวรรคหน่ึง หัวหน้าส่วนราชการและหัวหน้ากลุ่มภารกิจดังกล่าวจะมี มติใหน้ างบประมาณท่ีแตล่ ะส่วนราชการได้รับจัดสรรมาดาเนนิ การและใช้จา่ ยร่วมกันกไ็ ด้ มาตรา ๒๐๒๔ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๑ ในกระทรวงหน่ึง ให้มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคน หน่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธ์ิของงานใน กระทรวงให้สอดคล้องกบั นโยบายท่ีคณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ โดยจะ ให้มีรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงเปน็ ผ้ชู ว่ ยสง่ั และปฏบิ ัติราชการกไ็ ด้ ในกรณที ม่ี รี ฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวง การส่ังหรอื การปฏบิ ตั ิราชการของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย ในกรณีทร่ี ัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม แตม่ ไิ ด้สงั กัดกระทรวง รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงจะมอบหมายให้รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ ได้ มาตรา ๒๑๒๕ ในกระทรวงให้มปี ลดั กระทรวงคนหน่งึ มอี านาจหน้าท่ี ดงั น้ี (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏิบัติ ราชการ กากับการทางานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบัติงานของส่วน ราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมท้ังเร่งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วน ราชการในกระทรวง (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของสว่ นราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ สานกั งานปลดั กระทรวง ในการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จะให้มีรองปลัดกระทรวงคนหน่ึงเป็นผู้ช่วยส่ัง และปฏิบตั ิราชการตามท่ีปลดั กระทรวงมอบหมายกไ็ ด้ ภายในกระทรวงจะออกกฎกระทรวงกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมต้ังแต่สองส่วนราชการข้ึนไปอยู่ ภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผู้ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีคนหนึ่งเป็นหัวหน้ากลุ่ม ภารกจิ รับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกลุม่ ภารกิจน้ัน โดยปฏิบัติราชการข้ึนตรง ๒๓ มาตรา ๑๙/๑ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๔ มาตรา ๒๐ แกไ้ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๕ มาตรา ๒๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

- ๑๐ - ต่อปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณีที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีต้อง รายงานผลการดาเนนิ งานต่อปลัดกระทรวงตามท่กี าหนดโดยกฎกระทรวง ในกลุ่มภารกิจเดียวกัน หัวหน้ากลุ่มภารกิจอาจกาหนดให้ส่วนราชการของส่วนราชการระดับกรมแห่ง หนึ่งปฏิบัติงานท่ีเก่ียวกับสารบรรณ บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรือการบริหารงานทั่วไปให้แก่ส่วนราชการแห่ง อนื่ ภายใต้กลมุ่ ภารกจิ เดียวกันกไ็ ด้ กระทรวงใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริมาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและ ปฏบิ ตั ริ าชการเพม่ิ ขึน้ เปน็ สองคนกไ็ ด้ ในกรณีท่ีกระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่มภารกิจก็ได้ และให้อานาจหน้าท่ีของปลัดกระทรวงที่เก่ียวกับราชการของส่วนราชการในกลุ่มภารกิจเป็นอานาจหน้าที่ของ หัวหน้ากลุ่มภารกิจนน้ั ทง้ั น้ี เวน้ แต่จะมกี ฎกระทรวงกาหนดไวเ้ ปน็ อย่างอืน่ กระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น และมีความจาเป็นอย่างย่ิงต้องมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าที่กาหนดไว้ใน วรรคห้าหรอื วรรคหก คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะร่วมกันอนุมัติ ให้กระทรวงนัน้ มรี องปลัดกระทรวงเพมิ่ ขน้ึ เปน็ กรณีพเิ ศษโดยจะกาหนดเงอื่ นไขหรอื เงอ่ื นเวลาไว้ดว้ ยหรือไมก่ ็ได้๒๖ ในการดาเนินการตามวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจัดให้มีการประชุมพิจารณา ร่วมกัน โดยกรรมการแต่ละฝ่ายจะต้องมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงจึงจะเป็นองค์ประชุม และในการออกเสียงลง มตจิ ะต้องได้คะแนนเสียงของกรรมการแต่ละฝ่ายเกินกว่ากึ่งหน่ึงของกรรมการฝ่ายดังกล่าวที่มาประชุม แล้วให้นา มติดงั กลา่ วเสนอคณะรัฐมนตรพี จิ ารณาต่อไป๒๗ มาตรา ๒๒ สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรีซ่ึง เป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานรัฐมนตรี ข้ึนตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองคนหน่ึงหรือ หลายคนเป็นผู้ช่วยส่ังหรอื ปฏิบตั ริ าชการแทนเลขานุการรฐั มนตรกี ไ็ ด้ มาตรา ๒๓ สานักงานปลัดกระทรวงมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวง และ ราชการทีค่ ณะรัฐมนตรีมไิ ดก้ าหนดให้เปน็ หน้าที่ของกรมใดกรมหน่ึงในสงั กดั กระทรวงโดยเฉพาะ รวมท้ังกากับและ เร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการ ของกระทรวง ในกรณีที่กระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัดและยังไม่สมควรจัดต้ังสานักงานปลัดทบวงตามมาตรา ๒๕ วรรค สาม จะใหส้ านักงานปลดั กระทรวงทาหน้าที่สานกั งานปลดั ทบวงดว้ ยก็ได้ มาตรา ๒๔ การจัดระเบียบราชการในทบวงซ่ึงมีฐานะเทียบเท่ากระทรวงให้อนุโลมตามการจัดระเบียบ ราชการของกระทรวงซ่ึงบญั ญัติไว้ในมาตรา ๑๘ ถึงมาตรา ๒๓ ๒๖ มาตรา ๒๑ วรรคเจด็ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒๗ มาตรา ๒๑ วรรคแปด เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๑๑ - หมวด ๓ การจดั ระเบียบราชการในทบวงซ่ึงสงั กัดสานกั นายกรฐั มนตรีหรือกระทรวง มาตรา ๒๕ ราชการส่วนใดซึ่งโดยสภาพและปริมาณของงานไม่เหมาะสมท่ีจะจัดตั้งเป็นกระทรวงหรือ ทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง จะจัดต้ังเป็นทบวงสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง เพ่ือให้มี รัฐมนตรีว่าการทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวงก็ได้ และให้จัด ระเบยี บราชการในทบวงดงั นี้ (๑) สานักงานรัฐมนตรี (๒) สานกั งานปลดั ทบวง (๓) กรม หรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืน เว้นแต่บางทบวงซึ่งเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่แยกส่วน ราชการต้งั ขึ้นเปน็ กรมก็ได้ ใหส้ ่วนราชการตาม (๒) และสว่ นราชการทเ่ี รียกชือ่ อยา่ งอื่นตาม (๓) มีฐานะเปน็ กรม ในกรณีที่สานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัด และปริมาณและคุณภาพของราชการใน ทบวงยังไม่สมควรจัดตง้ั สานักงานปลดั ทบวง จะให้สานกั งานปลัดสานักนายกรฐั มนตรีหรือสานักงานปลัดกระทรวง ทาหน้าท่ีสานักงานปลดั ทบวงดว้ ยกไ็ ด้ มาตรา ๒๖ การจัดระเบียบราชการในทบวงหนึ่ง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม สว่ นการจดั ระเบยี บราชการในทบวงมหาวทิ ยาลยั ให้เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการนน้ั ทบวงมอี านาจหนา้ ท่ตี ามท่ีกาหนดไวใ้ นกฎหมายวา่ ดว้ ยการปรบั ปรุงกระทรวงทบวง กรม มาตรา ๒๗ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๑ ทบวงหนึ่งมีรัฐมนตรีว่าการทบวงเป็นผู้บังคับบัญชา ข้าราชการ และกาหนดนโยบายของทบวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ และ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวง และจะให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ ได้ ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวงให้ เปน็ ไปตามท่รี ฐั มนตรวี ่าการทบวงมอบหมาย ในกรณีที่เป็นทบวงสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้รัฐมนตรีว่าการทบวงปฏิบัติราชการ ภายใตก้ ารกากบั ของนายกรัฐมนตรหี รอื รัฐมนตรีว่าการกระทรวง แล้วแต่กรณี มาตรา ๒๘ ทบวง นอกจากมรี ัฐมนตรีว่าการทบวงและรฐั มนตรีช่วยวา่ การทบวง ใหม้ ีปลัดทบวงคนหน่ึง มีอานาจหนา้ ท่ดี ังน้ี (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในทบวง กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของทบวง และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจาปีของส่วนราชการในทบวงให้เป็นไปตามนโยบายท่ี รัฐมนตรกี าหนด รวมท้ังกากบั เร่งรดั ติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการของส่วนราชการในทบวง (๒) เป็นผบู้ งั คบั บญั ชาข้าราชการของส่วนราชการในทบวงรองจากรัฐมนตรี

- ๑๒ - (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดทบวงและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ สานกั งานปลัดทบวง ในการปฏิบัติราชการของปลัดทบวงตามวรรคหนึ่ง ให้มีรองปลัดทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะให้มผี ชู้ ่วยปลดั ทบวงเปน็ ผ้ชู ว่ ยส่ังและปฏิบัตริ าชการดว้ ยก็ได้ ในกรณีท่ีมีรองปลัดทบวงหรอื ผ้ชู ว่ ยปลัดทบวง หรือมีทั้งรองปลัดทบวงและผู้ช่วยปลัดทบวง ให้รองปลัด ทบวงหรอื ผชู้ ่วยปลัดทบวงเปน็ ผ้บู งั คับบัญชาข้าราชการและรบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการรองจากปลัดทบวง ให้รองปลัดทบวง ผู้ช่วยปลัดทบวง และผู้ดารงตาแหน่งท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนในสานักงานปลัดทบวง มี อานาจหนา้ ทต่ี ามทป่ี ลัดทบวงกาหนดหรือมอบหมาย ในกรณที ่ปี ลดั ทบวงจะตอ้ งปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือคาส่ังใด หรือมติขอคณะรัฐมนตรี ในเร่ืองใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาส่ังน้ัน หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเร่ืองน้ันมิได้กล่าวถึงอานาจ ของปลัดทบวงไวใ้ ห้ปลดั ทบวงมอี านาจดงั เช่นปลดั กระทรวง ในกรณีที่ให้สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือสานักงานปลัดกระทรวงทาหน้าท่ีสานักงานปลัด ทบวง ใหป้ ลดั สานักนายกรฐั มนตรีหรือปลดั กระทรวงทาหนา้ ที่ปลดั ทบวง มาตรา ๒๙ สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรีซ่ึง เป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานรัฐมนตรี ขน้ึ ตรงต่อรัฐมนตรวี ่าการทบวง และจัดใหม้ ผี ชู้ ว่ ยเลขานกุ ารรัฐมนตรี ซึง่ เป็นข้าราชการการเมืองคนหน่ึงหรือหลาย คนเปน็ ผูช้ ่วยสง่ั หรอื ปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรฐั มนตรกี ไ็ ด้ มาตรา ๓๐ สานักงานปลัดทบวงมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการประจาทั่วไปของทบวง และราชการท่ี คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าท่ีของกรมใดกรมหน่ึงในสังกัดทบวงโดยเฉพาะ รวมท้ังกากับและเร่งรัดการ ปฏิบตั ริ าชการของสว่ นราชการในทบวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏบิ ัตริ าชการของทบวง หมวด ๔ การจัดระเบยี บราชการในกรม มาตรา ๓๑ กรมซ่ึงสังกัดหรือไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวงอาจแบ่งส่วนราชการ ดงั นี้ (๑) สานกั งานเลขานกุ ารกรม (๒) กองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง เว้นแต่บางกรมเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่แยกส่วน ราชการต้งั ขึ้นเป็นกองกไ็ ด้ กรมใดมคี วามจาเปน็ จะแบง่ สว่ นราชการโดยให้มสี ่วนราชการอ่นื นอกจาก (๑) หรอื (๒) กไ็ ด้ สาหรบั สานักงานตารวจแหง่ ชาติ จะแบง่ ส่วนราชการให้เหมาะสมกบั ราชการของตารวจกไ็ ด้๒๘ ๒๘ มาตรา ๓๑ วรรคสาม แกไ้ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓

- ๑๓ - มาตรา ๓๒๒๙ กรมมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการของกระทรวงตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวงแบ่งส่วน ราชการของกรม หรอื ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยอานาจหนา้ ท่ีของกรมน้นั ในกรมหนง่ึ มีอธบิ ดคี นหนง่ึ เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรมให้ เกิดผลสัมฤทธิ์และเป็นไปตามเป้าหมาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงและในกรณีที่มี กฎหมายอื่นกาหนดอานาจหน้าท่ีของอธิบดีไว้เป็นการเฉพาะ การใช้อานาจและการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ดังกล่าวให้คานึงถึงนโยบายท่ีคณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ และนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบตั ิราชการของกระทรวงด้วย ในกรมหนึ่งจะให้มีรองอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรองจากอธิบดีและช่วยอธิบดีปฏิบัติราชการ ก็ได้ รองอธิบดมี ีอานาจหน้าทต่ี ามที่อธิบดีกาหนดหรือมอบหมาย มาตรา ๓๓ สานักงานเลขานุการกรมมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการท่ัวไปของกรม และราชการที่มิได้ แยกให้เป็นหน้าท่ีของกองหรือส่วนราชการใดโดยเฉพาะมีเลขานุการกรมเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และ รบั ผดิ ชอบในการปฏิบัตริ าชการของสานกั งานเลขานุการกรม ส่วนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่ง (๒) และส่วนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง ให้มีอานาจ หน้าที่ตามท่ีได้กาหนดไว้ให้เป็นหน้าท่ีของส่วนราชการน้ัน ๆ โดยให้มีผู้อานวยการกอง หัวหน้ากอง หรือหัวหน้า สว่ นราชการท่เี รยี กชอื่ อย่างอนื่ ท่เี ทยี บเท่ากบั ผู้อานวยการกอง หรอื หวั หนา้ กองหรือหัวหนา้ ส่วนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง เป็นผบู้ ังคบั บัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ มาตรา ๓๔ กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อให้ มหี วั หน้าสว่ นราชการประจาเขตแล้วแตจ่ ะเรียกช่อื เพอ่ื ปฏิบตั ิงานทางวิชาการกไ็ ด้ หัวหน้าส่วนราชการประจาเขตมีอานาจหน้าที่เป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากกระทรวง ทบวง กรม มาปฏบิ ัตงิ านทางวชิ าการ และเปน็ ผู้บังคบั บญั ชาข้าราชการประจาสานักงานเขตซ่งึ สงั กัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น ความในมาตรานี้ไม่ใช้บังคับแก่การแบ่งเขตและการปกครองบังคับบัญชาของตารวจซึ่งได้กาหนดโดย พระราชกฤษฎกี า๓๐ มาตรา ๓๕ กระทรวง ทบวง หรือกรมใดโดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมีผู้ตรวจราชการของ กระทรวง ทบวง หรือกรมนนั้ กใ็ หก้ ระทาได้ ผู้ตรวจราชการของกระทรวง ทบวง หรือกรม มีอานาจหน้าท่ีตรวจและแนะนาการปฏิบัติราชการอัน เกี่ยวกบั กระทรวง ทบวง หรอื กรมน้นั ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับของกระทรวง ทบวง หรือกรม หรือมติของคณะรฐั มนตรี หรือการส่ังการของนายกรฐั มนตรี มาตรา ๓๖ ส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรมจะมีเลขาธิการ ผู้อานวยการ หรือ ตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนซ่ึงเทียบเท่าปลัดกระทรวงหรืออธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบใน ๒๙ มาตรา ๓๒ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๓๐ มาตรา ๓๔ วรรคสาม แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓

- ๑๔ - การปฏิบัติราชการของสว่ นราชการน้ันใหเ้ ป็นไปตามท่กี ฎหมายกาหนด และจะใหม้ รี องเลขาธกิ าร รองผู้อานวยการ หรือตาแหน่งรองของตาแหน่งท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนหรือผู้ช่วยเลขาธิการ ผู้ช่วยผู้อานวยการหรือตาแหน่งผู้ช่วยของ ตาแหน่งท่ีเรียกชื่ออย่างอื่น หรือมีทั้งรองเลขาธิการ และผู้ช่วยเลขาธิการหรือทั้งรองผู้อานวยการและผู้ช่วย อานวยการ หรือท้ังตาแหน่งรองและตาแหน่งผู้ช่วยของตาแหน่งท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืน เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และช่วยปฏบิ ัตริ าชการแทนกไ็ ด้ มาตรา ๓๗ ให้นาความในมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ มาใช้บังคับ แกส่ ่วนราชการท่เี รยี กชอ่ื อยา่ งอ่นื และมฐี านะเปน็ กรมโดยอนโุ ลม หมวด ๕ การปฏิบัติราชการแทน มาตรา ๓๘๓๑ อานาจในการส่ัง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการดาเนินการอื่นท่ีผู้ ดารงตาแหน่งใดจะพึงปฏิบัติหรือดาเนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่งใด หรือมติของ คณะรัฐมนตรีในเร่อื งใด ถ้ากฎหมาย กฎ ระเบยี บ ประกาศ หรือคาสั่งน้ัน หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิได้ กาหนดเร่ืองการมอบอานาจไว้เป็นอย่างอ่ืน หรือมิได้ห้ามเร่ืองการมอบอานาจไว้ ผู้ดารงตาแหน่งนั้นอาจมอบ อานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกันหรือส่วนราชการอ่ืน หรือผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ปฏิบัติ ราชการแทนได้ ท้งั นี้ ตามหลักเกณฑ์ท่กี าหนดในพระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึงอาจกาหนดให้มีการมอบอานาจในเรื่องใดเรื่องหน่ึงตลอดจนการมอบ อานาจใหท้ านิติกรรมสัญญา ฟอ้ งคดีและดาเนินคดี หรือกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขในการมอบอานาจ หรอื ท่ีผรู้ บั มอบอานาจต้องปฏิบัตกิ ็ได้ ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับอานาจในการอนุญาตตามกฎหมายท่ีบัญญัติให้ต้องออกใบอนุญาต หรือที่บัญญัติผู้มีอานาจอนุญาตไว้เป็นการเฉพาะ ในกรณีเช่นน้ันให้ผู้ดารงตาแหน่งซ่ึงมีอานาจตามกฎหมาย ดงั กลา่ วมอี านาจมอบอานาจใหข้ ้าราชการซ่งึ เป็นผู้ใตบ้ งั คับบัญชาและผู้วา่ ราชการจังหวัดได้ตามท่ีเห็นสมควร หรือ ตามท่ีคณะรฐั มนตรกี าหนดในกรณมี อบอานาจใหผ้ วู้ ่าราชการจังหวัด ให้ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมีอานาจมอบอานาจได้ ตอ่ ไปตามหลักเกณฑ์และเงอ่ื นไขทีผ่ มู้ อบอานาจกาหนด ในกรณีตามวรรคสาม เพ่ือประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนจะตราพระราชกฤษฎีกา กาหนดรายชื่อกฎหมายที่ผู้ดารงตาแหน่งซ่ึงมีอานาจตามกฎหมายดังกล่าวอาจมอบอานาจตามวรรคหน่ึงตาม หลักเกณฑแ์ ละเงือ่ นไขทกี่ าหนดในพระราชกฤษฎีกาดงั กล่าวก็ได้ การมอบอานาจใหท้ าเปน็ หนังสือ มาตรา ๓๙๓๒ เมื่อมีการมอบอานาจแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจนั้น โดยผู้มอบ อานาจจะกาหนดให้ผู้รับมอบอานาจมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนต่อไป โดยจะกาหนด หลักเกณฑ์หรือเง่ือนไขในการใช้อานาจนั้นไว้ด้วยหรือไม่ก็ได้ แต่ในกรณีการมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ๓๑ มาตรา ๓๘ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๒ มาตรา ๓๙ แกไ้ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๑๕ - คณะรัฐมนตรีจะกาหนดหลักเกณฑ์ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องมอบอานาจต่อไปให้รองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัด จังหวดั หรอื หัวหนา้ สว่ นราชการที่เกย่ี วขอ้ งในจงั หวัดก็ได้ มาตรา ๔๐๓๓ ในการมอบอานาจ ให้ผู้มอบอานาจพิจารณาถึงการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ความรวดเรว็ ในการปฏิบัติราชการ การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตาแหน่งของผู้รับมอบอานาจ และ ผรู้ บั มอบอานาจต้องปฏิบตั ิหนา้ ท่ที ไี่ ด้รับมอบอานาจตามวัตถปุ ระสงคข์ องการมอบอานาจดงั กลา่ ว เม่ือได้มอบอานาจแล้ว ผู้มอบอานาจมีหน้าท่ีกากับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบ อานาจ และใหม้ อี านาจแนะนาหรือแก้ไขการปฏบิ ัตริ าชการของผรู้ บั มอบอานาจได้ มาตรา ๔๐/๑๓๔ ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการภายในกรม ถ้าการปฏิบัติราชการใดของส่วน ราชการน้ันมลี กั ษณะเป็นงานการให้บริการหรือมีการให้บริการเก่ียวเน่ืองอยู่ด้วยและหากแยกการบริหารออกเป็น หน่วยบริการรูปแบบพิเศษจะบรรลุเป้าหมายตามมาตรา ๓/๑ ย่ิงขึ้น ส่วนราชการดังกล่าวโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรีจะแยกการปฏบิ ตั ริ าชการในเรอื่ งนั้น ไปจดั ตง้ั เป็นหนว่ ยบริการรูปแบบพิเศษ ซึ่งมิใช่เป็นส่วนราชการ หรอื รฐั วิสาหกิจแต่อยู่ในกากับของสว่ นราชการดังกลา่ วกไ็ ด้ ทัง้ น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรี ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีตามวรรคหน่ึงอย่างน้อยให้กาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดตั้ง การมอบ อานาจให้ปฏิบัติราชการแทน วิธีการบริหารงาน การดาเนินการด้านทรัพย์สิน การกากับดูแลสิทธิประโยชน์ของ บุคลากรและการยุบเลกิ ไว้ด้วย ให้หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ มีหน้าที่ปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการตามภารกิจท่ีจัดตั้งหน่วยบริการ รูปแบบพิเศษนั้นเป็นหลัก และสนับสนุนภารกิจอื่นของส่วนราชการดังกล่าวตามท่ีได้รับมอบหมาย และอาจ ให้บริการแก่ส่วนราชการอ่ืน หน่วยงานของรัฐหรือเอกชน แต่ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อภารกิจอันเป็น วัตถปุ ระสงค์แห่งการจัดตงั้ ให้รายได้ของหน่วยบริการรูปแบบพิเศษเป็นรายได้ท่ีไม่ต้องนาส่งคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณและกฎหมายวา่ ด้วยเงินคงคลงั หมวด ๖ การรกั ษาราชการแทน มาตรา ๔๑ ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการ แทน ถ้ามีรองนายกรัฐมนตรีหลายคน ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษา ราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ค ณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รฐั มนตรคี นใดคนหน่งึ เปน็ ผรู้ ักษาราชการแทน มาตรา ๔๒ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงเป็นผรู้ กั ษาราชการแทน ถ้ามีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงหลายคน ให้คณะรัฐมนตรี ๓๓ มาตรา ๔๐ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๔ มาตรา ๔๐/๑ เพม่ิ โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๑๖ - มอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคนใดคนหน่ึงเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหน่ึงเป็น ผูร้ กั ษาราชการแทน ให้นาความในวรรคหนึ่งมาใช้บงั คบั แก่รฐั มนตรวี ่าการทบวงด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๔๓ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขานุการรัฐมนตรี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีหลายคน ให้รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมอบหมายให้ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีคนใดคนหน่ึงเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรี ใหร้ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงแตง่ ต้ังข้าราชการในกระทรวงคนหน่ึงเปน็ ผ้รู กั ษาราชการแทน ให้นาความในวรรคหนึง่ มาใชบ้ งั คบั แกเ่ ลขานุการรัฐมนตรีวา่ การทบวงด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๔๔ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รอง ปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรองปลัดกระทรวงหลายคน ให้นายกรัฐมนตรีสาหรับสานัก นายกรฐั มนตรีหรอื รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงแตง่ ตัง้ รองปลัดกระทรวงคนใดคนหน่ึงเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มี ผดู้ ารงตาแหนง่ รองปลดั กระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้นายกรัฐมนตรีสาหรับสานักนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแต่งต้ังข้าราชการในกระทรวงซ่ึงดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีหรือเทียบเท่าเป็น ผูร้ ักษาราชการแทน ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ปลัดกระทรวงจะ แตง่ ต้ังข้าราชการในกระทรวงซงึ่ ดารงตาแหนง่ ไม่ต่ากวา่ ผอู้ านวยการกองหรอื เทยี บเทา่ เปน็ ผ้รู ักษาราชการแทนกไ็ ด้ มาตรา ๔๕ ให้นาความในมาตรา ๔๔ มาใช้บังคับแก่กรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งปลัดทบวงหรือรองปลัด ทบวงตามมาตรา ๒๔ หรอื มาตรา ๒๘ ดว้ ยโดยอนุโลม มาตรา ๔๖ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งอธิบดี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองอธิบดีเป็น ผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรองอธิบดีหลายคน ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งรองอธิบดีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการ แทน ถา้ ไม่มผี ู้ดารงตาแหน่งรองอธิบดีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งข้าราชการในกรม ซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดี หรือข้าราชการต้ังแต่ตาแหน่งหัวหน้ากองหรือเทียบเท่าข้ึนไปคนใดคนหน่ึง เปน็ ผรู้ ักษาราชการแทน แต่ถา้ นายกรฐั มนตรีสาหรบั สานกั นายกรัฐมนตรี หรอื รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเห็นสมควร เพอื่ ความเหมาะสมแกก่ ารรับผดิ ชอบการปฏิบัติราชการในกรมนั้น นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงจะ แต่งต้ังข้าราชการคนใดคนหนึ่งซึง่ ดารงตาแหนง่ ไม่ตา่ กวา่ รองอธิบดีหรอื เทียบเท่า เป็นผู้รกั ษาราชการแทนก็ได้ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองอธิบดี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้อธิบดีจะแต่งตั้งข้าราชการใน กรมซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดี หรือข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งหัวหน้ากองหรือเทียบเท่าขึ้นไปเป็นผู้รักษา ราชการแทนก็ได้ ใหน้ าความในวรรคหนึง่ และวรรคสองมาใช้บังคับแก่กรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขาธิการ รองเลขาธิการ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หรือตาแหน่งท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นซ่ึงเทียบเท่าปลัดกระทรวงหรืออธิบดี ในส่วน ราชการท่เี รียกช่ืออยา่ งอืน่ และมีฐานะเปน็ กรมดว้ ยโดยอนุโลม

- ๑๗ - มาตรา ๔๗ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขานุการกรมตามมาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง หรือหัวหน้าส่วน ราชการตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมคนหนึ่ง ซึ่ง ดารงตาแหน่งไมต่ ่ากว่าหวั หนา้ กองหรอื เทียบเทา่ เป็นผู้รกั ษาราชการแทน ให้นาความในมาตรานมี้ าใช้บังคบั แก่ส่วนราชการท่เี รียกชอ่ื อย่างอ่นื และมีฐานะเปน็ กรมด้วยโดยอนโุ ลม มาตรา ๔๘ ให้ผู้รักษาราชการแทนตามความในพระราชบัญญัติน้ีมีอานาจหน้าท่ีเช่นเดียวกับผู้ซึ่งตน แทน ในกรณีท่ีผู้ดารงตาแหน่งใดหรือผู้รักษาราชการแทนผู้ดารงตาแหน่งน้ันมอบหมายหรือมอบอานาจให้ผู้ ดารงตาแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทน ให้ผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซ่ึงมอบหมายหรือมอบ อานาจ ในกรณีท่ีมีกฎหมายอื่นแต่งต้ังให้ผู้ดารงตาแหน่งใดเป็นกรรมการหรือให้มีอานาจหน้าท่ีอย่างใด ให้ ผู้รักษาราชการแทนหรือผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอานาจหน้าที่เป็นกรรมการหรือมีอานาจหน้าท่ีเช่นเดียวกับผู้ดารง ตาแหนง่ น้ันในการรกั ษาราชการแทนหรือปฏิบัตริ าชการแทนดว้ ย แล้วแตก่ รณี มาตรา ๔๙ การเป็นผู้รักษาราชการแทนตามพระราชบัญญัตินี้ไม่กระทบกระเทือนอานาจ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ปลัดกระทรวง หรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่าปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดี หรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่าอธิบดี ซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาที่จะแต่งต้ังข้าราชการอ่ืนเป็นผู้รักษาราชการแทนตาม อานาจหน้าท่ที ่ีมอี ยตู่ ามกฎหมาย ในกรณีท่ีมีการแต่งต้ังผู้รักษาราชการแทนตามวรรคหน่ึง ให้ผู้ดารงตาแหน่งรองหรือผู้ช่วยพ้นจากความ เป็นผูร้ ักษาราชการแทนนับแตเ่ วลาทผี่ ้ไู ดร้ ับแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งเข้ารับหนา้ ที่ มาตรา ๕๐ ความในหมวดนี้มิใหใ้ ชบ้ งั คบั แกร่ าชการในกระทรวงท่ีเกย่ี วกบั ทหาร หมวด ๗ การบรหิ ารราชการในตา่ งประเทศ๓๕ มาตรา ๕๐/๑๓๖ ในหมวดน้ี “คณะผู้แทน” หมายความว่า บรรดาข้าราชการฝ่ายพลเรือน หรือข้าราชการฝ่ายทหารประจาการใน ต่างประเทศซ่งึ ไดร้ บั แตง่ ตั้งให้ดารงตาแหน่งในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล สถานรองกงสุล ส่วนราชการของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งเรียกชื่อเป็นอย่างอ่ืนและปฏิบัติหน้าท่ีเช่นเดียวกับสถาน เอกอคั รราชทตู หรือสถานกงสลุ ใหญ่ และคณะผแู้ ทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ “หัวหนา้ คณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศซ่ึงได้รับแต่งตั้งให้ดารง ตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทนตามระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ในกรณีของคณะผู้แทนถาวรไทย ๓๕ หมวด ๗ การบริหารราชการในต่างประเทศ มาตรา ๕๐/๑ ถึง มาตรา ๕๐/๖ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติระเบียบ บรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๓๖ มาตรา ๕๐/๑ เพิม่ โดยพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

- ๑๘ - ประจาองค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความว่า ข้าราชการสังกัดส่วนราชการซึ่งได้รับแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง หวั หน้าคณะผแู้ ทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ “รองหัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งได้รับแต่งต้ังให้ ดารงตาแหน่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทน ในกรณีของคณะผู้แทนถาวรไทยประจา องค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความวา่ ข้าราชการสังกดั ส่วนราชการ ซึ่งไดร้ ับแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งในลักษณะ เดียวกัน มาตรา ๕๐/๒๓๗ ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้า รัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับการปฏิบัติราชการในต่างประเทศ และ เป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบุคคลในคณะผู้แทน และจะให้มีรองหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้ช่วยส่ังและปฏิบัติราชการ แทนหวั หนา้ คณะผแู้ ทนกไ็ ด้ การส่ัง และการปฏบิ ตั ริ าชการของกระทรวง ทบวง กรม ต่อบคุ คลในคณะผู้แทนให้เป็นไปตามระเบียบที่ คณะรฐั มนตรกี าหนด หัวหน้าคณะผู้แทนอาจมอบอานาจให้บุคคลในคณะผู้แทนปฏิบัติราชการแทนตามระเบียบที่ คณะรฐั มนตรีกาหนด มาตรา ๕๐/๓๓๘ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ รองหัวหนา้ คณะผแู้ ทนรักษาราชการแทน ในกรณีท่ีไม่มีรองหวั หน้าคณะผู้แทนท่จี ะรักษาราชการแทนตามวรรคหนงึ่ หรือไม่มีผู้ดารงตาแหน่งใดอัน เป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือมีแต่บุคคลดังกล่าวไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้การรักษาราชการแทนหัวหน้าคณะ ผูแ้ ทนหรอื ผดู้ ารงตาแหนง่ ใดอันเป็นบคุ คลในคณะผแู้ ทน เปน็ ไปตามระเบียบทค่ี ณะรัฐมนตรกี าหนด ความในวรรคหนึ่งไม่ใชบ้ งั คบั กับขา้ ราชการฝา่ ยทหารประจาการในตา่ งประเทศ มาตรา ๕๐/๔๓๙ หัวหนา้ คณะผแู้ ทนมอี านาจและหน้าที่ ดังน้ี (๑) บรหิ ารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ (๒) บริหารราชการตามท่ีคณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่ง การในฐานะหวั หน้ารฐั บาล (๓) บงั คับบญั ชาบคุ คลในคณะผแู้ ทนและขา้ ราชการฝ่ายพลเรือนท่มี ิใชบ่ คุ คลในคณะผู้แทนซึ่งประจาอยู่ ในประเทศท่ีตนมีอานาจหน้าที่ เพื่อให้การปฏิบัติราชการเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาส่ังของ กระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรฐั มนตรี หรอื การส่งั การของนายกรฐั มนตรใี นฐานะหวั หน้ารัฐบาล (๔) รายงานข้อเท็จจริงและความเห็นเก่ียวกับผลการปฏิบัติราชการของบุคคลตาม (๓) เพื่อ ประกอบการพจิ ารณาของผบู้ ังคบั บัญชาของส่วนราชการต้นสังกดั เกย่ี วกับการแตง่ ตง้ั และการเล่ือนข้นั เงินเดอื น ๓๗ มาตรา ๕๐/๒ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๓๘ มาตรา ๕๐/๓ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๓๙ มาตรา ๕๐/๔ เพม่ิ โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

- ๑๙ - มาตรา ๕๐/๕๔๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีว่าการทบวง ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอานาจให้หัวหน้าคณะผู้แทนปฏิบัติ ราชการแทนได้ ในการนี้ให้นาความในมาตรา ๓๘ มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม เมอ่ื มีการมอบอานาจตามวรรคหนง่ึ โดยชอบแลว้ ผู้รับมอบอานาจมีหน้าท่ีต้องรับมอบอานาจน้ัน และจะ มอบอานาจนั้นให้แก่ผู้อื่นต่อไปไม่ได้ เว้นแต่เป็นการมอบอานาจต่อไปให้บุคคลในคณะผู้แทนตามระเบียบท่ี คณะรฐั มนตรกี าหนด เมื่อได้มีการมอบอานาจแล้ว หัวหน้าคณะผู้แทนมีหน้าที่กากับ ติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับ มอบอานาจ และใหม้ ีอานาจแนะนาและแกไ้ ขการปฏบิ ัตริ าชการของผ้รู ับมอบอานาจได้ มาตรา ๕๐/๖๔๑ การท่ีกระทรวง ทบวง กรม จะมอบอานาจหรือมีคาสั่งใดที่เกี่ยวข้องไปยังหัวหน้าคณะ ผ้แู ทน ให้แจ้งผา่ นกระทรวงการตา่ งประเทศ ส่วนท่ี ๒ การจัดระเบียบบรหิ ารราชการสว่ นภมู ภิ าค มาตรา ๕๑ ให้จัดระเบยี บบริหารราชการสว่ นภมู ิภาค ดังนี้ (๑) จังหวดั (๒) อาเภอ หมวด ๑ จงั หวัด มาตรา ๕๒ ให้รวมท้องท่ีหลาย ๆ อาเภอตั้งข้นึ เปน็ จงั หวดั มฐี านะเปน็ นติ ิบุคคล การตง้ั ยบุ และเปล่ียนแปลงเขตจงั หวัด ให้ตราเป็นพระราชบญั ญตั ิ เพ่อื ประโยชนใ์ นการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดย่ืน คาขอจัดต้ังงบประมาณได้ ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีนี้ ใหถ้ อื วา่ จังหวัดหรือกลมุ่ จังหวดั เป็นสว่ นราชการตามกฎหมายว่าดว้ ยวธิ ีการงบประมาณ๔๒ มาตรา ๕๒/๑๔๓ ใหจ้ งั หวัดมอี านาจภายในเขตจงั หวดั ดงั ต่อไปนี้ (๑) นาภารกิจของรฐั และนโยบายของรฐั บาลไปปฏิบตั ใิ ห้เกดิ ผลสัมฤทธ์ิ ๔๐ มาตรา ๕๐/๕ เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๔๑ มาตรา ๕๐/๕ เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๔๒ มาตรา ๕๒ วรรคสาม เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๔๓ มาตรา ๕๒/๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๒๐ - (๒) ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและเป็น ธรรมในสังคม (๓) จัดใหม้ ีการคุ้มครอง ปอ้ งกนั ส่งเสริม และชว่ ยเหลือประชาชนและชุมชนที่ด้อยโอกาส เพื่อให้ได้รับ ความเปน็ ธรรมทง้ั ด้านเศรษฐกิจและสังคมในการดารงชีวิตอยา่ งพอเพยี ง (๔) จัดให้มีการบรกิ ารภาครัฐเพือ่ ใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถงึ ได้อยา่ งเสมอหน้า รวดเรว็ และมีคณุ ภาพ (๕) จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้สามารถดาเนินการ ตามอานาจและหนา้ ที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และให้มีขีดความสามารถพร้อมท่ีจะดาเนินการตามภารกิจ ทไ่ี ดร้ ับการถ่ายโอนจากกระทรวง ทบวง กรม (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามท่ีคณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐมอบหมาย หรือทม่ี ีกฎหมายกาหนด เพ่ือประโยชน์ในการปฏบิ ตั หิ น้าทข่ี องจังหวัดตามวรรคหน่ึง ให้เปน็ หน้าท่ีของส่วนราชการและหน่วยงาน ของรฐั ท่ีประจาอยู่ในเขตจังหวัดที่จะต้องปฏบิ ตั ิให้สอดคลอ้ งและเป็นไปตามแผนพัฒนาจงั หวดั ตามมาตรา ๕๓/๑ มาตรา ๕๓๔๔ ในจงั หวัดหนงึ่ ใหม้ คี ณะกรมการจังหวดั ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดใน การบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดน้นั กบั ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีอนื่ ตามทีก่ ฎหมายหรือมตขิ องคณะรฐั มนตรกี าหนด คณะกรมการจังหวัดประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน รองผู้ว่าราชการจังหวัดหน่ึงคน ตามทผ่ี วู้ ่าราชการจงั หวัดมอบหมาย ปลัดจังหวัด อัยการจังหวัดซึ่งเป็นหัวหน้าที่ทาการอัยการจังหวัด ผู้บังคับการ ตารวจภูธรจังหวัด และหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงและท บวงต่าง ๆ เว้นแต่ กระทรวงมหาดไทยซึ่งประจาอยู่ในจังหวัด กระทรวง หรือทบวงละหนึ่งคน เป็นกรมการจังหวัดและหัวหน้า สานักงานจังหวัดเปน็ กรมการจังหวัดและเลขานกุ าร๔๕ ถา้ กระทรวงหรอื ทบวงมีหวั หนา้ ส่วนราชการประจาจังหวัดซ่งึ กรมต่าง ๆ ในกระทรวงหรือทบวงนั้นส่งมา ประจาอย่ใู นจังหวดั มากกว่าหนึ่งคน ให้ปลัดกระทรวงหรือปลัดทบวงกาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด หนึง่ คนเป็นผู้แทนของกระทรวงหรือทบวงในคณะกรมการจงั หวดั ในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหน่ึง เม่ือผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรจะแต่งตั้งให้หัวหน้าส่วนราชการ ประจาจังหวัดซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคคนหน่ึงหรือหลายคนเป็นกรมการจังหวัดเพิ่มขึ้นเฉพาะการ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีใดหนา้ ท่ีหนึง่ กไ็ ด้ มาตรา ๕๓/๑๔๖ ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวดั ในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหน่ึง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือ ร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการท่ีมีสถานที่ต้ังทาการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือ ราชการบริหารส่วนกลางและผ้บู รหิ ารองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ท้งั หมดในจังหวัด รวมท้ังผู้แทนภาคประชาสังคม และผแู้ ทนภาคธรุ กจิ เอกชน ๔๔ มาตรา ๕๓ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๔๕ มาตรา ๕๓ วรรคสอง แก้ไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔๖ มาตรา ๕๓/๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๒๑ - การจัดทาแผนพฒั นาจังหวดั ตามวรรคหนง่ึ จานวนและวธิ กี ารสรรหาผูแ้ ทนภาคประชาสังคม และผู้แทน ภาคธรุ กิจเอกชนตามวรรคสอง ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีก่ าหนดในพระราชกฤษฎีกา เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และการดาเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐท้ังปวงที่กระทาในพื้นท่ีจังหวัดต้องสอดคล้องกับ แผนพัฒนาจงั หวดั ดังกลา่ ว มาตรา ๕๓/๒๔๗ ให้นาความในมาตรา ๕๓/๑ มาใช้บังคับกับการจัดทาแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดด้วยโดย อนุโลม มาตรา ๕๔ ในจังหวัดหนึ่ง ให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดคนหนึ่งเป็นผู้รับนโยบายและคาส่ังจาก นายกรัฐมนตรใี นฐานะหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏบิ ัตกิ ารให้เหมาะสมกับท้องที่และ ประชาชน และเป็นหัวหนา้ บังคบั บญั ชาบรรดาขา้ ราชการฝ่ายบรหิ าร ซง่ึ ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีในราชการส่วนภูมิภาคในเขต จังหวัด และรับผิดชอบในราชการจังหวัดและอาเภอ และจะให้มีรองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ช่วยผู้ว่าราชการ จังหวัด หรือท้ังรองผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนผู้ว่า ราชการจังหวดั กไ็ ด้ รองผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วน ภมู ภิ าคในเขตจงั หวดั และรบั ผดิ ชอบในราชการรองจากผวู้ ่าราชการจังหวัด ผู้วา่ ราชการจงั หวดั รองผู้วา่ ราชการจงั หวัด และผูช้ ว่ ยผวู้ า่ ราชการจังหวดั สังกดั กระทรวงมหาดไทย มาตรา ๕๕ ในจงั หวดั หน่ึง นอกจากจะมีผู้วา่ ราชการจงั หวดั เป็นหัวหนา้ ปกครองบังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบงานบริหารราชการของจังหวัดดังกล่าวในมาตรา๕๔ ให้มีปลัดจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการ ประจาจังหวัดซึ่งกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ส่งมาประจาทาหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยเหลือผู้ว่าราชการจังหวัด และมี อานาจบงั คบั บญั ชาข้าราชการฝ่ายบรหิ ารสว่ นภูมิภาคซงึ่ สงั กัดกระทรวง ทบวง กรมน้นั ในจังหวัดนั้น มาตรา ๕๕/๑๔๘ ในจังหวดั หน่ึงนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดคณะ หน่ึง เรยี กโดยยอ่ ว่า “ก.ธ.จ.” ทาหน้าทส่ี อดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให้ ใช้วธิ ีการบริหารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี แี ละเปน็ ไปตามหลกั การทก่ี าหนดไว้ในมาตรา ๓/๑ ก.ธ.จ. ประกอบด้วยผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอานาจในจังหวัดเป็นประธาน ผู้แทน ภาคประชาสงั คม ผู้แทนสมาชกิ สภาท้องถน่ิ ทไี่ ม่ไดด้ ารงตาแหน่งผบู้ รหิ ารและผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน ทั้งน้ี จานวน วธิ ีการสรรหา และการปฏิบตั หิ นา้ ท่ขี อง ก.ธ.จ. ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรี ในกรณีท่ี ก.ธ.จ. พบว่ามีการละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับหรือมีกรณีที่เป็นการ ทุจริต ให้เป็นหน้าที่ของ ก.ธ.จ. ที่จะต้องแจ้งให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานอ่ืนของรัฐทเ่ี กย่ี วข้อง แลว้ แต่กรณี เพือ่ ดาเนินการตามอานาจหน้าท่ตี อ่ ไป ๔๗ มาตรา ๕๓/๒ เพม่ิ โดยพระราชบัญญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๔๘ มาตรา ๕๕/๑ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๒๒ - มาตรา ๕๖ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รอง ผวู้ า่ ราชการจังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ ราชการได้ให้ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้ปลัดจังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่า ราชการจังหวัด หรือปลัดจังหวัดหลายคน ให้ปลัดกระทรวงแต่งต้ังรองผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่าราชการ จังหวัด หรือปลัดจังหวัดคนใดคนหนึ่ง แล้วแต่กรณี เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีท้ังผู้ดารงตาแหน่งรองผู้ว่า ราชการจังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด และปลัดจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้หัวหน้าส่วน ราชการประจาจังหวดั ซง่ึ มีอาวโุ สตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเป็นผู้รกั ษาราชการแทน มาตรา ๕๗ ผูว้ า่ ราชการจงั หวัดมอี านาจและหน้าทีด่ ังนี้ (๑)๔๙ บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจงั หวดั (๒) บริหารราชการตามท่ีคณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามท่ีนายกรัฐมนตรีส่ัง การในฐานะหวั หนา้ รัฐบาล (๓) บริหารราชการตามคาแนะนาและคาช้ีแจงของผู้ตรวจราชการกระทรวงในเมื่อไม่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั หรอื คาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มตขิ องคณะรัฐมนตรหี รือการส่งั การของนายกรัฐมนตรี (๔) กากับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใช่ราชการส่วนภูมิภาคของข้าราชการซ่ึงประจาอยู่ในจังหวัดนั้น ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ให้ปฏิบัติราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือคาส่ังของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการส่ังการของนายกรัฐมนตรี หรือ ยบั ยง้ั การกระทาใด ๆ ของข้าราชการในจังหวดั ทข่ี ัดต่อกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ หรือคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรมมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีไว้ชั่วคราวแล้วรายงานกระทรวง ทบวง กรม ที่ เกย่ี วข้อง (๕) ประสานงานและร่วมมือกับข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการข้าราชการฝ่ายอัยการ ขา้ ราชการพลเรือนในมหาวทิ ยาลยั ขา้ ราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดนิ และขา้ ราชการครู ผู้ตรวจราชการและ หัวหนา้ ส่วนราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจงั หวัดหรอื ปอ้ งปดั ภัยพิบตั ิสาธารณะ (๖)๕๐ เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง หรือเสนอขอจัดตั้งงบประมาณต่อสานักงบประมาณ ตามมาตรา ๕๒ วรรคสาม และรายงานใหก้ ระทรวงมหาดไทยทราบ (๗)๕๑ กากับดแู ลการบริหารราชการส่วนทอ้ งถนิ่ ตามกฎหมาย (๘) กากับการปฏิบัติหน้าท่ีของพนักงานองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ในการน้ีให้มีอานาจทา รายงานหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานขององคก์ ารของรฐั บาลหรือรัฐวิสาหกิจต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัด องคก์ ารของรฐั บาลหรอื รฐั วสิ าหกจิ (๙) บรรจุ แต่งต้ัง ให้บาเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และตามท่ี ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรอื อธบิ ดมี อบหมาย ๔๙ มาตรา ๕๗ (๑) แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๕๐ มาตรา ๕๗ (๖) แกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๕๑ มาตรา ๕๗ (๗) แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๒๓ - มาตรา ๕๘ การยกเวน้ จากัด หรือตัดทอน อานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการ ในจงั หวัด หรือให้ข้าราชการของส่วนราชการใดมีอานาจหน้าที่ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคเช่นเดียวกับผู้ว่า ราชการจงั หวัดจะกระทาได้โดยตราเป็นพระราชบญั ญตั ิ มาตรา ๕๙ ให้นาความในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้ปฏิบัติ ราชการแทนตามหมวดนี้ มาตรา ๖๐ ใหแ้ บ่งสว่ นราชการของจงั หวดั ดงั นี้ (๑) สานักงานจังหวัด มีหน้าท่ีเก่ียวกับราชการทั่วไปและการวางแผนพัฒนาจังหวัดของจังหวัดน้ัน มี หวั หนา้ สานักงานจังหวัดเปน็ ผบู้ งั คบั บัญชาขา้ ราชการ และรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ริ าชการของสานกั งานจงั หวัด (๒) ส่วนต่าง ๆ ซ่ึงกระทรวง ทบวง กรม ได้ต้ังข้ึน มีหน้าท่ีเกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรม นนั้ ๆ มหี วั หนา้ สว่ นราชการประจาจงั หวัดนั้น ๆ เป็นผ้ปู กครองบังคบั บญั ชารับผิดชอบ หมวด ๒ อาเภอ มาตรา ๖๑ ในจังหวัดหนึ่งให้มีหนว่ ยราชการบรหิ ารรองจากจงั หวดั เรียกว่าอาเภอ การต้งั ยบุ และเปลย่ี นเขตอาเภอ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๖๑/๑๕๒ ใหอ้ าเภอมอี านาจหนา้ ทภี่ ายในเขตอาเภอ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) อานาจและหน้าท่ีตามท่ีกาหนดในมาตรา ๕๒/๑ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) โดยให้นาความใน มาตรา ๕๒/๑ วรรคสอง มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม (๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และจัดใหม้ ีการบริการร่วมกนั ของหน่วยงานของรัฐในลักษณะศนู ย์บรกิ ารร่วม (๓) ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อร่วมมือกับชุมชนในการดาเนินการให้มีแผนชุมชน เพ่ือรองรบั การสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ จงั หวัด และกระทรวง ทบวง กรม (๔) ไกล่เกลี่ยหรือจัดให้มีการไกล่เกล่ียประนอมข้อพิพาทเพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคมตาม มาตรา ๖๑/๒ และมาตรา ๖๑/๓ มาตรา ๖๑/๒๕๓ ในอาเภอหน่ึง ให้มีคณะบุคคลผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกล่ียและประนอมข้อพิพาทของ ประชาชนทคี่ กู่ รณฝี ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตอาเภอ ในเรื่องท่ีพิพาททางแพ่งเก่ียวกับที่ดินมรดก และข้อ พิพาททางแพ่งอืน่ ที่มที ุนทรพั ย์ไมเ่ กินสองแสนบาท หรือมากกวา่ นั้น ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎกี า ให้นายอาเภอโดยความเหน็ ชอบของคณะกรมการจังหวดั จัดทาบญั ชรี ายชือ่ บุคคลท่ีจะทาหน้าที่เป็นคณะ บุคคลผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกล่ียและประนอมข้อพิพาท โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความรู้หรือมีประสบการณ์เหมาะสม กับการทาหน้าท่ีไกล่เกลยี่ ข้อพพิ าท เมือ่ มีขอ้ พพิ าทเกดิ ขึน้ และคู่พพิ าทตกลงยินยอมใหใ้ ช้วธิ กี ารไกลเ่ กล่ยี ข้อพิพาทให้คู่พิพาทแต่ละฝ่ายเลือก บุคคลจากบัญชีรายชื่อตามวรรคสองฝ่ายละหนึ่งคน และให้นายอาเภอ พนักงานอัยการประจาจังหวัดหรือ ๕๒ มาตรา ๖๑/๑ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๕๓ มาตรา ๖๑/๒ เพมิ่ โดยพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๒๔ - ปลัดอาเภอท่ีได้รับมอบหมายคนหน่ึงเป็นประธาน เพื่อทาหน้าที่เป็นคณะบุคคลผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกล่ียและประนอม ขอ้ พิพาท ให้คณะบุคคลผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทมีอานาจหน้าท่ีรับฟังข้อพิพาทโดยตรงจาก คู่พิพาท และดาเนินการไกล่เกล่ียให้เกิดข้อตกลงยินยอมร่วมกันระหว่างคู่พิพาทโดยเร็ว ถ้าคู่พิพาททั้งสองฝ่ายตก ลงกันได้ ให้คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกล่ียและประนอมข้อพิพาทจัดให้มีการทาสัญญาประนีประนอมยอมความ ระหวา่ งคู่พพิ าท และใหถ้ อื เอาข้อตกลงตามสัญญาประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันคู่พิพาทท้ังสองฝ่าย ในกรณี ท่ีคู่พพิ าทไมอ่ าจตกลงกนั ได้ ให้คณะบุคคลผทู้ าหน้าที่ไกล่เกลย่ี และประนอมข้อพิพาทส่งั จาหนา่ ยขอ้ พิพาทนนั้ ข้ อ ต ก ล ง ต า ม ว ร ร ค สี่ ใ ห้ มี ผ ล เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ค า ชี้ ข า ด ข อ ง อ นุ ญ า โ ต ตุ ล า ก า ร ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย อนญุ าโตตลุ าการ หลกั เกณฑ์และวิธีการจัดทาบญั ชี การดาเนนิ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการจัดทาสัญญาประนีประนอม ยอมความ ตลอดจนค่าตอบแทนของคณะบุคคลผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท ให้เป็นไปตามที่ กาหนดในกฎกระทรวง ในกรณที ีค่ ูพ่ ิพาทฝา่ ยใดฝา่ ยหนงึ่ ไมป่ ฏิบตั ติ ามสัญญาประนีประนอมยอมความให้คู่พิพาทอีกฝ่ายหน่ึงยื่น คาร้องต่อพนักงานอยั การ และใหพ้ นกั งานอัยการดาเนินการย่นื คารอ้ งตอ่ ศาลที่มีเขตอานาจเพื่อให้ออกคาบังคับให้ ตามสัญญาประนปี ระนอมยอมความดงั กลา่ วโดยให้นากฎหมายวา่ ดว้ ยอนญุ าโตตลุ าการมาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม เม่อื คณะบุคคลผทู้ าหนา้ ท่ีไกลเ่ กลีย่ และประนอมขอ้ พพิ าทไดร้ ับข้อพิพาทไว้พิจารณา ให้อายุความในการ ฟอ้ งรอ้ งคดีสะดุดหยุดลง นับแตว่ ันที่ย่ืนข้อพิพาทจนถึงวันที่คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกล่ียและประนอมข้อพิพาท สงั่ จาหน่ายข้อพิพาทหรือวนั ทค่ี ู่พพิ าททาสญั ญาประนีประนอมยอมความกัน แลว้ แต่กรณี ความในมาตรานี้ใหใ้ ช้กบั เขตของกรุงเทพมหานครด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๖๑/๓๕๔ บรรดาความผิดที่มีโทษทางอาญาท่ีเกิดข้ึนในเขตอาเภอใดหากเป็นความผิดอันยอม ความได้ และมิใช่เป็นความผิดเก่ียวกับเพศ ถ้าผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหายินยอม หรือแสดงความจานง ให้ นายอาเภอของอาเภอน้นั หรือปลัดอาเภอที่นายอาเภอดังกล่าวมอบหมายเป็นผู้ไกล่เกล่ียตามควรแก่กรณี และเมื่อ ผ้เู สียหายและผูถ้ ูกกล่าวหายนิ ยอมเปน็ หนังสอื ตามทไ่ี กล่เกลย่ี และปฏิบัติตามคาไกล่เกลี่ยดังกล่าวแล้ว ให้คดีอาญา เป็นอนั เลกิ กนั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ในกรณีท่ีผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหาไม่ยินยอมตามท่ีไกล่เกลี่ย ให้จาหน่ายข้อพิพาทน้ัน แต่เพื่อ ประโยชนใ์ นการทผ่ี ู้เสียหายจะไปดาเนนิ คดตี ่อไป อายุความการร้องทุกข์ตามประมวลกฎหมายอาญา ให้เริ่มนับแต่ วนั ท่จี าหน่ายขอ้ พิพาท หลกั เกณฑ์และวิธใี นการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๒ ในอาเภอหนึ่ง มีนายอาเภอคนหน่ึงเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการใน อาเภอ และรับผดิ ชอบงานบรหิ ารราชการของอาเภอ นายอาเภอสงั กัดกระทรวงมหาดไทย บรรดาอานาจและหน้าที่เก่ียวกับราชการของกรมการอาเภอหรือนายอาเภอซ่ึงกฎหมายกาหนดให้ กรมการอาเภอและนายอาเภอมอี ยู่ ใหโ้ อนไปเป็นอานาจและหน้าที่ของนายอาเภอ ๕๔ มาตรา ๖๑/๓ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๒๕ - มาตรา ๖๓ ในอาเภอหนึ่ง นอกจากจะมีนายอาเภอเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาและรับผิดชอบดังกล่าว ในมาตรา ๖๒ ให้มีปลัดอาเภอและหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอซึ่งกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ส่งมาประจา ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือนายอาเภอ และมีอานาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาคซ่ึงสังกัด กระทรวง ทบวง กรมน้ัน ในอาเภอนน้ั มาตรา ๖๔ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งนายอาเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งต้ังปลัดอาเภอ หรือ หวั หนา้ ส่วนราชการประจาอาเภอผูม้ อี าวโุ ส ตามระเบยี บแบบแผนของทางราชการเปน็ ผ้รู กั ษาราชการแทน ถ้ามผี ดู้ ารงตาแหนง่ นายอาเภอ แตไ่ ม่อาจปฏบิ ัติราชการได้ ใหน้ ายอาเภอแต่งตงั้ ปลัดอาเภอ หรือหัวหน้า ส่วนราชการประจาอาเภอผ้มู อี าวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเปน็ ผ้รู ักษาราชการแทน ในกรณีที่ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอาเภอมิได้แต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนไว้ตามวรรคหนึ่งและวรรค สอง ให้ปลัดอาเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอผู้มีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเป็น ผรู้ ักษาราชการแทน มาตรา ๖๕ นายอาเภอมอี านาจและหน้าท่ีดงั นี้ (๑) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถ้ากฎหมายใดมิได้บัญญัติว่า การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายนนั้ เป็นหน้าทีข่ องผู้ใดโดยเฉพาะ ให้เป็นหน้าท่ีของนายอาเภอที่จะต้องรักษาการให้เป็นไป ตามกฎหมายนนั้ ด้วย (๒) บริหารราชการตามท่ีคณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามท่ีนายกรัฐมนตรีสั่ง การในฐานะหวั หนา้ รัฐบาล (๓) บริหารราชการตามคาแนะนาและคาช้ีแจงของผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้มีหน้าที่ตรวจการอ่ืนซึ่ง คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย ในเม่ือไม่ขัดต่อกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั หรอื คาสง่ั ของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี (๔) ควบคุมดแู ลการบริหารราชการสว่ นท้องถน่ิ ในอาเภอตามกฎหมาย มาตรา ๖๖ ให้แบ่งสว่ นราชการของอาเภอดังนี้ (๑) สานักงานอาเภอ มีหน้าที่เก่ียวกับราชการทั่วไปของอาเภอน้ัน ๆ มีนายอาเภอเป็นผู้ปกครองบังคับ บญั ชาข้าราชการและรบั ผิดชอบ (๒) ส่วนต่าง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งข้ึนในอาเภอน้ัน มีหน้าท่ีเก่ียวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมน้ัน ๆ มีหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอนั้น ๆ เปน็ ผูป้ กครองบังคับบัญชารับผิดชอบ มาตรา ๖๗ ให้นาความในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้ปฏิบัติ ราชการแทนตามหมวดน้ี มาตรา ๖๘ การจัดการปกครองอาเภอ นอกจากท่ีได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตาม กฎหมายวา่ ด้วยการปกครองทอ้ งท่ี

- ๒๖ - ส่วนที่ ๓ การจัดระเบียบบรหิ ารราชการสว่ นท้องถ่ิน มาตรา ๖๙ ท้องถิน่ ใดทเ่ี หน็ สมควรจัดให้ราษฎรมีส่วนในการปกครองท้องถิน่ ให้จัดระเบียบการปกครอง เป็นราชการส่วนท้องถิ่น มาตรา ๗๐ ให้จดั ระเบยี บบริหารราชการส่วนท้องถน่ิ ดังน้ี (๑) องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั (๒) เทศบาล (๓) สขุ าภบิ าล (๔) ราชการสว่ นทอ้ งถิ่นอน่ื ตามทมี่ กี ฎหมายกาหนด มาตรา ๗๑ การจัดระเบียบการปกครององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลสุขาภิบาล และราชการ ส่วนทอ้ งถน่ิ อ่ืนตามทมี่ ีกฎหมายกาหนด ให้เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนัน้ สว่ นที่ ๔ คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ๕๕ มาตรา ๗๑/๑๕๖ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ร.” ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน รัฐมนตรีหน่ึงคนที่ นายกรัฐมนตรีกาหนดเป็นรองประธาน ผู้ซ่ึงคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มอบหมายหนึ่งคน และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสิบคน ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ในทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์รัฐศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยา องคก์ าร และสังคมวิทยาอย่างนอ้ ยด้านละหนึ่งคน ในกรณีท่มี คี วามจาเปน็ เพ่ือให้การปฏิบัติงานบรรลุผล คณะรัฐมนตรีจะกาหนดให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่น้อยกวา่ สามคนแตไ่ ม่เกินห้าคนต้องทางานเต็มเวลากไ็ ด้๕๗ เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตาแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ให้คณะรัฐมนตรพี ิจารณาจากรายช่อื บคุ คลที่ไดร้ ับการเสนอโดยวิธีการ สรรหา ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารสรรหาที่คณะรฐั มนตรกี าหนด มาตรา ๗๑/๒๕๘ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิตอ้ งมีคณุ สมบตั ิและไม่มีลกั ษณะตอ้ งห้าม ดงั ต่อไปนี้ ๕๕ สว่ นที่ ๔ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มาตรา ๗๑/๑ ถึง มาตรา ๗๑/๑๐ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๕๖ มาตรา ๗๑/๑ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๕๗ มาตรา ๗๑/๑ วรรคสองแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐

- ๒๗ - (๑) มสี ัญชาตไิ ทย (๒) ไม่เปน็ บุคคลล้มละลาย คนไรค้ วามสามารถ หรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (๓) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทา โดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ (๔) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือผู้ซึ่ ง ดารงตาแหนง่ ซ่งึ รับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ท่ปี รึกษาพรรคการเมืองหรอื เจ้าหนา้ ที่พรรคการเมอื ง (๕) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะทุจริต ตอ่ หนา้ ท่ี หรือถือว่ากระทาการทุจรติ และประพฤติมิชอบในวงราชการ มาตรา ๗๑/๓๕๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปี ผู้ซ่ึงพ้นจากตาแหน่งแล้ว อาจไดร้ ับแตง่ ต้งั อกี ไดแ้ ตไ่ มเ่ กินสองวาระติดต่อกัน ในกรณีท่ีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒินน้ั ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ไี ปกอ่ นจนกว่าจะได้แต่งต้งั กรรมการผทู้ รงคุณวุฒใิ หม่ มาตรา ๗๑/๔๖๐ นอกจากการพ้นจากตาแหนง่ ตามวาระ กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒพิ ้นจากตาแหนง่ เมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคณุ สมบัติหรอื มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๗๑/๒ (๔) คณะรฐั มนตรใี ห้ออกเพราะบกพร่องตอ่ หน้าที่ มีความประพฤตเิ สอื่ มเสยี หรือหยอ่ นความสามารถ มาตรา ๗๑/๕๖๑ ในกรณีทก่ี รรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระและยังมิได้แต่งตั้งกรรมการ ผทู้ รงคุณวุฒแิ ทนตาแหนง่ ที่วา่ ง ใหก้ รรมการทเ่ี หลอื อย่ปู ฏิบตั ิหน้าทีต่ อ่ ไปได้ เมื่อตาแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิว่างลงก่อนวาระ ให้ดาเนินการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายใน สามสบิ วนั เวน้ แตว่ าระของกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิเหลือไม่ถึงหนึ่งรอ้ ยแปดสบิ วันจะไมแ่ ต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ก็ได้ มาตรา ๗๑/๖๖๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงได้รับแต่งตั้งแทนตาแหน่งที่ว่าง หรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้รับแต่งต้ังเพ่ิมขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ ได้รบั แตง่ ตงั้ มีวาระการดารงตาแหนง่ เท่ากับเวลาท่ีเหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทย่ี ังอยู่ในตาแหนง่ ๕๘ มาตรา ๗๑/๒ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๕๙ มาตรา ๗๑/๓ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๖๐ มาตรา ๗๑/๔ เพม่ิ โดยพระราชบัญญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๖๑ มาตรา ๗๑/๕ เพม่ิ โดยพระราชบัญญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๖๒ มาตรา ๗๑/๖ เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

- ๒๘ - มาตรา ๗๑/๗๖๓ การประชุม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจานวนกรรมการ ท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม ไม่ว่ากรรมการดังกล่าวจะเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีทางานเต็มเวลา หรือไม่ ในการประชุม ก.พ.ร. ถ้าประธานไม่อยู่ในท่ีประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้รองประธานปฏิบัติ หน้าที่แทน ในกรณีท่ีไม่มีรองประธานหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการคน หนง่ึ ทาหนา้ ทเี่ ป็นประธานในทีป่ ระชมุ การวินิจฉัยชี้ขาดให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสียง เท่ากนั ให้ประธานในที่ประชมุ ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึง่ เป็นเสียงชีข้ าด มาตรา ๗๑/๘๖๔ การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่และค่าตอบแทนของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ต้องทางานเต็มเวลา ให้ เปน็ ไปตามท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๗๑/๙๖๕ ให้มีสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการในสานัก นายกรัฐมนตรี ทาหนา้ ทรี่ บั ผิดชอบงานธรุ การของ ก.พ.ร. และหน้าท่ีอ่ืนตามท่ีกฎหมายหรือ ก.พ.ร. กาหนด โดยมี เลขาธิการ ก.พ.ร. ซ่ึงเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างของสานักงาน คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ และรับผิดชอบการปฏบิ ัติราชการขึน้ ตรงต่อนายกรฐั มนตรี มาตรา ๗๑/๑๐๖๖ ก.พ.ร. มีอานาจหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐอย่าง อื่น ซึ่งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ค่าตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอื่น ให้เป็นไปตามมาตรา ๓/๑ โดยจะเสนอแนะให้มีการกาหนดเป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์ และมาตรการกไ็ ด้ (๒) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่หน่วยงานอ่ืนของรัฐท่ีมิได้อยู่ในกากับของราชการฝ่ายบริหารตามที่ หน่วยงานดงั กล่าวร้องขอ (๓) รายงานต่อคณะรัฐมนตรีในกรณีท่ีมีการดาเนินการขัดหรือไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดใน มาตรา ๓/๑ (๔) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดต้ัง การรวม การโอน การยุบ เลิก การกาหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการที่ เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือสว่ นราชการอน่ื (๕) เสนอความเหน็ ตอ่ คณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎกี า และกฎที่ออกตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ (๖) ดาเนินการให้มีการช้ีแจงทาความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องและประชาชน ทวั่ ไป รวมตลอดทั้งการฝึกอบรม ๖๓ มาตรา ๗๑/๗ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๖๔ มาตรา ๗๑/๘ เพิม่ โดยพระราชบัญญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๖๕ มาตรา ๗๑/๙ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖๖ มาตรา ๗๑/๑๐ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕

- ๒๙ - (๗) ติดตาม ประเมินผล และแนะนาเพ่ือให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี และรายงานต่อ คณะรัฐมนตรีพร้อมท้ังขอ้ เสนอแนะ (๘) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดข้ึนจากการใช้บังคับพระราชบัญญัติน้ี หรือกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดท้ังกาหนดแนวทางปฏิบัติ ในกรณีที่เป็นปัญหา มติของคณะกรรมการ ตามขอ้ นี้ เม่ือได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรแี ลว้ ใหใ้ ชบ้ ังคับไดต้ ามกฎหมาย (๙) เรียกให้เจ้าหนา้ ท่หี รอื บคุ คลอืน่ ใดมาชี้แจงหรอื แสดงความเห็นประกอบการพิจารณา (๑๐) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐอย่างอ่ืนเสนอต่อ คณะรัฐมนตรี เพ่อื เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา (๑๑) แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทางาน เพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีต่าง ๆ ตามท่ี มอบหมาย และจะกาหนดอตั ราเบย้ี ประชมุ หรอื ค่าตอบแทนอน่ื ด้วยกไ็ ด้ (๑๒) ปฏบิ ตั ิหน้าทอ่ี ืน่ ตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติน้ีหรือตามทีค่ ณะรฐั มนตรีมอบหมาย บทเฉพาะกาล มาตรา ๗๒ คาว่า “ทบวงการเมือง” ตามกฎหมายอ่ืนท่ีมีอยู่ก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้ หมายความถงึ กระทรวง ทบวง กรม ตามพระราชบญั ญตั ินแ้ี ล้วแต่กรณี มาตรา ๗๓ พระราชกฤษฎีกา และประกาศของคณะปฏวิ ัตเิ ก่ยี วกับการจัดระเบียบราชการในสานักงาน รัฐมนตรี สานักงานปลดั กระทรวงหรอื ทบวง กรม และสว่ นราชการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเท่ากรมหรือมี ฐานะเป็นกรมท่ีได้ตราหรือประกาศโดยอาศัยอานาจกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินท่ีใช้บังคับอยู่ ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้คงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะมี พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยการจัดระเบยี บราชการตามพระราชบัญญัตินีใ้ ชบ้ งั คบั แทน มาตรา ๗๔ พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี และกรมหรือส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอ่ืนและมีฐานะเทียบเท่ากรมหรือมีฐานะเป็นกรมใดยังมิได้ระบุอานาจหน้าท่ีไว้ตามมาตรา ๘ วรรคส่ี ให้ดาเนนิ การแก้ไขใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในสองปีนับแตว่ นั ทพี่ ระราชบัญญตั ิน้ีใชบ้ ังคับ มาตรา ๗๕ บทบัญญตั ิแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ หรอื คาสง่ั ใดอ้างถึงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ หรืออ้างถึงบทบัญญัติแห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาส่ังนั้นอ้างถึง พระราชบญั ญตั นิ ้ี หรือบทบญั ญตั ิแหง่ พระราชบญั ญตั นิ ้ีในบทมาตราท่ีมีนยั เช่นเดยี วกัน แล้วแต่กรณี ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองกการ อานันท์ ปนั ยารชนุ นายกรัฐมนตรี

- ๓๐ - หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่เป็นการจาเป็นต้องกาหนดขอบเขตอานาจ หนา้ ทขี่ องสว่ นราชการต่าง ๆ ใหช้ ดั เจนเพื่อมิให้มีการปฏิบัติงานซ้าซ้อนกันระหว่างส่วนราชการต่าง ๆ และเพื่อให้ การบริหารงานในระดับกระทรวงมีเอกภาพสามารถดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบายท่ีรัฐมนตรีกาหนดได้ และ สมควรเพ่ิมบทบัญญัติเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนให้ครบถ้วนชัดเจนเพ่ือไม่ให้เป็นอุปสรรคใน การปฏิบัติราชการ และกาหนดอานาจและหนา้ ทขี่ องผู้ว่าราชการจังหวัดในการควบคุมดูแลการปฏิบัติราชการของ ข้าราชการซึ่งปฏิบัติราชการในเขตจังหวัดให้เหมาะสมข้ึน ประกอบกับประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๑๘ ลง วันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งเป็นกฎหมายหลักในการบริหารราชการแผ่นดินได้ประกาศใช้บังคับมาเป็น เวลานานแล้ว สมควรแกไ้ ขปรบั ปรุงเป็นพระราชบัญญตั เิ สยี ในคราวเดยี วกัน จงึ จาเปน็ ต้องตราพระราชบัญญตั นิ ี้ พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๖๗ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติคณะกรรมการจัดระบบ การจราจรทางบก (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้บัญญัติให้จัดตั้งสานักงานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก เป็นส่วนราชการสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี มีเลขาธิการคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบกเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี ในการนี้สมควรแก้ไข เพิม่ เติมมาตรา ๑๕ แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ เสียใหม่ เพ่ือให้สอดคล้องกัน จึงจาเปน็ ต้องตราพระราชบญั ญัติน้ี พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๖๖๘ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรกาหนดให้ เลขาธกิ ารคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ ในสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ และรับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการ ข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีและโดยท่ีพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ซง่ึ ได้ใช้บังคับแลว้ บญั ญัตใิ ห้จดั ต้ังสานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นส่วนราชการสังกัด สานักนายกรัฐมนตรี มีเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการใน สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี ในการน้ีต้องแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไข เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อกาหนดให้หัวหน้าส่วน ราชการทั้งสองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี จงึ จาเป็นตอ้ งตราพระราชบัญญัติน้ี ๖๗ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๙/ตอนท่ี ๒๑/หน้า ๖/๑๔ มนี าคม ๒๕๓๕ ๖๘ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๑๐/ตอนที่ ๑๒๗/ฉบับพิเศษ หน้า ๑/๖ กนั ยายน ๒๕๓๖

- ๓๑ - พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓๖๙ มาตรา ๕ พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการภายในส่วนราชการตามมาตรา ๘ วรรคสี่ แห่ง พระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ ท่ีใช้บังคบั อยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีประกาศในราช กิจจานุเบกษาให้คงใช้บังคับได้ต่อไป จนกว่าจะมีกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการตามมาตรา ๘ ฉ แห่ง พระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซงึ่ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัตินใ้ี ชบ้ ังคบั หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๓๐ ได้บัญญัติให้การรวมหรือโอนกระทรวง ทบวง กรม ท่ีไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของ ข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มข้ึนหรือการยุบเลิกส่วนราชการดังกล่าว สามารถทาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ดังน้ัน สมควรกาหนดลักษณะของกรณีที่สามารถตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและวิธีการดาเนินการของแต่ละกรณี และรูปแบบของพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว รวมท้ังปรับปรุงหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงาน รัฐมนตรีและส่วนราชการระดับกรม ท้ังนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว จึงจาเป็นต้อง ตราพระราชบัญญตั ินี้ พระราชบญั ญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕๗๐ มาตรา ๑๖ ในวาระเริ่มแรก ให้ ก.พ.ร. ดาเนินการเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีการปรับปรุง โครงสร้าง ระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร การปรับเปล่ียนส่วนราชการเป็นองค์การมหาชน หรือ องค์กรรูปแบบอื่นท่ีมิใช่ส่วนราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชน ทั้งนี้ ภายในสองปีนับแต่วันท่ีพระราชบญั ญัตนิ ใ้ี ชบ้ ังคับ มาตรา ๑๗ ให้แก้ไขคาว่า “สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี” ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ แผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่แี ก้ไขเพิม่ เตมิ เป็นคาว่า“สานกั งานรฐั มนตรี” ทกุ แหง่ มาตรา ๑๘ ให้ดาเนินการแต่งตั้ง ก.พ.ร. ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ี ใชบ้ งั คบั ให้โอนงบประมาณและบุคลากรของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตามท่ีนายกรัฐมนตรี ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา ไปเปน็ ของสานักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ ให้อานาจหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนตามมาตรา ๘ ทวิ และตามมาตรา ๘ สัตต ในส่วนท่ีเกี่ยวกับการแบ่งส่วนราชการและการกาหนดอานาจหน้าที่ของส่วนราชการซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นอานาจหน้าที่ของ ก.พ.ร. ใหค้ ณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น และสานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน คงมีอานาจหน้าที่ เท่าทไ่ี มซ่ า้ กับอานาจหน้าท่ีของ ก.พ.ร. ๖๙ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๑๗/ตอนท่ี ๓๗ ก/หน้า ๒๒/๒๘ เมษายน ๒๕๔๓ ๗๐ ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๑๙/ตอนท่ี ๙๙ ก/หนา้ ๑/๒ ตุลาคม ๒๕๔๕

- ๓๒ - ให้ดาเนินการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนและกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน เพื่อกาหนดภารกิจของ ก.พ.ร. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คณะกรรมการ ข้าราชการพลเรอื น และสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนให้เหมาะสม ซ่ึงต้องทาให้แล้วเสร็จและเสนอ สภาผู้แทนราษฎรภายในสองปนี บั แต่วนั ท่ีพระราชบญั ญัตนิ ้ใี ชบ้ ังคับ มาตรา ๑๙ ให้บทบัญญตั ิมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ก่อนการแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ คงใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการแก้ไขเพิ่มเติม ให้นากรณีที่ส่วน ราชการใดข้นึ ตรงต่อนายกรัฐมนตรไี ปบญั ญัตไิ ว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระบบบริหาร ราชการเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งข้ึนโดยกาหนดให้การบริหารราชการแนวทางใหม่ต้องมีการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย แ ละ แผนการปฏิบัติงานเพ่ือให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละระดับได้อย่างชัดเจน มีกรอบการบริหาร กิจการบ้านเมืองท่ีดีเป็นแนวทางในการกากับการกาหนดนโยบายและการปฏิบัติราชการ และเพ่ือให้กระทรวง สามารถจดั การบริหารงานให้เปน็ ไปตามเป้าหมายได้ จึงกาหนดให้มีรูปแบบการบริหารใหม่ โดยกระทรวงสามารถ แยกส่วนราชการจดั ตง้ั เป็นหน่วยงานตามภาระหนา้ ท่ี เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตัวและสอดคล้องกับเป้าหมายของงาน ท่ีจะต้องปฏิบัติ และกาหนดให้มีกลุ่มภารกิจของส่วนราชการต่าง ๆ ท่ีมีงานสัมพันธ์กัน เพ่ือท่ีจะสามารถกาหนด เป้าหมายการทางานร่วมกันได้ และมีผู้รับผิดชอบกากับการบริหารงานของกลุ่มภารกิจนั้นโดยตรงเพื่อให้งาน เปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและรวดเรว็ รวมท้ังให้มีการประสานการปฏิบัติงาน และการใช้งบประมาณเพ่ือที่จะให้ การบริหารงานของทกุ ส่วนราชการบรรลเุ ป้าหมายของกระทรวงได้อย่างมีประสิทธิภาพและลดความซ้าซ้อน มีการ มอบหมายงานเพ่ือลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ และสมควรกาหนดการบริหารราชการในต่างประเทศให้ เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติหน้าท่ีและสามารถปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็วและมีเอกภาพ โดยมีหัวหน้าคณะ ผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการ นอกจากนี้ สมควรให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเพื่อเป็น หน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลการจัดส่วนราชการและการปรับปรุงระบบการทางานของภาคราชการให้มีการ จดั ระบบราชการอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพต่อไป จงึ จาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๔๖๗๑ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่ในปัจจุบันได้มีการโอนกรมตารวจ ไปจัดต้ังเป็นสานักงานตารวจแห่งชาติและกาหนดให้ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด ทาหน้าท่ีหัวหน้าตารวจภูธร จังหวัด จึงสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในส่วนของชื่อกรมตารวจและ ตาแหนง่ ของข้าราชการตารวจในกรมการจงั หวดั ให้สอดคลอ้ งกนั จงึ จาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ี ๗๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๒๐/ตอนท่ี ๑๐๘ ก/หน้า ๑/๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๖

- ๓๓ - พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐๗๒ มาตรา ๑๗ ในระหว่างท่ียังมิได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาเก่ียวกับการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการ แทนตามมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดย พระราชบัญญัตินี้ ให้หลักเกณฑ์เก่ียวกับการมอบอานาจตามมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซง่ึ แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ยงั คงใช้บงั คับต่อไปได้ ทงั้ น้ี ไมเ่ กินหกสบิ วนั นับแตว่ นั ทีพ่ ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ้ ังคับ มาตรา ๑๘ ใหน้ ายกรัฐมนตรรี กั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงระบบการบริหาร ราชการให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลท่ีมุ่งเน้นการจัดองค์กรภาครัฐให้สอดคล้องกับทิศทางการนาพา ประเทศไปสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน และเพ่ือให้การปฏิบัติราชการสามารถอานวยความสะดวกและให้บริการแก่ ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น สนับสนุนให้มีการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนได้กว้างขวางขึ้น เพ่ือ เน้นการบริการประชาชนให้มีความสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนั้น เพื่อให้การบริหารราชการในราชการบริหาร ส่วนภูมิภาคสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ และให้การบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดบรรลุผล สมควรปรับปรุงอานาจการดาเนินการของจังหวัด การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทางบประมาณของ จังหวดั ใหเ้ หมาะสม รวมท้ังสมควรส่งเสริมให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด เพื่อสอดส่องและเสนอแนะการ ปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรฐั ในจังหวัดให้ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี อันจะทาให้การบริหารเป็นไป ด้วยความโปร่งใสเป็นธรรม และมีความรับผิดชอบ ตลอดจนปรับปรุงอานาจในทางปกครองของอาเภอเพื่อ สนบั สนุนใหเ้ กิดความสงบเรียบร้อยในสังคม และสมควรให้สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเป็นส่วน ราชการในสานักนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี จึงจาเป็นต้องตรา พระราชบัญญัติน้ี พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ท่ี ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓๗๓ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติ ให้องค์กรอัยการเป็นเป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ และตามมาตรา ๒๕๕ วรรคห้า บัญญัติให้องค์กรอัยการมี หน่วยธุรการที่เป็นอิสระ ในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดาเนินการอื่น โดยมีอัยการสูงสุดเป็น ผูบ้ งั คับบญั ชา ทัง้ นี้ ตามทีก่ ฎหมายบญั ญัติ จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ ๗๒ ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๕๕ ก/หน้า ๑/๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๐ ๗๓ ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนที่ ๗๕ ก/หนา้ ๕๑/๗ ธนั วาคม ๒๕๕๓