วนั ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ โลก หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอทบั ปุด อาเภอทบั ปุด จงั หวดั พงั งา โทร: 076-599125 Facebook : หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอทบั ปุด
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ ประวัติความเปน็ ของวันต่อต้านยาเสพตดิ โลก ผลจากปัญหายาเสพติด ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ร้ายแรงต่อมวลมนุษยชาติทั่วโลก เพื่อเน้นถึงความสาคัญของการ ต่อสู้กับปัญหาการใช้ยาในทางที่ผิด และการลักลอบค้ายาเสพติด และเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศท่ัวโลกใน การต่อสู้ กับปัญหายาเสพติด ท่ีประชุมระหว่างประเทศ ว่าด้วยการใช้ยา ในทางท่ีผิด และการลักลอบใช้ยาเสพติด (International Conference on Drug Abuse and llicit Trafficking I) ซ่ึงจัด ข้ึนที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ระหว่าง วันที่ 17-26 มิถุนายน 2530 ที่ประชุมได้เสนอเป็นข้อมติต่อสมัชชาใหญ่ สหประชาชาติขอให้กาหนดวันท่ี 26 มิถุนายนของทุกปี เป็นวัน ต่อต้านยาเสพติดซึ่งที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบตาม ข้อเสนอ ดังกล่าวในการประชุมเม่ือ วันที่ 7 ธนั วาคม พ.ศ. 2530
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ สภาพปัญหาการแพรร่ ะบาดของสารเสพตดิ วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี ถือเป็นวันต่อต้านยาเสพติด โลก เน่ืองจากปญั หายาเสพตดิ เป็นปัญหาสาคัญที่ทุกประเทศทั่วโลก ประสบอยู่รวมท้ังประเทศไทย ในอดีตจะพบว่าการแพร่ระบาดน้ัน จะอยู่ท่ีประชาชนผู้ใช้แรงงานและกลุ่มเยาวชน ชุมชนแออัด ผ้ดู อ้ ยโอกาสทางเศรษฐกิจแตป่ ัจจุบันสารเสพติดกลบั แพร่ระบาดเข้า ไปสู่เยาวชนในสถานศึกษาแทน ซ่ึงหากไม่มีมาตรการที่มี ประสิทธิภาพเพียงพอแล้ว เยาวชนในสังคมทั่วประเทศไทยก็จะตก อยใู่ นอนั ตรายอย่างใหญ่หลวงรัฐบาลจึงได้กาหนดให้ปัญหาการแพร่ ระบาดของสารเสพติดในสถานศึกษาเป็นปัญหาระดับนโยบายที่ต้อง เร่งดาเนินการ โดยเร่งสร้างความตระหนักให้ทุกคนในสังคมร่วม รับผิดชอบร่วมรณรงค์ ป้องกัน และให้ความรู้อย่างครอบคลุมด้วย กระบวนการเรียนการสอนทที่ นั สมัยแก่เยาวชน ซ่ึงจะเป็นกลวิธีหนึ่ง ที่จะทาให้เยาวชนมีความรู้ มีความเข้าใจและตระหนักถึงมหันตภัย ของสารเสพติด เกิดเป็นเจตคติท่ีดีท่ีจะดาเนินชีวิตให้ห่างไกลและ ปลอดภัยจากสารเสพตดิ ทกุ ชนดิ ได้ด้วยตนเอง
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ วนั ต่อต้านยาเสพติดโลก วันต่อต้านยาเสพตดิ โลก ต า ม ม ติ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ส มั ช ช า ใ ห ญ่ อ ง ค์ ก า ร ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ เม่ือเดือนมิถุนายน 2530 ได้กาหนดให้วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี เป็นวัน ตอ่ ต้านยาเสพตดิ โลก ซงึ่ ประเทศไทยได้ยดึ ถือปฏิบัติและยืนยันเจตนารมณ์ อย่างแน่วแน่ที่จะร่วมกับประชาคมโลกในการรณรงค์ต่อต้าน ยาเสพติด โดยมีหน่วยงาน/องค์กรภาคี ท่ีเก่ียวข้องท้ังภาครัฐ ภาคเอกชนและภาค ประชาชน ร่วมกันจัดกิจกรรมรณรงค์พิเศษต่อเน่ือง ต้ังแต่ปี 2530 ปัญหายาเสพตดิ เปน็ วาระสาคัญของชาติ ส่งผลกระทบต่อความ เดอื ดร้อน ความทุกข์ยากของประชาชนและการพัฒนาประเทศ จาเป็นต้อง ใช้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาอย่างแท้จริง โดยคณะ รัฐบาล ภายใต้การนาของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มี มติเม่อื วันที่ 5 มกราคม 2559 เห็นชอบการขับเคล่ือนนโยบายป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมุ่งสร้างความเข้าใจถึงเครือข่ายระดับหมู่บ้าน/ ชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด สร้างการรับรู้และ ดาเนินการให้มีความเช่ือมโยงด้านการป้องกัน ปราบปราม และการบาบัด ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด เพื่อคืนคนดีสู่สังคม ตามแผน “ประชารัฐร่วมใจ สร้างหมู่บ้านชุมชนม่ันคง ปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ. 2559 - 2560”
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ ความหมายและการจาแนกประเภทของสารเสพตดิ จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ย า เ ส พ ติ ด ใ ห้ โ ท ษ พ.ศ. 2522 หรือความหมายตามที่องค์การอนามัยโลกกาหนดไว้ สามารถสื่อความหมายของสารเสพตดิ ได้ตรงกันวา่ หมายถงึ สารหรอื ยา หรือวัตถุชนิดใดๆ ท่ีเม่ือเสพเข้าร่างกายจะโดยวิธีใดๆก็แล้วแต่ จะเป็น ผลตอ่ รา่ งกายและจิตใจของผ้เู สพในลักษณะสาคญั 4 ประการ คอื 1. ผู้เสพจะเกิดความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรนุ แรง 2. ต้องเพ่มิ ขนาดหรอื ปรมิ าณของสารเสพติดน้นั ขน้ึ เรอื่ ยๆ 3. ต้องตกอยใู่ ต้อานาจบงั คับอนั เกิดจากฤทธิ์ของสารเสพติด นนั้ ๆ ทาใหห้ ยดุ ไม่ได้และเกดิ อาการขาดยา เมอ่ื ไมไ่ ดเ้ สพ 4. ผเู้ สพจะมีสขุ ภาพร่างกายที่ทรดุ โทรมลง
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ จาแนกประเภทได้หลายวิธีท่สี าคญั คอื จ า แ น ก ต า ม ก า ร อ อ ก ฤ ท ธ์ิ ต่ อ ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท ส่วนกลาง ได้ 4 ประเภท คือ 1. กดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอรฟ์ นี โคเคอนี เฮโรอีน โซเดยี มเซโคบาร์ บิทาล(เหลา้ แหง้ ) ไดอะซแี ฟม แล็กเกอร์ คลอ ไดอะซปี อ๊ กไซด์ ทินเนอร์ กาว ฯลฯ 2. กระตุน้ ประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน (ยาบา้ ยามา้ ยาขยัน) อีเฟดีน (ยาอี) โคเคอนี กระทอ่ ม ฯลฯ 3. หลอนประสาท ไดแ้ ก่ DMT LSD เห็ดขีค้ วาย และ สารระเหยต่างๆ 4. ออกฤทธ์ิผสมผสาน ซึง่ ครง้ั แรกกระตุ้นประสาท แต่ เม่ือเสพมากขน้ึ กจ็ ะกดประสาท และทาให้ประสาทหลอนได้ ได้แก่ กญั ชา กระทอ่ ม
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ จาแนกตามพระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. 2522 และฉบับแก้ไขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่5) พ.ศ. 2545 จาแนกได้ 5 ประเภท คอื 1.ยาเสพตดิ ชนิดให้โทษรายแรง ได้แก่ เฮโรอนี อะซที อร์ ฟีน แอมเฟตามีน ฯลฯ 2.ยาเสพตดิ ให้โทษทว่ั ไป ได้แก่ ฝ่ินมอร์ฟีน โคเคอีน เอธิ ลมอรฟ์ ีน ฯลฯ 3.ยาเสพติดให้โทษชนดิ เป็นตารับยาทม่ี ียาเสพตดิ ให้ โทษ ประเภทที่ 1และ 2 ปรงุ ผสมอยู่ด้วย ได้แก่ ยาแกไ้ อ ยาแก้ ท้องเสยี ท่มี ฝี ่นิ โคเคอีนเป็นสว่ นผสม 4.สารเคมที ี่ใช้ในการผลติ ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภท 1 และ 2 ได้แก่ อะเซตลิ คอไรด์ อะเซติกแอนไฮไดรด์ 5.พืชเสพติดใหโ้ ทษ ไดแ้ ก่ กญั ชา กระทอ่ ม เห็ดขี้ควาย ซ่ึงจัดเป็นยาเสพตดิ ท่ีไมเ่ ข้าประเภท 1 และ 4
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ ชนดิ ของสารเสพตดิ 1. แอมเฟตามนี หรือยาบ้า ลักษณะทั่วไป เป็นผงผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น รสขม มีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาท สว่ นกลางซ่ึงมหี น้าทเ่ี กบ็ ความจา ความคิดและควบคุมการทางานของอวัยวะต่างๆ มีชอ่ื เรยี กทางการค้าต่างๆ กัน เช่น เบนซีดรีน เด็กซีดรีน ฟีนามีน ฯลฯ แต่ในกลุ่ม ผู้เสพนิยมเรียกกันว่า ยามา้ ยาขยัน ยาแกง้ ว่ ง ยาโด๊ป ยาเพิ่มพลัง และสุดท้ายเป็น ที่รู้จักกันในชื่อของ ยาบ้า ผงแอมเฟตามมีนเมื่อนามาผลิตอัดเป็นเม็ดจะมีหลาย ลักษณะทั้งเม็กกลมและแคปซูน มีหลายสี แต่ส่วนมากมีสีขาว สีน้าตาล เม็ดกลม แบน มีลักษณะบนเม็ดยา เช่น รูปหัวม้า 99 รูปดาว LONDON ฯลฯ ในอดีต วงการแพทย์ใช้แอมเฟตามนี รกั ษาผปู้ ่วยทม่ี ีอาการทางจิต โรคซึมเศร้า โรคง่วงเหงา หาวนอน ใช้ลดความอว้ น แตด่ ว้ ยอาการติดยา และมีผลเสียต่อสุขภาพจึงเลิกใช้ใน ปัจจุบัน ฤทธิ์ของแอมเฟตามีนจะมีผลมากหรือน้อยเพียงใดข้ึนกับปริมาณยา ระยะเวลาของการใชย้ า สภาพของร่างกายผู้เสพ และเอกลักษณ์ทางเคมีของตัวยา วา่ มีมากอ้ ยเพยี งใดเปน็ สาคญั
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ อาการของผเู้ สพตดิ แอมเฟตามีนหรอื ยาบ้า ฤทธ์ิของแอมเฟตามีนหรือยาบ้าส่งผลกระทบต่อผู้เสพ ก่อให้เกิดอาการท้ังทางรา่ งกายและจติ ใจดังต่อไปน้ี อาการทางกาย ผู้เสพแอมเฟตามีนหรือยาบ้าประมาณ 20-30 กรัมต่อวัน จะมีอาการเบื่ออาหาร พูดมากตื่นเต้นง่าย มือส่ัน คลื่นไส้ ความดัน เลือดสูง หัวใจเตน้ เรว็ และแรง เหงอื่ ออกมาก กล่นิ ตัวแรง ปากและจมูก แหง้ หน้ามนั ไมง่ ่วง ทางานไดน้ านกว่าปกติ รูม่านตาเบกิ กวา้ ง สูบบุหร่ี จดั ท้องเสยี มอี ารมณห์ งดุ หงดิ ฉนุ เฉยี วง่าย จะทาใหต้ วั ซดี จนอาจเขียว มีไข้ขึ้นใจส่ัน หายใจไม่ออก มือสั่นมาก เดินโซเซ คล่ืนไส้อาเจียน กล้ามเน้ือกระตุก ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ อาจชักหมดสติหรือ เสียชีวิตด้วยอาการของโรคหัวใจวาย หรือหลอดเลือดในสมองแตก นอกจากนี้ผู้เสพยาบ้า ยังมีโอกาสเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคตับอักเสบ ไต ไมท่ างาน โรคเก่ยี วกบั ปอด และโรคติดเช้อื อืน่ ๆ ได้ง่าย อาการทางจติ เนื่องจากยาบ้ามีฤทธิ์ในการกระตุ้นประสาทส่วนกลางและ เป็นยาท่ีถูกดูดซึมได้ง่าย จึงต้องเพ่ิมขนาดเสมอๆ และเม่ือเสพต่อกัน เปน็ เวลานาน จะทาให้เกดิ อาการทางจติ คือ หวาดระแวง วิตกกังวล มี อาการประสาทหลอน บางรายเพอ้ คลมุ้ คร่งั อาจเปน็ บ้า ทาร้ายตนเอง และผูอ้ ่นื ได้
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ 2. อเี ฟดนี หรอื ยาอี ลกั ษณะทั่วไป เป็นผงละเอยี ดสขี าว ทม่ี กั เรียกกันวา่ ยาอี ยาเอฟ หรอื ยาอี๊ เมือ่ นามาผลิตจะมีหลายลกั ษณะ มฤี ทธ์กิ ระตนุ้ ระบบประสาท สว่ นกลางเช่นเดยี วกบั ยาบา้ จงึ ระบาดในกลมุ่ ผใู้ ชแ้ รงงานโดยมีการ นามาใชแ้ ทนยาบา้ ก่อใหเ้ กิดปญั หาตอ้ ชีวิตและทรพั ยส์ นิ สว่ นรวม อยา่ งมากมายกฎหมายจึงมีการควบคุมและมีมาตรการลงโทษ เช่นเดยี วกับยาบา้ ด้วย อาการของผเู้ สพติดอเี ฟดนี จะมีอาการคลา้ ยกบั ผตู้ ดิ ยาบา้
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ 3. ฝน่ิ ลกั ษณะทั่วไป ฝน่ิ เป็นพชื ลม้ ลกุ เนื้อฝ่นิ ได้มาจากยาง ท่ีกรดี จากผล (กระเปาะ) มีสนี ้าตาล กลน่ิ เหม็นเขยี ว รสขม เรยี กวา่ ฝน่ิ ดบิ หากนามาเคย้ี ว ต้ม หรือหมกั จนเปน็ ฝน่ิ สุก จะมสี นี ้าตาลไหมป้ นดา มรี สขมเฉพาะตัว ใน อดตี ทางการแพทยใ์ ช้เปน็ ยาระงบั ปวด แกโ้ รคทอ้ งเดิน และอาการ ไอ ดว้ นมีฤทธกิ์ ดระบบประสาท อาการของผเู้ สพติดฝ่นิ • ขณะเสพผ้เู สพจะมอี าการจติ ใจเล่อื นลอย ซมึ ง่วง พูดจากวน อารมณด์ ี ความคดิ และการตดั สนิ ใจเช่อื งชา้ • ผู้เสพฝน่ิ ติดตอ่ กันมานาน สขุ ภาพร่างการจะทรุดโทรม ตัวซดี เหลอื ง ซบู ผอม ตาเหม่อลอย ริมฝปี ากเขยี วคล้า ออ่ นเพลียงา่ ย ซึมเศรา้ งว่ งนอน เกรยี จคลา้ นไมร่ สู้ ึกตัว อารมณแ์ ปรปรวนง่าย ชีพจร เตน้ ช้า ความจาเสอ่ื ม หากไม่ได้เสพจะมอี าการหงดุ หงดิ นา้ มกู น้าตาไหลม่านตาขยายผิดปกติ ปวดกล้ามเนือ้ และกระดกู ปวดบิดในท้องอย่างรนุ แรง อาเจยี น หายใจ ลาบาก อาจชักและ หมดสติ
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ 4.มอรฟ์ ีน ลกั ษณะทว่ั ไป เปน็ สารอลั คาลอยด์ท่สี กัดไดจ้ ากฝ่ิน มีลกั ษณะสี ขาวนวล สคี รีม สเี ทา ไม่มีกลนิ่ รสขม ละลายน้างา่ ย มี ฤทธ์ิกดประสาทและสมองรนุ แรงกว่าฝน่ิ 8-10 เทา่ เสพ ติดได้งา่ ย มีลกั ษณะต่างกนั เช่น เปน็ เมด็ ผง หรือแท่ง สเ่ี หลย่ี ม อาการของผ้เู สพติดมอรฟ์ นี ด้วยฤทธิ์กดประสาท ผูท้ เ่ี สพมอรฟ์ นี ในระยะแรก จะชว่ ยทาให้ลดความวิตกกังวลคลายความเจบ็ ปวดทาง ร่างกายและทาใหง้ ่วงนอน หลับงา่ ย หากใช้เพื่อการรักษา ต้องอยใู่ นความดูแลของแพทย์ แตผ่ ทู้ เี่ สพจนตดิ แล้วฤทธ์ิ ของมอรฟ์ นี จะทาใหเ้ หมอ่ ลอย เซือ่ งซมึ เป็นต้น
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ 5.เฮโรอีน (Heroin) ลักษณะทัว่ ไป เป็นสารเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงท่ีสุด ได้มาจาก กรรมวิธีทางเคมี ฤทธ์ิมีความรุนแรงกว่ามอร์ฟีน 4-8 เท่า มี สองชนิดคือ ผงขาวเป็นเฮโรอีนบริสุทธ์ และไอละเหย เป็น เฮโรอีนไม่บรสิ ุทธ์ิ อาการของผทู้ ี่เสพตดิ เฮโรอนี ผู้ที่เสพครั้งสองคร้ังอาททาให้ติดเฮโรอีนได้ทันที ขณะเสพจะออกฤทธิ์กดประสาททาให้มึนงง เซื่องซึม ง่วง อ่อนเพลีย เคล้ิมหลับได้นานโดยไม่สนใจส่ิงรอบข้าง ผู้ที่เสพ ประจาจะทาให้สมองเส่ือม ปัญญาอ่อน ร่างกายซีดผอม สขุ ภาพทรุดโทรม ถงึ ข้นั ชอ็ กละเสยี ชีวิตได้
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ 6. โคเคน(Cocaine) ลกั ษณะทวั่ ไป โคเคนหรือโคคาอีน เป็นสารเสพติดธรรมชาติท่ีได้จา กา ร สั ง เ คร า ะ ห์ ใ บ ข อ ง ต้ น โ ค คา ท่ี แ ป ร ส ภา พ สุ ด ท้ า ย เป็น Cocaine Hydrochloride อันเป็นโคเคนบริสุทธิ์ มีฤทธ์ิ กระตนุ้ ประสาทสว่ ยกลางเหมอื นยาบ้า แต่จะทาให้ติดยาได้ง่าย กวา่ มลี กั ษณะเปน็ ผงละเอียด สขี าว รสขม ไม่มีกลนิ่ อาการของผู้เสพติดโคเคน เมื่อเสพโคเคนเข้าไประยะแรกจะทาให้เกิดอาการไร้ ความรู้สกึ กระปรีก้ ระเปรา่ คล้ายมกี าลังมากขึ้น ไม่เหนอ่ื ย แต่จะ อ่อนล้าทันทีเมื่อหมดฤทธิ์และมีอาการซึมฤทธ์ิของโคเคนจะไป กดการทางานของหัวใจ ทาให้ชกั และเสยี ชวี ิตได้
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ 7. กญั ชา ลกั ษณะท่วั ไป กญั ชาเป็นพืชลม้ ลกุ จาพวกหญ้า จะใชใ้ บและยอดช่อ ดอกตัวเมียมาตากหรืออบแหง้ แลว้ ห่นั หรือบดมาสูบกับบุหร่ี หรือใชบ้ อ้ งไม่ไผ่ อาจใชเ้ คีย้ วหรือบดในอาหาร ออกฤทธิ์หลาย อยา่ งรวมกนั ทงั้ กระตนุ้ กดและหลอดประสาท อาการของผู้เสพตดิ กัญชา ระยะแรกจะกระตนุ้ ประสาท ทาใหพ้ ูดมาก หัวเราะ ตลอดเวลา ต่นื เตน้ ง่าย ตอ่ มาจะคลา้ ยคนเมาเหลา้ ง่วงนอน ซมึ ถา้ เสพมากจะหลอนประสาทเห็นภาพลวงตา ความคิดสบั สน ควบคุมตัวเองไม่ได้ อาจทาใหเ้ ป็นบา้ ได้ ทาใหต้ ิดโรคไดง้ ่าย ความรูส้ กึ ทางเพศลดนอ้ ยหรอื หมดไปดว้ ย
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ 8. สารระเหย ลักษณะทัว่ ไป เป็ น ส า ร ป ร ะ ก อ บ อิ นท รี ย์ เ ค มี ที่ ไ ด้ ม า จ า ก ขบวนการผลิตน้ามันปิโตรเลียมมีลักษณะเป็นไอระเหยเร็ว มักพบในรูปผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปต่างๆ เช่น ทินเนอร์ กาวน้า กาวยาง แล็กเกอร์ สีพ่น น้ายาล้างเล็บ โดยถูกเสพผ่าน ทางเดินหายใจจะเข้าสู่กระแสเลือดแพร่กระจายไปส่วนต่างๆ อย่างรวดเร็ว โดยสารพิษบางส่วนจะถูกกาจัดออกทางปอด ได้กลิ่นสารระเหยจากลมหายใจของผเู้ สพผเู้ สพได้ อาการของผูเ้ สพติดสารระเหย 1. พิษระยะเฉียบพลัน หลังเสพประมาณ 15-20 นาที ผู้เสพจะตื่นเต้น ร่าเริง ต่อมาจะมีอาการเมา พูดจา อ้อแอ้ (แม้ไม่มีกลิ่นสุรา) ความคิดสับสนควบคุมตัวเองไม่ได้ ฤทธิ์จะกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้นอนไม่หลับ หู แว่ว จากนั้นจะซึม ง่วงเหงาหาวนอน อาเจียน หมดสติ และ อาจทาให้หัวใจล้มเหลวเสียชวี ิตได้
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ วธิ สี งั เกตอาการของผูใ้ ช้สารเสพติด ร่างกายทรดุ โทรม ซูบผอม อ่อนเพลีย ผิวหน้าหยาบ กร้าน ตาสู้แสงแดดไม่ได้ ลุกล้ีลุกลน ขาดความเช่ือม่ันใน ตนเอง ขาดความรับผิดชอบ พฤติกรรมเปล่ียน อาการเม่ือ ขาดสารเสพติดจะมีอาการขนลุก เหง่ือออก น้ามูกน้าตาไหล กระสับกระส่าย หายใจถ่ี คล่ืนไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน ปวดศรี ษะและกระดกู นอนไม่หลบั การตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในร่างกาย สามารถทาได้ 2 วิธี คือ 1. ทดลองด้วยยา โดยการฉีดยาทาลายฤทธิ์ของสาร เสพติด ทาใหเ้ กิดอาการขาดยา 2. การเก็บปัสสาวะ หรือเลือด (เฉพาะในกรณีการ ตรวจแอลกอฮอล์และสารละเหย) เพ่ือหาสารเสพติดในร่าง การ ซงึ่ สามารถแยกชนดิ ของสารเสพติดได้
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ สาเหตขุ องการติดสารเสพติดใหโ้ ทษ 1. สาเหตุทางด้านบคุ คล 1.1 ถกู ชักชวน 1.2 สภาพความกดดันทางครอบครวั เช่น การทะเลาะกัน ของพอ่ แม่ 1.3 ความจาเปน็ ในการประกอบอาชพี เชน่ คนขับรถหรือ ลูกเรอื ในทะเล 1.4 เกิดความเจ็บป่วยทางกายหรอื ทางจติ ใจ อาจมีการใช้ สารเสพติดเพอื่ บรรเทาอาการป่วยทางกายและทางจติ บางชนิดนาน ตดิ ต่อกันจนตดิ ยาได้ 1.5 ถกู หลอกลวงโดยผู้รบั ไม่ทราบว่าสิ่งทต่ี นรบั มาเป็นสาร เสพตดิ หรอื โดยการผสมปลอมปนกบั อาหาร ของขบเค้ียว
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ 2. สาเหตุจากตัวยาหรอื สารเสพติด ตามปกติแล้วตัวยาหรือสารเสพติดจะไม่ก่อให้เกิดปัญหา ใดๆ ถ้าคนไม่นามาใช้ แต่เม่ือบุคคลใช้ยาหรือสารเสพติด คุณสมบัติเฉพาะของสารน้ันจะทาให้เกิดการเสพติดได้ ทั้งน้ีข้ึนอยู่ กับชนดิ และขนาดของสารเสพตดิ ที่ใช้ 3. สาเหตุจากสภาพแวดลอ้ ม 3.1 อยู่ในแหลง่ ท่ีมกี ารซ้ือ-ขาย หรอื เสพ สารเสพติด 3.2 สภาพแวดล้อมบังคับ โดยเฉพาะผู้ที่ติดสารเสพติด แล้วต้องการจะเลิกเสพเมื่อเข้ารับการรักษาหายแล้ว สังคมอาจจะ ไม่ยอมรับ แหล่งงานปฏเิ สธการรับเข้าทางาน เน่ืองจากมีประวัติติด สารเสพติด จึงทาให้ตอ้ งกลับไปอยใู่ นสังคมสารเสพติดเช่นเดิม
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปดุ โทษและพิษภัยของสารเสพตดิ 1. ต่อผเู้ สพ ทาให้สขุ ภาพทรดุ โทรมทั้งรา่ งกายและจิตใจ เกดิ โรคต่างๆ 2. ต่อครอบครัว ก่อให้เกดิ ความเดือดรอ้ น สูญเสีย รายได้ เกิดความไม่สงบสุขภายในครอบครวั 3. ต่อสงั คม ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาอาชญากรรม 4. ต่อประเทศชาติ ทาใหส้ ูญเสยี เศรษฐกจิ จานวน มหาศาล และบ่อนทาลายความม่ันคงของชาติ การปอ้ งกนั สารเสพติด ปัญหาสารเสพตดิ เป็นปญั หาและหนา้ ทขี่ องทกุ ๆคนทุกๆ หนว่ ยงานตอ้ งรว่ มรบั ผดิ ชอบและร่วมมอื กันดาเนนิ การในด้านการ ป้องกันสารเสพติด ควรเร่ิมต้นจากเด็กและเยาวชนให้รู้จักการ ป้องกันตนเองจากสารเสพติดได้ เพราะเด็กและเยาวชนเป็น ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล อั น มี ค่ า ท่ี จ ะ เ ป็ น พ ลั ง ส า คั ญ ต่ อ สั ง ค ม แ ล ะ ประเทศชาติตอ่ ไปในอนาคต มาตรการเพอ่ื ป้องกนั สารเสพตดิ
หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอทบั ปดุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: