พ.ศ.2475 คณะละครสมคั รเลน่ ของเสด็จพระองค์อาทร กย็ ้ายออกมานอกสวนสนุ ันทา และยตุ ิ บทบาทลงจรงิ ๆ เม่ือเจา้ จอมมารดาเขียน ถึงแกอ่ นิจกรรม ละครกเ็ ลกิ จัดแสดงไปโดยปริยาย สวนสุนนั ทารกรา้ งวา่ งเปล่าอยรู่ าวๆ 5 ปี อนั เป็นผลมาจากการเปลยี่ นแปลงการปกครอง โดยคณะราษฎร์ กระทั่งคณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นสมควรให้สถานทน่ี ีจ้ ัดเป็นสถานศกึ ษาส�ำ หรับฝึกหัด ครูสตรี และไดร้ ับพระบรมราชานญุ าตผ่านคณะผู้ส�ำ เร็จราชการแทนพระองค์พระบาทสมเดจ็ พระ ปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระอฐั มรามาธิบดินทร์ รัชกาลที่ 8 ใหใ้ ช้พื้นทีส่ ว่ นใหญใ่ นสวนสุนนั ทา ตง้ั เปน็ โรงเรียน ใหช้ อื่ ว่าโรงเรียนสวนสุนนั ทาวทิ ยาลัย มีอาจารยน์ ลิ รัตน ์ บรรณสิทธิ์วรสาส์น เป็น อาจารยใ์ หญ่คนแรก ได้บุกเบิกพ้นื ทีก่ ่อร้างสร้างสถานศกึ ษาจากสภาพเดมิ ทรี่ กไปด้วยตน้ ไมแ้ ละ วชั พืช กลายเป็นโรงเรียนสตรีขนาดใหญ่เปิดการเรยี นการสอนในวนั ที่ 17 พฤษภาคม 2480 เมอื่ ครบรอบปีโรงเรียนได้จัดงานร่ืนเริงเพ่ือเฉลิมฉลองในโอกาสที่จัดสร้างอาคารเรียนหลังแรกสำ�เร็จ และแสดงมุทติ าจิตแด่อาจารยน์ ลิ รตั น์ บรรณสิทธิวรสาส์น ในคราวทไี่ ดร้ ับพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณเ์ บญจมาภรณ์มงกฎุ ไทย ในครงั้ นั้นโรงเรียนไดจ้ ดั แสดงละคร เร่อื ง ซนิ เดอริลลา อ�ำ นวยการแสดงโดยอาจารยจ์ ติ รา รักตะกนษิ ฐ์ มลี ักษณะเป็นละครผสมอุปรากร งดงามน่าสนใจทั้งการแสดง ฉาก ตวั ละคร เคร่ืองแตง่ กาย และแสงเสยี ง เปน็ ท่ีประทบั ใจตอ่ ผชู้ ม อย่างยงิ่ และไดม้ ีโอกาสจัดแสดงถวาย พระราชชนนีศรีสังวาลย์ (สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช ชนน)ี ทีต่ ามเสด็จพระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลที่ 8 นวิ ตั ิประเทศไทยในคราวน้ันได้ทอดพระเนตรดว้ ย โดยมี อาจารยส์ ังวาลย์ ปุคคละนันท์ พระสหายร่วมรุ่นจากโรงเรยี นสตรีวทิ ยาเป็นผู้ประสานการรับเสดจ็ หลงั จากงานรื่นเรงิ ในครั้งนนั้ โรงเรยี นสวนสุนันทาวทิ ยาลยั ก็มไิ ดจ้ ัดแสดงละครอกี ต่อมา เป็นเวลานาน เน่อื งด้วยมเี หตกุ ารณส์ งครามมหาเอเชยี บรู พา อนั เปน็ ผลพวงมาจากสงครามโลกคร้ัง ทีส่ อง เมอ่ื สงครามสงบ โรงเรยี นสวนสนุ นั ทาวทิ ยาลยั กลับสสู่ ภาวะปกติ จนถึงปีพ.ศ.2493 อาจารย์ กรองแก้ว หสั ดนิ (คุณหญงิ กรองแก้ว ปทมุ านนท์) อาจารยใ์ หญ่ไดร้ เิ ร่ิมจัดใหม้ กี ารแสดงละครข้ึนอกี ตามค�ำ แนะนำ�ของนางมหาเทพกษัตรสมหุ (อาจารยบ์ รรเลง ศลิ ปบรรเลง สาครกิ ) โดยจดั แสดงเร่อื ง ศกนุ ตลา บทพระราชนิพนธใ์ นรชั กาลที่ 6 และต้งั แต่ปีพ.ศ.2493 เปน็ ต้นมาจนตลอดระยะเวลาการ บริหารงานของอาจารยค์ ุณหญงิ กรองแก้ว ปทุมานนท์ โรงเรียนสวนสนุ ันทาวทิ ยาลยั และวทิ ยาลัยครู สวนสนุ ันทาได้จัดแสดงละครประจำ�ปีติดตอ่ กันมาตลอด ทา่ นไดเ้ คยใหส้ มั ภาษณ์ในเรอ่ื งการจัดแสดง ละครนี้วา่ “การบริหารงานของดิฉัน ดฉิ นั ถือว่างานละครเปน็ สว่ นหนงึ่ ของงานบรหิ าร ครทู ุกคน ตอ้ งทำ�งาน นักเรยี นทุกคนต้องมีหนา้ ท่ี ภารโรงทกุ คนตอ้ งทำ�งาน ใครมาฝากเด็กเขา้ เรยี นดฉิ นั จะจดไว้วา่ ผูป้ กครองทำ�งานอะไร อยูท่ ่ไี หน ดิฉันไมร่ ับสินบนแตด่ ฉิ ันจะขอรอ้ งท่านผปู้ กครองทีม่ ี สวนสนุ ันทาสัมพนั ธ์ 2562 49
ความรู้ความสามารถสละเวลามาช่วยงานละครของ สวนสุนนั ทา เช่น คุณอุดม พ่อของอาจารย์พนั ธท์ ิพย์ จันทร์สมบัติ ทา่ นมีความรเู้ รือ่ งไฟ ดิฉันก็ขอให้ทา่ นมา ช่วยเร่ืองไฟบนเวทีประกอบการแสดงละคร มอี าจารย์ นุภาพ จันทนสุข เปน็ ผ้ชู ว่ ย เมอื่ คณุ อุดมมีอายมุ ากแลว้ อาจารยน์ ุภาพกเ็ ป็นหัวหนา้ มอี าจารยห์ าญ รงั สิมันต์ เป็นผชู้ ว่ ย เม่ืออาจารย์นภุ าพถงึ แก่กรรม อาจารยห์ าญ ก็เปน็ หวั หน้า มีคนงานเป็นผชู้ ว่ ย ดา้ นฉากละครไดเ้ ชิญ คุณเรวัติ เสนยี ์วงศ์ ณ อยุธยา ทา่ นรับราชการอยู่ท่ี กองภาพยนตร์ทหารอากาศ มาชว่ ยเร่อื งออกแบบฉาก สรา้ งฉาก มีอาจารย์วัฒนา พรหมสาขา ณ สกลนคร และคนงานของวทิ ยาลยั เป็นผูช้ ่วย ต่อมาปพี ุทธศักราช 2502 อาจารยพ์ ิมล สายจันทร์ดี มาบรรจรุ บั ราชการก็ เข้าช่วย เม่ือคณุ เรวตั มิ อี ายมุ ากแลว้ อาจารยพ์ มิ ลก็ด�ำ เนินการแทนต้งั แตอ่ อกแบบฉาก สร้างฉาก ดา้ น เครอ่ื งเสยี งอาจารย์สมาน เฉตระการ เป็นหวั หนา้ มีนายส�ำ เนียง อ่อนแสง เจ้าหนา้ ทห่ี ้องโสตเปน็ ผู้ชว่ ย ต่อมาอาจารย์สมานถกู ขอตัวไปชว่ ยราชการทกี่ ระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ อาจารยเ์ บญจมาศ เกษม เศรษฐ์ หัวหนา้ หมวดวิชาวิทยาศาสตร์มาเป็นหวั หนา้ แทน เม่ืออาจารย์สมานกลบั มาก็มาเปน็ หัวหนา้ ตามเดิม ดา้ นเคร่อื งแต่งกายละคร อาจารยท์ องย้อย เครอื วัลย์ เป็นหวั หน้า คณุ หญงิ ช้ิน ศลิ ปะบรรเลง เป็นท่ปี รึกษา มีอาจารย์บษุ กร วีระบุรุษ อาจารย์ยพุ า พฒั นกำ�จร อาจารยร์ ัตนา เจรญิ โภคราช อาจารย์ บุรี งามแสง อาจารย์สพุ ตั รา ปนานนท์ อาจารยส์ มจติ มสี ุวรรณ์ เป็นผชู้ ่วย และอาจารยบ์ รรเลง ศิลป บรรเลง เปน็ หัวหนา้ ผู้ฝกึ ซอ้ ม มีอาจารยจ์ ากโรงเรยี นนาฏศิลป์คือ คณุ ครูลมุล ยมะคุปต์ คุณครูผนั โมรากลุ คุณครฉู ลาด พกุลานนท์ และคณุ ครูชม้อย ธารเี ธียร มาช่วยฝึกซอ้ มการละเล่นของหลวง” หมวดวชิ าดนตรีนาฏศลิ ป์ในโรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลยั สมัยน้นั มอี าจารยป์ ระจำ�อยู่ เพยี งสองคน คือนางมหาเทพกษัตรสมหุ (บรรเลง ศิลปบรรเลง สาครกิ ) เป็นหวั หนา้ หมวด และ อาจารยท์ องย้อย เครือวัลย์ เปน็ ผูช้ ่วย จนกระท่งั วนั ท่ี 15 กันยายน พ.ศ.2496 โรงเรยี นได้บรรจุแต่ง ตั้ง อาจารย์ศิรกิ ลุ นกั ดนตรี (วรบตุ ร) เพมิ่ ขึ้นอีก 1 คน ในตำ�แหน่งครูจัตวา หมวดวิชาดนตรีนาฏศลิ ป์ อาจารย์ศริ กิ ลุ ในขณะนัน้ มีอายุเพยี ง 18 ปี เป็นศษิ ย์ทางดนตรแี ละขบั ร้องจากส�ำ นักบา้ นบาตร ของ หลวงประดษิ ฐ์ไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) ทงั้ เคยอยู่ในคณะละครผกาวลี ของครปู ระสิทธิ์ – ครูลัดดา ศิลปบรรเลง อาจารย์ศริ ิกลุ เลา่ ถึงการท�ำ งานละครของสวนสุนันทาในขณะน้ันว่า 50 สวนสุนันทาสมั พนั ธ์ 2562
“การซอ้ มละครของโรงเรยี นน้นั จะใชเ้ วลาหลังเลิกเรยี นแลว้ ต้งั แต่เวลา 17.00 น. เปน็ ต้น ไปจนถึง 21.00 น.หรือมากกวา่ น้นั สถานท่ซี ้อมกใ็ ชโ้ รงอาหารของโรงเรยี นซ่งึ เป็นทีโ่ ลง่ ระหว่างการ ซอ้ มก็จะมผี ปู้ กครองทีม่ าคอยรับบุตรหลานทีร่ ่วมแสดง มคี นงานและเดก็ ๆ ทพี่ กั ประจำ�มาดูการซ้อม ทำ�ให้การซอ้ มของเราสนุกสนานไมเ่ งยี บเหงา โรงอาหารของโรงเรียนใช้ประโยชนไ์ ด้หลายอยา่ ง เป็นที่ รับประทานอาหาร ใชซ้ ้อมละครและใชเ้ ปน็ ทีแ่ สดงจรงิ ดว้ ย ดฉิ นั รับหน้าท่เี ปน็ คนตีระนาดเฉพาะเวลา ซ้อม และขบั รอ้ งบทประกอบตวั นาง” ปี พ.ศ.2501 วทิ ยาลัยครสู วนสุนันทา ได้รับ โอนอาจารยจ์ รญู ศรี วรี ะวาณิช จากโรงเรียนนาฏศลิ ป์ กรมศิลปากร มาประจำ�ท่ีสวนสนุ นั ทา และหลังจากน้ัน ไม่นานนกั ก็รบั โอนอาจารย์ประทนิ พวงสำ�ลี จากสงั กดั เดียวกัน มาปฏบิ ัตงิ านสอนนาฏศิลป์เพ่มิ ขน้ึ อกี ด้วย ทำ�ให้นาฏศิลป์การละครของวิทยาลัยครูสวนสุนันทา มบี คุ ลากรครบถ้วนท้ังครูและผู้เรยี น ทั้งผู้บรหิ ารกใ็ ห้การ สนับสนุนอยา่ งดีท่สี ุด ทำ�ใหม้ นั่ คงเปน็ ปกึ แผน่ โดด เด่น เปน็ ทส่ี นใจของผชู้ มทกุ ปี ซึ่งในการจดั ละครแตล่ ะครง้ั มีรายไดจ้ ากการจำ�หนา่ ยบตั รเขา้ ชมเปน็ จ�ำ นวนมาก จนสามารถนำ�ไปสมทบทุนสรา้ งหอประชุมสุนนั ทานุสรณไ์ ด้ส�ำ เร็จในปีพ.ศ.2513 และ เหลือใช้ในกิจการอน่ื ๆ ของวทิ ยาลัยครสู วนสุนันทา โดยรบกวนงบประมาณจากทางราชการนอ้ ย ท่สี ดุ และอีกไม่นานหลงั จากนนั้ วิทยาลัยครสู วนสนุ นั ทา ก็ได้ร่างหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าการ ศกึ ษาชั้นสงู (ป.กศ.สงู ) ในวชิ าเอกนาฏศิลป์ข้ึน และน�ำ เสนอผ่านตน้ สงั กัด ไดร้ บั การอนุมัติให้เปิดการ เรียนการสอนไดต้ ง้ั แต่ปกี ารศกึ ษา 2515 เปน็ ต้นมา นับเปน็ วทิ ยาลัยครูแหง่ แรกทเ่ี ปิดสอนวิชาเอก นาฏศิลป์ จากจดุ เริม่ ตน้ ในครัง้ นัน้ จากหมวดวชิ าส่กู ารเปดิ การเรียนการสอนวิชาเอกนาฏศลิ ป์ เป็นการเฉพาะและขยายจนถึงระดับข้นั ปริญญา และอาจจะกลา่ วได้ว่า เปน็ หนึ่งในสาขาวชิ าท่ี มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทาไดน้ ำ�เอาศักยภาพมาเปิดเป็นคณะใหม่ คือคณะศลิ ปกรรมศาสตรใ์ น ทสี่ ดุ กว่าจะเปน็ นาฏศลิ ปส์ วนสนุ ันทา ไมใ่ ช่เรือ่ งง่าย ท่านผบู้ กุ เบิกได้สร้างแนวทางใหอ้ นชุ น ดำ�เนินรอยตามจนมนั่ คงเปน็ ปึกแผ่นอยู่คู่มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามาจนถงึ ทุกวนั น้ี ขอน้อม รำ�ลกึ พระคุณของปูชนียช์ นทกุ ทา่ น ทีท่ ำ�ใหเ้ รามีและเปน็ ได้อยา่ งทุกวันนี้ สวนสนุ นั ทาสมั พนั ธ์ 2562 51
ค�ำ สง่ั สมาคมศิษยเ์ กา่ สวนสุนนั ทา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ ที่ ๒/๒๕๖๒ เร่อื ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการพจิ ารณาคัดเลอื กศิษยเ์ กา่ เกยี รติยศและศิษย์เก่าดเี ดน่ เพ่ือให้การคัดเลอื กบคุ คลท่ีเปน็ ศษิ ย์เก่าวทิ ยาลัยครสู วนสนุ นั ทา ศษิ ย์เก่ามหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทา ศษิ ยเ์ ก่าโรงเรียนมัธยมสาธิต และประถมสาธิต มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทา เปน็ ศษิ ย์เก่าเกียรตยิ ศ และศษิ ย์เกา่ ดเี ดน่ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน็ ไปด้วยความความเรียบร้อย อาศยั มตทิ ่ปี ระชุมครงั้ ท่ี ๗/๒๕๖๒ เม่ือ วนั ที่ ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๒ จึงแต่งตง้ั คณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่าสวนสนุ ันทา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ เปน็ กรรมการพจิ ารณาคัดเลอื กศิษยเ์ ก่าเกียรตยิ ศและศิษยเ์ ก่าดเี ด่น ดงั นี้ ๑. นางแจม่ จันทร ์ ทองเสรมิ ประธานท่ปี รึกษา ๒. ดร.ชยภรณ ์ ธนาบรบิ ูรณ ์ ทปี่ รกึ ษา ๓. พลเอกสิทธ ์ิ สทิ ธมิ งคล ทีป่ รึกษา ๔. นายประโยชน์ พนิ เดช ทีป่ รกึ ษา ๕. นายธเนส เกตุกาหลง ประธานกรรมการ ๖. นายประเสริฐ สจี ง กรรมการ ๗. นางรตั นา ถัดทะพงษ์ กรรมการ ๘. นางสุชาภา ผลชีวิน กรรมการ ๙. ดร.เออ้ื มพร ศิรริ ัตน ์ กรรมการ ๑๐. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์วีระ โชตธิ รรมาภรณ ์ กรรมการและเลขานกุ าร ทัง้ นตี้ ้ังแตว่ ันท ี่ ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๒ เปน็ ตน้ ไป จนกว่าจะเสรจ็ ส้ินการพิจารณา ส่งั ณ วันท่ี ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๒ (ดร.ชยภรณ์ ธนาบรบิ ูรณ์) นายกสมาคมศิษยเ์ ก่าสวนสุนันทา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 52 สวนสุนนั ทาสมั พันธ์ 2562
คำ�สง่ั สมาคมศษิ ยเ์ ก่าสวนสนุ ันทา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ ท่ี ๓/ ๒๕๖๒ เร่อื ง แต่งตัง้ คณะกรรมการทป่ี รกึ ษาสมาคม และทป่ี รกึ ษานายกสมาคมศษิ ยเ์ ก่าสวนสนุ นั ทา เพอ่ื ใหก้ ารดำ�เนนิ งานของสมาคมศิษย์เก่าสวนสุนนั ทา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย มปี ระสทิ ธภิ าพบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ ตามขอ้ บังคบั สมาคมศิษย์เก่าฯ จงึ แตง่ ตั้งบุคคลเป็นทีป่ รกึ ษาสมาคมและที่ปรึกษา นายกสมาคมศษิ ย์เกา่ สวนสนุ นั ทา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ ดงั น้ี ทีป่ รึกษาสมาคม สันตะบตุ ร ๖. นางแจม่ จันทร ์ ทองเสรมิ ๑. คณุ หญงิ จนั ทน ี อภัยพนั ธุ์ ๗. นางจรวยพร ธรณินทร์ ๒. นางสงดั กระจายวงศ์ ๘. รศ.ไพลิน ผอ่ งใส ๓. นายกลาย พณชิ ยกลุ ๙. รศ.ดร.สมศกั ดิ์ คงเที่ยง ๔. ผศ.ดร.ปรางศร ี ตงุ คสวัสด์ิ ๑๐. รศ.ดร.ชว่ งโชต ิ พันธเุ วช ๕. รศ.ดร.รตั นา ท่ปี รึกษานายกสมาคม ๑๕. ดร.ทพิ ย์วรรณ จกั รเพ็ชร ๑. ดร.วนั ดี กุญชรยาคง จลุ เจริญ ๑๖. รศ.ณฐั พงษ ์ โปษกะบุตร ๒. ดร.นาท ี รชั กิจประการ ๑๗. ดร.คงกริษ เลก็ ศรนี าค ๓. ดร.โฆสิต สวุ นิ จิ จติ ๑๘. นางศศชิ า นยิ มสันติ ๔. ดร.มนัส โนนชุ ๑๙. นางฉฐั ฉรา พลู เกษ ๕. ดร.สุมาลี ศรีสุภรวาณชิ ย์ ๒๐. ดร.สดุ าวรรณ สมใจ ๖. คณุ วรรณ ี ปัญจทรพั ย์ ๒๑. นางสาวสงวนศร ี อภบิ ญุ โยภาส ๗. นายสมศักด์ิ อำ�นวยพรรณ ๒๒. ดร.ปรเมษฐ ์ กฤตลักษณ์ ๘. พลเอก ดร.กิตติศกั ด์ ิ รฐั ประเสรฐิ ๒๓. ดร.กาญจนา โพธวิ ทิ ยานนท์ ๙. พ.อ.(พิเศษ)หญงิ ดร.ปิยะวด ี จินดาโชติ ๒๔. รศ.ดร.สมเกยี รติ กอบัวแกว้ ๑๐. พลเรอื เอก ปรีชาญ จามเจรญิ ๒๕. ดร.ทรงจิต พูลลาภ ๑๑. พลตรีหญิงปาณฑรา มนี ะกนิษฐ ๒๖. นายศิวชั โชคดี ๑๒. ผศ.ดร.นทั นชิ า หาสุนทรี ๒๗. นายเอกธนา ธนาโรจนวงศ์ ๑๓. ดร.ฐาณิญา หงสศ์ ริ ิ ๒๘. นางสมจติ ร แก่นสาร ๑๔. ดร.บญุ ศร ี สธุ รี ชยั คณะกรรมการทปี่ รึกษาสมาคมและท่ีปรกึ ษานายกสมาคมฯ มหี น้าทีใ่ หข้ ้อเสนอแนะ และสนบั สนนุ กิจกรรมของสมาคมฯ รวมทั้งเข้ารว่ มประชมุ เป็นครง้ั คราว ทงั้ นต้ี ั้งแต่บดั นเี้ ปน็ ตน้ ไป สงั่ ณ วันท่ี ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ (ดร.ชยภรณ์ ธนาบรบิ ูรณ์) ส ว น ส นุ นั ท า ส ัม พนั ธ ์ 2562นา ยกสมาคมศษิ ย์เกา่ สวนสุนันทา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ ์ 53
มาร์ชสวนสุนันทา สวนสนุ นั ทาเปน็ สง่า เลือ่ งชื่อลือชาเพราะความดีเด่น เกียรติขจรระบือไกล ศิษย์ร่วมใจเพียรบำ�เพ็ญ เป็นแหล่งเกิดการศึกษา สวนสนุ ันทาอนั ศกั ดิส์ ิทธิ์ ที่จอมบพิตร ธ ทรงสถาปนา เพียงอทุ ยานเทพเทวา ตระการตาผกางาม สถานลํ้าค่าภมู ิใจ พวกเราจงพร้อมถนอม แก้วเจ้าจอมดอกไม้สดใส คู่นามของวิทยาลยั ดจุ ใจม่นั หมายสือ่ สายสัมพันธ์ สวนสนุ นั ทาก้าวหน้า เลิศการศึกษาวิชาการอนนั ต์ สร้างบณั ฑิตภมู ิปญั ญา สร้างศรทั ธารวมใจกนั จงพร้อมยึดม่ันสนุ ันทา แกว้ เจ้าจอม ชา่ งงามเหลอื เกนิ เพลดิ เพลนิ ภริ มย์ ชมสวนสนุ นั ท ์ เหมอื นหนง่ึ สวรรคอ์ นั วไิ ล หลากมาลสี งี ามตา ยอ้ มวญิ ญาณพ์ าสดใส ลบู ไลห้ วั ใจชน่ื บาน พกิ ลุ ลน่ั ทมพาชมเพลนิ หอมเชญิ ใหช้ ดิ ชมสราญ พนั ธไ์ุ มช้ วนใหย้ ล โกศลไทรโยคพบพาน อโศกแยม้ บานชน่ื ตา โนน่ เนนิ พระนางไมจ่ างพระนาม ยามเหน็ ชน่ื ชม พระผเู้ ลศิ สมนามฉายา แกว้ เจา้ จอมหอมบนเนนิ ลว้ นชวนเชญิ ใหใ้ ฝห่ า ศรทั ธานยิ มทว่ั กนั สนุ นั ทาเลอคา่ ของพยอม หอมแกว้ เจา้ จอม ใฝน่ อ้ มในความดมี น่ั หอมแก้วเจ้าจอมเจ้าจอมสำ�คัญ เป็นจอมแก้วพาสมั พนั ธ์ เรานั้นมน่ั ไมตรี 54 สวนสุนันทาสมั พนั ธ์ 2562
รม่ โพธิท์ อง ข้าบังคมก้มเกล้าและศิรกานต์ แด่พระดวงวิญญาณเสวยสวรรค์ มิ่งขวัญขององค์พระทรงธรรม์ พระนางเจ้าสนุ ันทาเทวี แด่เกียรติพระนางเจ้าสนุ นั ทาเทวี เทิดทนู ความดี เพือ่ ศักดิ์ศรีสุนนั ทา โอ้ร่มโพธิ์ทองพระคณุ ปกป้องเกศา ซึ้งในบุญญา บารมีจิรกาล แหล่งรวมน้ําใจ ทีย่ ิ่งใหญ่ไพศาล ขอจงยืนนาน สถาบันปญั ญาชน เพื่อชาติเพื่ออุดมการณ์ เพื่อวิทยาทานอันพูนผล เพือ่ คุณวิชาเชิดค่าคน อุทิศตนเพื่อชาติไทย สุนันทารำ�ลึก ค�ำ นึงถึงอดีตกาลผ่านสมยั ดวงฤทัยแจ่มจรัสรัศมี ของข้าเหล่าลกู เจ้าจอมเทวี ดวงฤดีเปี่ยมระลึกนึกใฝ่ชม นึกถึงเนินพระนางกลางใจสวน แสนอบอุ่นกลิ่นบุปผานานาสม ปราสาทรักแนบใจรกั ปักใจชม แสนรืน่ รมย์ผกู ใจเราแก้วเจ้าจอม สถานศึกษาสัง่ สอนวิทย์สิทธิศาสตร์ รืน่ วิลาสแหล่งที่ชี้โอบอ้อม ลานลั่นทมระรวยรินกลิ่นพยอม แก้วเจ้าจอมเด่นสง่าน่าพบพาน พระพายโชยโปรยกลีบบปุ ผาแก้ว เสนาะแล้วเสียงดนตรีสีประสาน บุญพระจอมปิยะเจ้าโปรดประทาน ให้สราญสขุ สดชื่นคืนสนุ นั ท์ สวนสนุ ันทาสัมพนั ธ์ 2562 55
แดนสนุ ันทา ในแดนสวนสนุ นั ทา สาวงามสวยเลิศลกั ขณา มีสมญาใครเขาย่อมรู้ เฉิดฉวีนารียอดพธู สวนสนุ ันทาแดนสีชมพู คนงามเชิดชชู ื่นฤทยั เหมือนแม้นเทพธิดา จากฟากฟ้าแดนใดใด ผลบญุ ของนางชาติก่อนกระไร ชาตินี้จึงได้ไฉไลลาวัณย์ พรใดทีเ่ ทวพรหม อวยพรให้เธอต้องอารมณ์ แด่ผู้ชมในร่างสคราญ งามใดหาใครที่จะเปรียบปาน สวยสดสคราญด่งั เทพธิดา มาจากฟากฟ้าเมืองแมน (ซ้ําท้ังหมด) ลาแล้วสนุ ันทา ลาแล้วสนุ ันทา แม้ว่าลาแล้วเศร้าเหงาใจ ลาวิมานถิ่นสถานยิ่งใหญ่ ที่เรานี้เคยได้ มาพึ่งในสวนร่วมกัน ลาแล้วแก้วเจ้าจอม หอมย่อม ยังฝังจิตสัมพนั ธ์ เนินพระนางท่ามกลางสวนงามน่ัน ที่รำ�ลึกคงม่ันห่างไปพลันฝนั ไม่วาย *อกเอยโถเคยเทีย่ วชม ร่วมกันสขุ สมอารมณ์ผกู พันไม่หาย พร้อมท้ังมิตรเรียงราย แสนอาลยั ไม่หน่าย ไม่มีคลายไมตรี ลาแล้วสนุ ันทา แม้ว่าลาแล้วเศร้าฤดี สีนํ้าเงินและชมพเู รานี ่ จดจ�ำ ไว้เตม็ ที่ ชว่ั ชีวีสีไม่จาง (ซํ้า) 56 จัดหนา้ รปู เลม่ : ผู้ช่วยศาสตราจาสรวยนว์ สีระนุ ันโชทตาิธสรมั รพมาันภธร์ ณ25์ 62
88 สวนสนุ นั ทาสมั พนั ธ์ 2560
Search