1 โครงการเกษตรทฤษฎใี หม่ โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ การบริหารจัดการท่ีดิน เพื่อการเกษตร ตามแนวพระราชดาริ แห่งองค์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่ีทรงคิดค้น/วิจัยเกษตรทฤษฎีใหม่ มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2532 ใน พ้นื ทสี่ ว่ นพระองคข์ นาด 16 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ท่ี ต.ห้วยบง อ.เมือง จ.สระบุรี และทรงเผยแพรต่ ้งั แตป่ ี 2537 เพ่ือแก้ไขปัญหา เกษตรกรรมที่ในเขตแห้งแล้ง ขาดแคลนน้าในการเกษตร โดยเฉพาะการเกษตรท่ีอาศัยน้าฝนเป็น หลัก ซงึ่ มีความเสย่ี งสูงในการขาดแคลนน้า กรณีฝนทิ้งช่วงและปรมิ าณน้าฝนไม่เพยี งพอในการเพาะปลูก เป็นทฤษฎี แห่งการบริหารจัดการ ดิน ที่ดิน น้า และเวลา ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อย ที่มีที่ดิน จานวนน้อย สามารถเลี้ยงตัวเองได้ มีความม่ันคงดา้ นอาหาร คอื มีขา้ ว มีพชื ผกั และอาหารโปรตีนจากการเล้ียงสัตว์ เช่น ไก่ หมู ปลา ฯลฯ ไว้บริโภคได้ตลอดทั้งปี มีการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ ให้เป็นรูปธรรม อย่าง เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหา และทรพั ยากรท่มี ี ตั้งแต่การทาการเกษตรแบบพอเพียง เพ่ือการเลี้ยงชีพ เลี้ยง ครอบครัว ไปจนถึงการพฒั นาการเกษตรแบบประณีต สามารถใหผ้ ลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจทส่ี ูงมากข้ึน ในทุกครา ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร ตามพื้นท่ีต่างๆ ทั่ว ประเทศน้ัน ได้ทรงถามเกษตรกรและทอดพระเนตรพบสภาพปญั หากาขาดแคลนน้าเพอ่ื การปลูกข้าว และเกิดแรงดล พระราชหฤทยั อนั เป็นแนวคดิ ขน้ึ ว่า 1. ข้าวเป็นส่ิงจาเป็นในวิถีชีวิตของคนไทย เป็นพืชที่ตอบสนองต่อน้า หากได้น้าเพียงพอจะสามารถเพิ่ม ปรมิ าณเม็ดขา้ วได้มากย่งิ ข้นึ 2. หากเกบ็ น้าฝนทต่ี กลงมาไว้ไดแ้ ล้ว นามาใชใ้ นการเพาะปลกู ก็จะสามารถเกบ็ เกี่ยวไดม้ ากขนึ้ เช่นกนั 3. การสร้างอ่างเก็บนา้ ขนาดใหญ่ นับวันแตจ่ ะยากท่ีจะดาเนนิ การได้ เนือ่ งจากการขยายตวั ของชมุ ชนและ ข้อจากัด ของปรมิ าณที่ดนิ เปน็ อุปสรรคสาคัญ 4. หากแต่ละครัวเรือน มีสระน้าประจาไร่นาทุกครัวเรือนแล้ว เมื่อรวมปริมาณกันก็ย่อมเท่ากับปริมาณใน อา่ งเก็บนา้ ขนาดใหญ่ แต่ส้ินค่าใช้จ่ายนอ้ ย และเกิดประโยชนส์ ูงสุดโดยตรง มากกวา่ ในเวลาต่อมา ได้พระราชทานพระราชดาริ ให้ทาการทดลอง \"ทฤษฎีใหม่\" เกี่ยวกับการจัดการที่ดิน และ แหล่งน้าเพื่อการเกษตรข้ึน ณ วัดมงคลชัยพัฒนา ตาบลห้วยบง อาเภอเมืองจังหวัดสระบุรี แนวทฤษฎีใหม่กาหนด
2 ขึ้น โดยให้แบ่งพ้ืนท่ีถือครอง ทางการเกษตร ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วเกษตรกรไทย มีเนื้อท่ีดินประมาณ 10-15 ไร่/ ครอบครวั แบง่ ออกเป็นสดั ส่วน 30 – 30 – 30 - 10 คอื กรณีทม่ี ี พน้ื ที่ 15 ไร่ จะแบ่งได้ดังน้ี สว่ นแรก : ร้อยละ 30 เน้อื ที่เฉลย่ี 4.5 ไร่ ให้ทาการขดุ สระกักเกบ็ น้าไวใ้ ชใ้ นการเพาะปลกู โดยมคี วามลึก ประมาณ 3 เมตร ซ่งึ จะสามารถรับนา้ ไดจ้ ุถึง 20,000 ลูกบาศกเ์ มตร โดยการรองรบั จากน้าฝน ราษฎรจะสามารถ นาน้านไี้ ปใชใ้ นการเกษตร ได้ตลอดปีและยงั สามารถเลยี้ งปลาและปลูกพืชนา้ พืชริมสระเพ่อื เพ่ิมรายไดใ้ ห้กบั ครอบครวั อีกทางหนง่ึ ด้วย ส่วนท่ีสอง : ร้อยละ 60 เนื้อที่เฉล่ีย ประมาณ 9.0 ไร่ เป็นพื้นที่ทาการเกษตรปลูกพืชผลต่าง ๆ โดยแบ่ง พื้นที่น้ีออกเป็น 2 ส่วน คือ ร้อยละ 30 ในส่วนที่หน่ึง : ทานาข้าว ประมาณ 4.5 ไร่ ร้อยละ 30 ในสว่ นที่สอง ปลูก พืชไร่หรือพืชสวน ตามแต่สภาพของพื้นท่ีและภาวะตลาด ประมาณ 4.5 ไร่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรง คานวณ โดยใชห้ ลักเกณฑ์ ว่า ในพื้นท่ีทาการเกษตรน้ี ต้องมีน้าใช้ในชว่ งฤดูแล้ง ประมาณ 1,000 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ ถ้าหากแบ่ง แต่ละแปลงเกษตรให้มีเน้ือท่ี 4 ไร่ ทั้ง 2 แห่งแล้ว ความต้องการน้าจะต้อง ใช้ประมาณ 9,000 ลูกบาศก์เมตร ทจี่ ะต้องเป็นน้าสารองไวใ้ ช้ ในยามฤดูแล้ง สว่ นทีส่ าม : ร้อยละ 10 เป็นพนื้ ที่ที่เหลือ มีเน้ือที่เฉลี่ยประมาณ 1.5 ไร่ จัดเป็นที่อยู่อาศัย ทางลาเลียง คัน ดินป้องกนั น้าท่วม ร่องคู พนื้ ท่ีปลกู พืชสวนครัว-หลมุ พอเพยี ง เล้า/คอก ปศสุ ตั ว์ หากมีการรวมกลุ่ม หรือมีการผลิต/จาหน่ายในรูปสหกรณ์ ก็จะเพิ่มอานาจต่อรองในการซื้อ-ขาย มีการ เช่ือมโยง/ประสานงาน ในการจัดหาแหล่งเงินทุน การแปรรูป การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และช่องทางกาตลาด ทั้งใน ชุมชนข้างเคียง ตลาดภายในและตลาดต่างประเทศ ทั้งในระดับบุคคล หรือองค์กร ให้ได้รับประโยชน์ร่วมกัน บน พ้ืนฐานของคุณธรรม ที่มีการสนับสนุนและเก้ือกูลซึ่งกันและกัน และรองรับการพัฒนาด้านต่างๆ จากราชการหรือ ภาคเอกชน ไดส้ ะดวกและมปี ระสิทธิภาพ มากขึน้ “ ทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวพระราชดาริใหม่ ท่ีได้รับการพิสจู น์และยอมรบั กันอย่างกว้างขวาง ในหม่เู กษตรกรไทย แลว้ ว่า พระราชดารขิ องพระองค์เกิดขน้ึ ดว้ ยพระอจั ฉรภิ าพสูงส่ง ทสี่ ามารถนาไปปฏิบตั ิไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ ”
3 เศรษฐกิจพอเพียง https://sites.google.com/site/httpssersthkicphxpheiyng/sersthkic-phx-pheiyng พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชทาน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่อื เป็นแนวทางในการดาเนนิ ชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทย มาต้ังแต่ พ.ศ. 2517 กอ่ นเกิดวกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกิจ และเม่ือวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไข เพ่ือให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้ อย่างมนั่ คงและยง่ั ยนื ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของโลก อยู่ตลอดเวลา ทรงช้แี นะแนวทางการดาเนนิ ชีวติ และการปฏิบัตแิ ก่ประชาชน โดยยดึ หลกั “ทางสายกลาง” สรุป ความหมายเศรษฐกิจพอเพยี ง ออกเปน็ หลกั สาคัญ คือ ปรชั ญา/หลัก 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข ดงั น้ี ปรัชญา/หลกั 3 ห่วง คอื 1. หลักความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผ้อู น่ื เชน่ การผลิต การบริโภค การใชจ้ ่าย ฯลฯ ทอ่ี ยู่ในระดับพอประมาณ 2. หลักความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียง น้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัย ที่เกย่ี วขอ้ ง ตลอดจนคานงึ ถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขน้ึ จากการกระทานน้ั ๆ อยา่ ง รอบคอบ 3. หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้าน ตา่ งๆ ที่จะเกิดข้นึ โดยคานงึ ถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดขนึ้ ในอนาคต
4 โดยมเี งื่อนไข ของการตดั สนิ ใจและดาเนินกจิ กรรมให้อยู่ในระดบั พอเพยี ง ๒ ประการ คือ 1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องรอบด้าน เพื่อจะนา ความรูเ้ หลา่ น้ันมาพจิ ารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และระมดั ระวังในการปฏบิ ตั ิ 2. เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซ่ือสัตย์ สจุ ริต มคี วามอดทน มคี วามเพยี ร และมกี ารแบ่งปนั ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชีวติ สิง่ สาคัญของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื 1. มีความเชือ่ ในแนวคิดการพ่ึงตนเอง 2. มีความเขา้ ใจคาวา่ \"บูรณาการ” โดยไมย่ ดึ เรือ่ งใดเร่ืองหน่งึ เปน็ สรณะ สามารถเลือกเรื่องท่ีเหมาะสมมา ประยกุ ตใ์ ช้ และสามารถเปลย่ี นแปลงได้ตามสถานการณ์ ซึง่ ไม่มีสตู รสาเร็จ เปน็ การขบั เคลื่อนไปให้สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลีย่ นแปลง 3. เคารพในภมู ปิ ัญญา โดยเคารพวา่ ภูมิปญั ญาเกิดจากการเรียนร้รู ่วมกนั ไม่ใชเ่ ชือ่ ว่า ส่งิ ที่ตนเองคิดนัน้ ถกู ตอ้ ง เพราะฉะน้นั การเรียนรู้ร่วมกันผ่านศูzนยเ์ รียนรู้จึงมคี วามสาคัญ 4. เคารพในระบบนเิ วศ เขา้ ใจความสมบรู ณ์และให้คุณค่ากบั ความอดุ มสมบูรณ์ ของทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และระบบนเิ วศ 5. มคี วามเขา้ ใจแกน่ ของ \"สงั คมมีสุข” และให้ความสาคัญกบั ครอบครัวและชมุ ชน ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ (ของเกษตรกร) 1. เกษตรกรตอ้ งสมัครใจในการประกอบอาชีพการเกษตร 2. ต้องรู้จกั ตนเองและรู้ศักยภาพตนเอง 3. มคี วามรู้ สามารถจดั การองค์ความรู้ ทดลอง ทดสอบ รวมถงึ การหาวทิ ยากรที่เหมาะสม 4. ร้จู กั ออม ประหยัด 5. มีกลั ยาณมิตร เพ่ือสรา้ งเครือข่าย รวมพลังกนั 6. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม 7. มคี วามขยัน และอดทน วธิ ีการทางานท่ไี ดผ้ ล หนว่ ยงานราชการท่ีเก่ียวข้องจะต้องเขา้ ไปสนับสนุน การปฏิบัตงิ านของปราชญ์ ชาวบ้าน เช่นตามความต้องการในแผนแม่บทชุมชน มากกวา่ จะเป็นตัวหลกั ในการพัฒนาเหมือนท่ีผา่ นมาในอดีต
5
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: