Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สวนสุนันทาสัมพันธ์ 2563

สวนสุนันทาสัมพันธ์ 2563

Published by Weera Chotithammaporn, 2020-11-12 10:02:20

Description: แก้วใจจุลจอม 2563

Search

Read the Text Version

ค�ำ ส่ังสมาคมศษิ ย์เกา่ สวนสนุ นั ทา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ ท่ี ๑/๒๕๖๓ เรอื่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการพจิ ารณาคดั เลอื กศิษย์เก่าเกยี รติยศและศิษย์เก่าดีเด่น เพอื่ ใหก้ ารคดั เลือกบุคคลท่เี ป็นศษิ ยเ์ ก่า วิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ สวนสนุ นั ทา ศิษยเ์ กา่ โรงเรียนมธั ยมสาธิต และประถมสาธติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา เป็นศษิ ยเ์ กา่ เกยี รติยศ และศิษย์เกา่ ดเี ดน่ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เปน็ ไปดว้ ยความความเรียบร้อย อาศยั มตทิ ป่ี ระชมุ คร้ังที่ ๕/๒๕๖๓ เม่อื วนั ท่ี ๑๖ กนั ยายน ๒๕๖๓ จงึ แตง่ ต้ังคณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่าสวนสุนนั ทา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ เปน็ กรรมการพจิ ารณาคัดเลอื กศษิ ยเ์ ก่าเกยี รติยศและศษิ ยเ์ ก่าดเี ด่น ดงั น้ี ๑. นางแจ่มจันทร ์ ทองเสริม ประธานทีป่ รกึ ษา ๒. ดร.ชยภรณ์ ธนาบรบิ รู ณ์ ทป่ี รกึ ษา ๓. พลเอกสทิ ธ ์ิ สทิ ธมิ งคล ท่ปี รกึ ษา ๔. นายประโยชน ์ พินเดช ทป่ี รึกษา ๕. นายธเนส เกตกุ าหลง ประธานกรรมการ ๖. นายประเสรฐิ สีจง กรรมการ ๗. นางรตั นา ถดั ทะพงษ์ กรรมการ ๘. นางสุชาภา ผลชวี นิ กรรมการ ๙. ดร.เอ้ือมพร ศิรริ ัตน ์ กรรมการ ๑๐. ผู้ช ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ กรรมการและเลขานกุ าร ทง้ั นี้ตั้งแตว่ ันท่ ี ๑๖ กนั ยายน ๒๕๖๓ เปน็ ตน้ ไป จนกวา่ จะเสรจ็ ส้นิ การพจิ ารณา สั่ง ณ วันที่ ๑๖ กนั ยายน ๒๕๖๓ (ดร.ชยภรณ์ ธนาบริบรู ณ์) นายกสมาคมศิษย์เกา่ สวนสนุ ันทา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สวนสนุ ันทาสัมพนั ธ์ 2563 49

สมาคมศษิ ย์เก่าสวนสุนันทา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ เรอื่ ง ประกาศรายชอ่ื ศิษยเ์ กา่ ผู้ทไี่ ด้รับการคดั เลือกเปน็ ศษิ ยเ์ กา่ เกยี รตยิ ศและศษิ ย์เก่าดเี ดน่ ปี พ.ศ.๒๕๖๓ ตามค�ำ สั่งสมาคมศษิ ย์เกา่ สวนสนุ ันทา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ท่ี ๑/๒๕๖๓ เรอ่ื ง แต่งตงั้ คณะ กรรมการพจิ ารณาคัดเลอื กศษิ ย์เก่าเกียรตยิ ศและศิษย์เกา่ ดเี ด่น ลงวันที่ ๑๖ กนั ยายน ๒๕๖๓ นั้น คณะกรรมการได้ ประชมุ เพื่อคดั เลือกฯ ในวันศกุ ร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ อาคารสมาคมฯ บดั นี้การคดั เลอื กเรยี บรอ้ ย แลว้ โดยมผี ไู้ ดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ ศิษยเ์ ก่าดเี ด่น จำ�นวน ๑๒ ท่าน จึงขอประกาศรายชอ่ื ผู้ทไี่ ด้รับการคดั เลอื ก ดงั น้ี ศิษยเ์ กา่ ดเี ดน่ ๑. รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน ์ ศรวี ิบูลย์ ๒. พลอากาศตรี แพทยห์ ญงิ ทรงพร วาณชิ เสนี ๓. ดร.ปัญญารัตน์ ปานทอง ๔. พลเอก พชร ชยั วุฒิ ๕. พลอากาศเอก ภานพุ งศ์ เสยยงคะ ๖. ดร.รักษเกชา แฉฉ่ าย ๗. นางเรณู ผอ่ งเสรี ๘. ดร.วชิ ติ สุรดินทร์กรู ๙. ดร.วินัย รุง ฤทธเิ ดช ๑๐. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ศรสี วุ รรณ เกษมสวสั ด์ิ ๑๑. ดร.สนุ ทร ผจญ ๑๒. พลอากาศตรี แพทยห์ ญิง สุภัชชา ชาญวิเศษ ทั้งน้ี ขอใหศ้ ิษย์เกา่ ทุกท่านที่มีรายชอื่ ขา้ งต้น เขา้ รับโล่ศิษยเ์ กา่ และเข้าร่วมงานวันแกว้ ใจจลุ จอม ปี พ.ศ.๒๕๖๓ ในวันที่ ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ เวลา ๑๑.๐๐ น. ณ อาคารสนุ นั ทานุสรณ์ สมาคมศษิ ย์เก่าสวน สนุ นั ทาฯ ถ.สามเสน กรงุ เทพฯ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๑ ๐๒๘๑ ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ( ดร.ชยภรณ ์ ธนาบริบูรณ์ ) นายกสมาคมศษิ ย์เกา่ สวนสุนนั ทา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 50 สวนสุนนั ทาสัมพันธ์ 2563

คำ�สัง่ สมาคมศิษย์เกา่ สวนสุนนั ทา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ ท่ี ๓/ ๒๕๖๒ เร่อื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการท่ปี รกึ ษาสมาคม และท่ปี รกึ ษานายกสมาคมศษิ ย์เก่าสวนสุนนั ทา เพอ่ื ใหก้ ารดำ�เนนิ งานของสมาคมศษิ ย์เกา่ สวนสุนันทา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธภิ าพบรรลวุ ตั ถุประสงค์ ตามข้อบงั คบั สมาคมศิษยเ์ กา่ ฯ จงึ แตง่ ต้ังบคุ คลเป็นที่ปรึกษาสมาคมและที่ปรึกษา นายกสมาคมศิษย์เกา่ สวนสนุ นั ทา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ ดงั น้ี ที่ปรกึ ษาสมาคม สนั ตะบตุ ร ๖. นางแจ่มจันทร์ ทองเสรมิ ๑. คุณหญิงจันทนี อภยั พนั ธุ์ ๗. นางจรวยพร ธรณินทร์ ๒. นางสงดั กระจายวงศ์ ๘. รศ.ไพลิน ผอ่ งใส ๓. นายกลาย พณชิ ยกลุ ๙. รศ.ดร.สมศกั ดิ์ คงเท่ียง ๔. ผศ.ดร.ปรางศรี ตุงคสวัสด์ิ ๑๐. รศ.ดร.ชว่ งโชติ พันธเุ วช ๕. รศ.ดร.รตั นา ท่ปี รึกษานายกสมาคม ๑๕. ดร.ทิพยว์ รรณ จักรเพ็ชร ๑. ดร.วันด ี กญุ ชรยาคง จุลเจริญ ๑๖. รศ.ณฐั พงษ ์ โปษกะบุตร ๒. ดร.นาท ี รชั กจิ ประการ ๑๗. ดร.คงกริษ เลก็ ศรนี าค ๓. ดร.โฆสติ สวุ นิ จิ จิต ๑๘. นางศศชิ า นิยมสันติ ๔. ดร.มนัส โนนชุ ๑๙. นางฉัฐฉรา พลู เกษ ๕. ดร.สมุ าลี ศรสี ุภรวาณชิ ย์ ๒๐. ดร.สุดาวรรณ สมใจ ๖. คุณวรรณี ปญั จทรัพย์ ๒๑. นางสาวสงวนศรี อภบิ ุญโยภาส ๗. นายสมศกั ด ์ิ อ�ำ นวยพรรณ ๒๒. ดร.ปรเมษฐ์ กฤตลักษณ์ ๘. พลเอก ดร.กิตตศิ ักดิ ์ รัฐประเสรฐิ ๒๓. ดร.กาญจนา โพธวิ ทิ ยานนท์ ๙. พ.อ.(พเิ ศษ)หญิง ดร.ปยิ ะวดี จนิ ดาโชติ ๒๔. รศ.ดร.สมเกยี รต ิ กอบัวแกว้ ๑๐. พลเรือเอก ปรีชาญ จามเจรญิ ๒๕. ดร.ทรงจิต พลู ลาภ ๑๑. พลตรหี ญิงปาณฑรา มีนะกนษิ ฐ ๒๖. นายศิวชั โชคดี ๑๒. ผศ.ดร.นทั นชิ า หาสุนทรี ๒๗. นายเอกธนา ธนาโรจนวงศ์ ๑๓. ดร.ฐาณิญา หงสศ์ ิริ ๒๘. นางสมจิตร แก่นสาร ๑๔. ดร.บุญศรี สุธรี ชยั คณะกรรมการท่ีปรกึ ษาสมาคมและท่ปี รกึ ษานายกสมาคมฯ มีหน้าทใ่ี ห้ข้อเสนอแนะ และสนบั สนนุ กิจกรรมของสมาคมฯ รวมทัง้ เขา้ ร่วมประชมุ เปน็ ครง้ั คราว ทงั้ นีต้ ้งั แต่บดั นเี้ ป็นตน้ ไป สงั่ ณ วันท่ี ๑๙ กนั ยายน ๒๕๖๒ ส ว น ส นุ ัน ท า ส มั พ นั ธ ์ 2 563 (ดร.ชยภรณ์ ธนาบรบิ ูรณ์) นายกสมาคมศษิ ย์เก่าสวนสุนนั ทา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ ์ 51

ศาสตรพ์ ระราชา สู่การพฒั นาอย่างยั่งยืน พลโท ดร.ทวี แจม่ จ�ำ รสั * เป็นท่นี ่ายนิ ดเี ป็นอยา่ งยงิ่ ท่ี รศ.ดร.ฤาเดช เกดิ วชิ ยั อดีตอธกิ ารบดี ปจั จบุ นั เปน็ นายก สภามหาวิทยาลัยท่มี วี สิ ยั ทัศน์กว้างไกล ได้มดี �ำ รใิ หส้ ำ�นกั การศกึ ษาท่ัวไปและนวัตกรรมการเรียนรู้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ General Education : GE) เร่มิ เปิดการเรยี นการสอน โดยก�ำ หนดชอื่ วชิ าวา่ ศาสตร์ แห่งราชนั ย์ รหสั วชิ า GEN 0109 เปน็ หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไปในระดับปรญิ ญาตรี ให้นกั ศกึ ษาทุกคณะ ได้ลงทะเบียนเรยี น โดยเริ่มตง้ั แต่ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 มีนกั ศึกษาลงทะเบยี น 2,335 คน โดยแบ่งกลมุ่ นกั ศึกษาออกเป็น 7 กลุม่ เช่น กลมุ่ 001, กลมุ่ 002, กลุ่ม 003, กลมุ่ ศูนยน์ ครปฐม, กลมุ่ ศนู ย์ระนอง, กลมุ่ ศนู ย์สมุทรสงคราม และกลุ่มศูนย์อดุ รธานี เปน็ การสอนในหอประชุมสนุ นั ทานุสรณ์ รอบละประมาณ 600 คน ในศนู ย์ตา่ งจังหวดั ใช้ระบบการเรยี นการสอนทางไกลไปพรอ้ ม ๆกัน ใช้เวลา คาบละ 3 ช่ัวโมง ใช้เวลาบรรยาย 3 ครงั้ และเชญิ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิภายนอกบรรยายเพ่มิ เติมอีก 1 ครง้ั รวมเป็น 4 ครง้ั ผมได้รบั การประสานจาก ผศ.ดร.ปรชี า พงษเ์ พ็ง ตำ�แหนง่ ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั วิชาการศกึ ษา ทั่วไป ปัจจุบันรกั ษาราชการ รองอธิการบดีฝ่ายบรหิ าร โดยการแนะนำ�ของท่านอดตี อธกิ ารบดี ไดเ้ ชิญ ผมไปสอนรว่ มกับ ผศ.สมหมาย ปวะบตุ ร สงั กดั คณะครุศาสตรไ์ ด้รว่ มกันเขยี นตำ�ราเพื่อใชเ้ ปน็ เอกสาร ประกอบการสอน เปน็ หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ.2562 ประกอบด้วยเน้อื หาจำ�นวน 8 บท โดยบทท่ี 1 ความสำ�คัญของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย บทที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงกับการด�ำ รงชีวติ บทท่ี 3 เกษตรทฤษฎใี หม่ บทที่ 4 ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งยั่งยืน บทท่ี 5 โครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำ ริ บทท่ี 6 ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ บทท่ี 7 วถิ ชี ีวติ ของชมุ ชนท้องถิ่นไทย บทท่ี 8 การรักถิ่นฐาน บา้ นเกดิ มคี วามหนารวม 279 หน้า และไดส้ ง่ ให้ผ้ทู รงคณุ วุฒิ 2 ท่านตรวจทาน และได้จดั พิมพเ์ ป็น เลม่ รวมทง้ั สง่ เขา้ ระบบออนไลนแ์ จกจา่ ยใหน้ กั ศกึ ษาใช้ประกอบการเรียน ผมรับผดิ ชอบสอนบทท ี่ 1- 4 และสอบวดั ผล ผศ.สมหมาย ฯ รบั ผิดชอบสอนบทท่ี 5-8 และสอบวัดผล ต่อมาไดส้ อนให้นกั ศึกษา ปีท่ี 1 ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 ทีล่ งทะเบียนเรยี นรวม 7 กลุ่ม ท�ำ การสอนดว้ ยระบบออนไลนแ์ ละ จะเปิดสอนให้นกั ศกึ ษาช้ันปีที่ 1 ทุกปีการศกึ ษาตอ่ ไป เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษามคี วามรู้ความเขา้ ใจในหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซ่งึ เปน็ วสิ ัยทศั น์ของรฐั บาลชุดปัจจุบนั ทก่ี ำ�หนดไวว้ า่ “ประเทศไทยมีความ * ขา้ ราชการบ�ำ นาญ อาจารยโ์ ครงการดุษฎบี ณั ฑิต สาขาการบรหิ ารการพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา กรรมการสมาคมศษิ ย์เก่าสวนสนุ ันทา ในพระบรมราชาชินูปถมั ภ์ 52 สวนสนุ นั ทาสมั พันธ์ 2563

มัน่ คง ม่งั คั่ง ย่ังยนื เป็นประเทศที่พฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอ เพยี ง” หรือตามคติพจน์ “มั่นคง มง่ั คัง่ ย่งั ยนื ” โดยมีระยะเวลาบงั คบั ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ตงั้ แตป่ ี พ.ศ.2560-พ.ศ. 2580 สามารถสรปุ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ได้ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชีแ้ นะแนวทางการด�ำ รงอยู่ และปฏิบตั ิตนในทางที่ควร จะเป็น โดยมีพ้นื ฐานมาจากวถิ ีชวี ิตดัง้ เดมิ ของสังคมไทย สามารถน�ำ มาประยุกตใ์ ช้ไดต้ ลอดเวลา และ เป็นการมองโลกเชงิ ระบบทมี่ ีการเปล่ียนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ม่งุ เน้นการรอดพ้นจากภยั และวิกฤติ เพ่ือความม่ันคง และความยัง่ ยืนของการพฒั นา เศรษฐกจิ พอเพียงสามารถน�ำ มาประยุกต์ใช้กบั การ ปฏิบัตติ นไดใ้ นทุกระดับ โดยเนน้ การปฏิบตั ิบนทางสายกลางและการพฒั นาอยา่ งเป็นข้นั ตอน 2. คุณลักษณะ ความพอเพยี งจะต้องประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะพรอ้ ม ๆ กนั ดงั น้ี 2.1 ความพอประมาณ (Moderation) หมายถึง ความพอดตี ่อความจ�ำ เปน็ และ เหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม รว่ มทัง้ วัฒนธรรมในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน ไม่มากเกนิ ไป ไม่ น้อยเกินไป และตอ้ งไม่เบียดเบยี นตนเองและผอู้ นื่ 2.2 ความมเี หตผุ ล (Reasonableness) หมายถงึ การตัดสินใจดำ�เนินการอยา่ งมี เหตผุ ลตามหลกั วชิ าการ หลกั กฎหมาย หลกั คุณธรรม และวฒั นธรรมทีด่ งี าม โดยค�ำ นงึ ถงึ ปจั จยั ที่ เกยี่ วข้องอยา่ งถว้ นถ่ี รจู้ ุดอ่อน จดุ แขง็ โอกาส อปุ สรรค และคาดการณ์เรอื่ งที่จะเกิดขน้ึ อยา่ งรอบคอบ รูเ้ ขา รู้เรา รู้จกั เลือกนำ�สิง่ ทดี่ มี าประยกุ ตใ์ ช้ 2.3 การมภี มู คิ ้มุ กนั ท่ีดใี นตวั (Self-Immunity) หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับ ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดล้อมและวัฒนธรรม จากท้ังในและตา่ ง ประเทศ เพ่อื ให้สามารถบรหิ ารความเสี่ยง ปรบั ตวั และรบั มอื ไดอ้ ย่างทนั ทว่ งที 3. เงอื่ นไข การตัดสินใจและการดำ�เนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยูใ่ นระดับพอเพยี ง น้ันตอ้ ง อาศยั ทั้งความร้แู ละคุณธรรมเป็นพน้ื ฐาน 3.1 เง่อื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรเู้ กีย่ วกบั วิชาการตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบดา้ นความรอบคอบที่จะนำ�ความรเู้ หล่านน้ั มาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ในขั้นปฏิบตั ิ 3.2 เง่ือนไขคณุ ธรรม ประกอบดว้ ย ความตระหนักในคณุ ธรรมมีความซอ่ื สตั ย์สจุ ริต และมีความอดทน มคี วามเพียร ในสตปิ ญั ญาในการดำ�เนนิ ชีวติ 4. แนวทางปฏบิ ตั ิ/ผลทีค่ าดวา่ จะได้รับ คือการพฒั นาท่สี มดุลและยัง่ ยืน พรอ้ มรบั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง ครอบคลมุ มติ ิในการด�ำ เนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ในสังคม 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. มติ ดิ ้าน เศรษฐกจิ 2. มิติด้านจติ ใจ 3. มิติดา้ นสังคม และ 4. มิติดา้ นวัฒนธรรม สวนสุนันทาสัมพันธ์ 2563 53

แผนผังของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 หว่ ง : 1. พอประมาณ 2. มีเหตผุ ล และ 3. มภี ูมคิ ้มุ กันในตวั ท่ดี ี 2 เงอื่ นไข : 1. เงอื่ นไขความรู้ และ 2. เงือ่ นไขคณุ ธรรม 4 มติ : 1. มิตเิ ศรษฐกิจ 2. มิตจิ ิตใจ 3. มติ ิสังคม และ 4 มิตวิ ัฒนธรรม 3 ศาสตร ์ : 1. ศาสตร์ชาวบา้ น 2. ศาสตรพ์ ระราชา และ 3. ศาสตรส์ ากล 54 สวนสุนันทาสมั พันธ์ 2563

มาร์ชสวนสนุ ันทา สวนสนุ นั ทาเปน็ สง่า เลื่องชือ่ ลือชาเพราะความดีเด่น เกียรติขจรระบือไกล ศิษย์ร่วมใจเพียรบำ�เพ็ญ เป็นแหล่งเกิดการศึกษา สวนสุนนั ทาอันศกั ดิส์ ิทธิ์ ที่จอมบพิตร ธ ทรงสถาปนา เพียงอทุ ยานเทพเทวา ตระการตาผกางาม สถานลํ้าค่าภูมิใจ พวกเราจงพร้อมถนอม แก้วเจ้าจอมดอกไม้สดใส คู่นามของวิทยาลัย ดจุ ใจมัน่ หมายสือ่ สายสมั พนั ธ์ สวนสุนนั ทาก้าวหน้า เลิศการศึกษาวิชาการอนันต์ สร้างบณั ฑิตภูมิปัญญา สร้างศรัทธารวมใจกนั จงพร้อมยึดมั่นสนุ ันทา สนุ ันทาร�ำ ลึก คำ�นึงถึงอดีตกาลผ่านสมัย ดวงฤทัยแจ่มจรสั รัศมี ของข้าเหล่าลกู เจ้าจอมเทวี ดวงฤดีเปี่ยมระลึกนึกใฝ่ชม นึกถึงเนินพระนางกลางใจสวน แสนอบอุ่นกลิ่นบุปผานานาสม ปราสาทรักแนบใจรักปกั ใจชม แสนรืน่ รมย์ผูกใจเราแก้วเจ้าจอม สถานศึกษาสัง่ สอนวิทย์สิทธิศาสตร์ รืน่ วิลาสแหล่งทีช่ ี้โอบอ้อม ลานลั่นทมระรวยรินกลิ่นพยอม แก้วเจ้าจอมเด่นสง่าน่าพบพาน พระพายโชยโปรยกลีบบปุ ผาแก้ว เสนาะแล้วเสียงดนตรีสีประสาน บุญพระจอมปิยะเจ้าโปรดประทาน ให้สราญสขุ สดชืน่ คืนสุนันท์ สวนสนุ ันทาสมั พันธ์ 2563 55

รม่ โพธิ์ทอง ข้าบังคมก้มเกล้าและศิรกานต์ แด่พระดวงวิญญาณเสวยสวรรค์ มิง่ ขวญั ขององค์พระทรงธรรม์ พระนางเจ้าสุนันทาเทวี แด่เกียรติพระนาง เจ้าสนุ นั ทาเทวี เทิดทูนความดี เพื่อศักดิ์ศรีสุนนั ทา โอ้ร่มโพธิ์ทอง พระคณุ ปกป้องเกศา ซึ้งในบุญญา บารมีจิรกาล แหล่งรวมนํ้าใจ ที่ยิง่ ใหญ่ไพศาล ขอจงยืนนาน สถาบันปญั ญาชน เพือ่ ชาติเพือ่ อดุ มการณ์ เพื่อวิทยาทานอันพนู ผล เพือ่ คุณวิชาเชิดค่าคน อุทิศตนเพื่อชาติไทย ลาแล้วสุนันทา ลาแล้วสุนนั ทา แม้ว่าลาแล้วเศร้าเหงาใจ ลาวิมานถิ่นสถานยิ่งใหญ่ ทีเ่ รานี้เคยได้ มาพึง่ ในสวนร่วมกนั ลาแล้วแก้วเจ้าจอม หอมย่อม ยังฝงั จิตสมั พนั ธ์ เนินพระนางท่ามกลางสวนงามนั่น ทีร่ �ำ ลึกคงม่นั ห่างไปพลนั ฝนั ไม่วาย *อกเอยโถเคยเทีย่ วชม ร่วมกันสขุ สมอารมณ์ผูกพันไม่หาย พร้อมท้ังมิตรเรียงราย แสนอาลยั ไม่หน่าย ไม่มีคลายไมตรี ลาแล้วสนุ ันทา แม้ว่าลาแล้วเศร้าฤดี สีนํ้าเงินและชมพูเรานี่ จดจำ�ไว้เตม็ ที่ ชวั่ ชีวีสีไม่จาง (ซํ้า) จดั หน้า รูปเลม่ : ผูช้ ่วยศาสตราจารยว์ รี ะ โชตธิ รรมาภรณ์ 56 สวนสุนันทาสัมพนั ธ์ 2563

สวนสุนนั ทาสัมพนั ธ์ 2563 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook