Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธ.ค.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.หนองปลาหมอ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี

ธ.ค.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.หนองปลาหมอ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี

Published by kl_1270050000, 2020-10-30 02:39:25

Description: แบบฟอร์มคลังปัญญา( เดือนธ.ค)ครั้งที่6

Search

Read the Text Version

ทำเนียบคลังปญั ญำ ภมู ปิ ญั ญำท้องถนิ่ ประจำเดือน ธนั วำคม 2562 กศน.ตำบลหนองปลำหมอ ศนู ย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั อำเภอบำ้ นโปง่ สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั จังหวัดรำชบรุ ี สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย สำนกั งำนปลดั กระทรวงศึกษำธกิ ำร กระทรวงศกึ ษำธิกำร

คำนำ ปราชญ์ชาวบ้าน หรือนักคิดท้องถิ่น หรือครูภูมิปัญญาไทยแล้วแต่จะเรียกกัน จะมีมากมายใน หลายด้านแล้วแต่งานท่ีท่านปฏิบัติจนบังเกิดผล ไม่ว่าจะเรียกอะไรก็ตามคุณสมบัติของผู้ท่ีเป็นปราชญ์ ชาวบ้าน คนเหล่าน้ีมีธรรมะอยู่ในใจทุกท่าน เป็นธรรมะของความรักความเมตตา ความอยากช่วยคน เป็น ธรรมะโดยการปฏิบัติคิดทาสรุปบทเรียน แล้วนามาเป็นความรู้ให้คนเห็นได้อย่างชัดเจน มีทั้งวิชาการและ ภาคปฏบิ ตั ิให้เหน็ มีความรัก ความเปน็ ปราชญไ์ มไ่ ด้อยู่ท่ีความฉลาดของปัญญาท่ีเกิดจากการกระทา แต่เกิด จากความรักที่มีธรรมะเป็นแรงบันดาลใจให้แบ่งปันแก่ผู้อ่ืนเป็นร่มโพธิ์ ร่มไทร การแผ่ภูมิปัญญาท่ีเกิดจาก การทาจริงด้วยความรักแผ่นดินที่มีลูกหลาน มีป่า มีชุมชน มีเมืองสรุปได้ว่าปราชญ์ชาวบ้านน้ันเป็นผู้ท่ีมีวิถี ชวี ติ ท่ผี กู พันกับธรรมชาติ มีความคิดเข้าระบบชอบค้นหาความจริง ช่างสังเกตและนาสิ่งที่พบเห็นมาเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง สามารถสรุปเป็นบทเรียนได้ ดังเช่นปราชญ์ชาวบ้านด้านการเกษตร ซึ่งมีอยู่ทั่วไปใน ทุกภาคของประเทศ ท้ังน้ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบ้านโป่ง ได้เล็งเห็นถึง ความสาคัญของผทู้ ่ีทาคุณประโยชน์ เสยี สละ และปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีตอ่ คนในชุมชนอาเภอบ้านโป่ง จึงได้จัดทาทาเนียบภูมิปัญญาท้องถ่ิน ขึ้นเพื่อยกย่อง และเผยแพร่ให้ชนรุ่นหลังได้ถือเป็นแบบอย่างที่ดีใน การดารงชีวิต ต่อไป กศน.ตาบลหนองปลาหมอ ธันวาคม 2562

สำรบัญ หนำ้ คำนำ 1 สำรบัญ 7 กศน.ตาบลหนองปลาหมอ 10 - คลงั ภูมิปญั ญา เกษตรอินทรีย์ : นางเกษร พมุ่ แย้ม - คลังภูมิปัญญา สานกระเป๋าเชอื กร่ม : นางประทุม ทองเปลว - คลังภมู ปิ ัญญา หมวกโคเช : นางธนภรณ์ จันทรักรงั สี คณะผจู้ ดั ทา

แบบบันทึกชุดข้อมลู คลงั ปญั ญำ-ภูมิปญั ญำท้องถน่ิ ตำบล หนองปลาหมอ อำเภอ บา้ นโป่ง จังหวัด ราชบรุ ี ชอื่ ภูมิปัญญำ เกษตรอินทรยี ์ ขอ้ มูลพ้ืนฐำน รำยบคุ คล เจำ้ ของภูมิปัญญำทอ้ งถ่ิน/บุคคลคลงั ปัญญำ ช่ือ นางเกสร นามสกุล พุม่ แย้ม วนั เดอื นปีเกิด 23 พฤศจิกายน 2511 ทีอ่ ยู่ปัจจบุ นั (ทีส่ ามารถตดิ ต่อได้) บา้ นเลขท่ี 36 หมู่ที่ 9 ตาบล/แขวง หนองปลาหมอ อาเภอ/เขต บา้ นโปง่ จงั หวดั ราชบรุ ี รหัสไปรณีย์ 70110 โทรศัพท์ 086-1611171 โทรสาร Line ID 081-1611171 E-mail address: Facebook เกษร พุ่มแย้ม พิกดั ทางภูมิศาสตร์ ค่า: X 13.801881 ค่าY: 99.759158 ควำมเปน็ มำของภูมิปญั ญำ ในสภาวะปัจจุบันสภาพดนิ ในแปลงปลูกพชื ท่วั ไปมีความเสือ่ มโทรมลงอย่างมาก เนอ่ื งจากเกษตรกรมีการใช้ สารเคมี ปราบศตั รูพืชและปุ๋ยเคมีอย่างหนกั โดยไม่เคยปรับปรงุ บารงุ ดนิ จงึ ทาใหป้ ระสบปญั หาการระบาดของโรค เชือ้ ราทางดนิ ซ่ึงเม่อื พืชเปน็ โรคแล้วไม่สามารถแก้ไขได้ การใชส้ ารเคมีจงึ เป็นการสนิ้ เปลืองและไม่คุ้มค่า นอกจากน้ัน ยังทาใหเ้ กิดปญั หา หลายประการ การใชเ้ ชอื้ ราไตรโคเดอร์มา่ เพ่ือป้องกนั กาจัดโรคร่วมกับการใช้ปุย๋ อินทรยี ์บารงุ ดนิ จึงเป็นวิธีการทีม่ ี ประสิทธภิ าพมากทส่ี ุดในขณะน้ี เพราะเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยน้อย และยงั มีความปลอดภัยสงู วธิ ีการนี้จึง เป็นทางเลือกทีด่ ีอีกทาง หน่ึงสาหรบั เกษตร เชื้อราไตรโคเดอรม์ ่า คือเช้อื ราชนิดหนึ่งทด่ี ารงชีวติ อยูใ่ นดิน อาศยั เศษซากอินทรีย์วตั ถุเป็นอาหารโดยไม่มี อันตราย กับพชื คน สตั วแ์ ละแมลง เชื้อราไตรโคเดอรม์ า่ หลายชนิดมีคณุ สมบัติในการควบคมุ และทาลายเชอ้ื ราสาเหตุ โรคพืช ทางดนิ จึงทาให้พชื มีระบบรากทสี่ มบรู ณ์ แข็งแรง หาอาหารไดม้ ากตน้ พืชจึงสมบูรณ์ให้ผลผลติ สูง และ คณุ ภาพดี เชอื้ ราไตรโคเดอรม์ า เป็นเชือ้ ราชนั้ สงู ท่ดี ารงชวี ติ อยู่ในดนิ อาศยั เศษซากพืช ซากสัตว์และอินทรียวัตถุเป็น แหลง่ อาหาร เจรญิ ไดร้ วดเร็วบนอาหารเลย้ี งเชอื้ ราหลายชนดิ สรา้ งเสน้ ใยสีขาวและผลิตส่วนขยายพันธทุ์ ี่ เรียกวา่ “โคนิ เดีย” หรอื “สปอร์” จานวนมากรวมเป็นกลุ่มหนาแน่นจนเห็นเปน็ สีเขยี ว เชื้อราไตรโคเดอร์มาเป็นศตั รู (ปฏิปักษ์) ตอ่ เช้ือราสาเหตโุ รคพชื หลายชนดิ โดยวิธีการเบยี ดเบยี น หรือเปน็ ปรสติ และแข่งขนั หรอื แย่งใช้อาหารท่ีเชื้อโรคต้องการ นอกจากน้ีเชอื้ ราไตรโคเดอร์มายงั สามารถผลิตปฏิชีวนสาร และสารพิษ ตลอดจนนา้ ย่อยหรอื เอนไซมส์ าหรับช่วยละลาย ผนังเส้นใยของเช้ือโรคพืช คุณสมบตั ิพเิ ศษของเช้ือราไตรโคเดอรม์ าคือ สามารถช่วยละลายแรธ่ าตุใหอ้ ย่ใู นรปู ทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ พชื จงึ ชว่ ยสง่ เสรมิ การเจรญิ เติบโตของพืชและชกั นาใหต้ น้ พชื มีความต้านทานตอ่ เชอ้ื โรคพืชท้งั เชือ้ ราและ แบคทีเรยี สาเหตโุ รค

2 จากผลการดาเนินงานวิจยั ตัง้ แต่ พ.ศ.2528 ถงึ ปัจจุบนั สามารถคัดเลือกเชอื้ ราไตรโคเดอร์มาจากดินใน ธรรมชาตไิ ด้หลายสายพันธุ์ โดยเฉพาะสายพันธุ์ CB-Pin-01 มปี ระสทิ ธภิ าพสงู ในการควบคุมโรคของพืชเศรษฐกิจตา่ งๆ ท้ังพืชไร่ ไมผ้ ล พืชผกั และไม้ดอกไมป้ ระดบั หลายชนิดได้ในสภาพแปลงเกษตรกร ทั้งโรคท่ีเกิดบนสว่ นของพชื ทีอ่ ยู่ใต้ ดิน เชน่ โรคเมลด็ เนา่ โรคเน่าระดบั ดนิ (โรคกล้ายุบ) รากเน่า หัวหรือแงง่ เนา่ และโคนเน่า เปน็ ตน้ โรคท่เี กดิ บนส่วน ของพชื ท่ีอยเู่ หนือดนิ ไมว่ ่าจะเป็นสว่ นของ กิ่ง ผล ใบ หรอื ดอก เช่น โรคลาตน้ ไหม้ของหน่อไมฝ้ ร่งั โรคแคงเกอร์ของ มะนาว โรคราดาของมะเขือเทศ โรคใบปืน้ เหลืองและโรคดอกสนิมของกลว้ ยไม้ โรคแอนแทรคโนสของมะมว่ งและพริก ทง้ั ก่อนและหลังเก็บเก่ยี วผลผลิต นอกจากนีย้ ังสามารถใชเ้ ชอื้ ราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรครากเนา่ ของพืชผกั สลัดและผกั กนิ ใบตา่ งๆท่ปี ลูกในสารละลายธาตุอาหาร (ระบบไฮโดรโพนกิ ส)์ และจากผลการวิจยั ล่าสุดพบวา่ การแชเ่ มล็ด ขา้ วเปลอื กกอ่ นใช้หวา่ นลงในนาขา้ ว ชว่ ยลดการเกิดโรคเมล็ดดา่ ง เมลด็ ลีบ ของข้าวทเ่ี กิดจากการเขา้ ทาลายของเชื้อรา หลายชนดิ ตลอดจนช่วยเพิม่ ความสมบรู ณแ์ ละน้าหนักเมล็ด และเพิ่มผลผลติ ตอ่ ไร่ได้ด้วย ผูว้ จิ ยั ไดพ้ ัฒนาชีวภณั ฑเ์ ช้อื ราไตรโคเดอร์มาให้อยู่ในรูปผงหวั เชอ้ื บรสิ ทุ ธ์ิ เพ่อื ให้เกษตรกรสามารถผลติ ขยาย เช้ือราไตรโคเดอร์มาชนดิ สดไว้ใชไ้ ดเ้ องตามต้องการ ด้วยการหงุ ปลายข้าวใหส้ ุกในหม้อหุงข้าวไฟฟ้า อัตราปลายขา้ ว 3 ส่วน นา้ 2 สว่ น ตกั ใส่ถุงพลาสตกิ แล้วใส่ผงหวั เช้อื ลงไปเล็กนอ้ ย บม่ ไว้ 5-7 วนั กส็ ามารถนาเช้ือสดไปใชไ้ ด้ ขณะนไ้ี ด้ พัฒนาเช้ือสดดงั กลา่ วให้เป็นชวี ภณั ฑ์ในรปู น้าและรูปผงแหง้ ผสมน้าเพื่อใชพ้ ่นส่วนต่างๆของพืชและพน่ ลงดินได้ ผงหัว เชือ้ บรสิ ุทธิน์ ม้ี ีสปอร์ของเชอ้ื ราไตรโคเดอร์มาในปริมาณไมน่ ้อยกว่า 100 ล้านหน่วยชวี ิต (สปอร์) ต่อผงเช้ือ 1 กรมั สามารถเกบ็ รักษาได้เปน็ ระยะเวลานานไมน่ ้อยกว่า 1 ปีถา้ เก็บไวใ้ นตูเ้ ย็น (ประมาณ 8-10 องศาเซลเซียส) แต่ถา้ เก็บที่ อุณหภมู ใิ นห้องปกติ (25-30 องศาเซลเซยี ส) สามารถเก็บไว้ได้นาน 6 เดือน การใชเ้ ชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ าชนิดสด สามารถใชไ้ ดห้ ลายวธิ ีตามโอกาสและความสะดวกของเกษตรกร เช่น ใช้ เชื้อสดผสมกบั ราข้าวละเอยี ดและปุ๋ยอนิ ทรยี ใ์ นสัดสว่ น 1:4:100 โดยน้าหนักสาหรบั ใส่หลุมปลกู อตั รา 10-20 กรัม (1- 2 ชอ้ นแกง) คลกุ เคล้ากับดนิ ในหลมุ ปลกู พืช ก่อนการหยอดเมลด็ พืช หรอื หว่านลงแปลงปลูก ด้วยอตั รา 50-100 กรัม ตอ่ ตารางเมตร หรือใช้ผสมรวมกบั วสั ดปุ ลูกสาหรบั การเพาะกล้าโดย ใสส่ ว่ นผสมของเช้ือสด+ปยุ๋ อนิ ทรีย์ ผสมรว่ มกบั ดิน หรือวัสดุปลกู อัตรา 1: 4 โดยปริมาตร (20%) นาดนิ หรอื วัสดุปลูกท่ีผสมดว้ ยสว่ นผสมของเชื้อสดแลว้ ใส่กระบะเพาะ เมล็ด ถุงหรือกระถางปลกู พชื กรณขี องการคลกุ เมล็ดพืชก่อนปลูก สามารถใช้เชือ้ สดลว้ นๆ อัตรา 10 กรมั (1 ช้อนแกง) ต่อเมลด็ 1 กโิ ลกรัม เติมนา้ 10 ซซี ี และถ้าต้องการเชอ้ื สดในรูปนา้ สามารถใชเ้ ช้อื สดผสมนา้ ในอตั รา 100 กรมั ต่อนา้ 20 ลติ ร กรองนา้ เช้ือด้วยผ้าหรอื กระชอนตาถี่ จะไดเ้ ชือ้ ชนิดน้าสาหรับใช้พ่น ราด รดลงดนิ หรอื พ่นสว่ นบนของต้นพืช หรือใชป้ ล่อยไปพร้อมระบบการให้น้าใตท้ รงพมุ่ ของพืช และใชแ้ ชส่ ่วนขยายพันธ์ุพชื เช่นเมล็ด หวั เหง้า แง่ง ท่อนพนั ธ์ุ ก็ได้ สาหรับเช้อื ราไตรโคเดอร์มาชนิดผงแห้งได้ทาสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการประยุกตใ์ ชก้ ับบริษัทยูนิ ซีดส์ จากัด ไปแลว้ ไตรโคเดอร์มำ (Trichoderma harzianum) เป็นเชอื้ ราชนั้ สูงที่ดารงชวี ิตอยใู่ นดนิ อาศัยเศษซากพชื ซากสัตว์ และอินทรยี วัตถเุ ป็นแหลง่ อาหาร เจริญเตบิ โตไดร้ วดเร็วบนอาหารเล้ยี งเช้อื ราหลายชนิด จะสร้างเส้นใยสีขาวและผลิต

3 ส่วนขยายพันธท์ุ ่เี รียกว่า “โคนิเดีย” หรอื “สปอร์” จานวนมาก รวมเป็นกลุ่มกันหนาแน่นจนเหน็ เปน็ สีเขยี ว เชื้อรำไตร โคเดอรม์ ำ เป็นศัตรู (ปฏปิ ักษ์) ต่อเชือ้ ราสาเหตโุ รคพืชหลากหลายชนดิ โดยวธิ กี ารเบียดเบียนหรอื เป็นปรสิต และ แขง่ ขนั หรือแย่งใช้อาหารที่เชื้อโรคต้องการ เชอื้ ราไตรโคเดอร์มา เป็นเชื้อราปฏปิ ักษ์ของเชือ้ ราโรคพชื โดยเชื้อราไตรโคเดอร์มาจะไปลดกิจกรรมการดาเนนิ ชวี ิตของ เชือ้ ราโรคพืช เชน่ ยบั ย้งั การเจรญิ เติบโต ยับย้งั การขยายพันธุ์ ด้วยกลไกสามประการ คือ 1. การทาลายโดยตรง โดยการกนิ เชอื้ ราโรคพชื เป็นอาหาร 2. การแก่งแย่งที่อย่อู าศัย และสารอาหารท่ีจาเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โต 3. การสร้างสารปฏชิ วี นะทเี่ ปน็ อนั ตรายต่อเชื้อโรคชนดิ อนื่ นอกจากนี้ เชอื้ ราไตรโคเดอร์มายังมาชว่ ยกระตุน้ ใหพ้ ืชสรา้ งภมู ติ า้ นทานต่อเช้ือโรคพืช กระต้นุ ให้รากพืชเจริญเติบโตดี ข้ึน ทาให้รากยาวและแขง็ แรง และเม่อื อยใู่ นดินจะสรา้ งสารท่ไี ปละลายธาตุอาหารในเม็ดหินและดินใหล้ ะลายออกมา เป็นประโยชนต์ ่อพืช เชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ า เปน็ เชื้อราทอ่ี าศยั อยู่ในดินท่ัวไป มีหลายชนดิ หลายสายพนั ธ์ุ ท่ผี า่ นมาไดม้ ีการศึกษาและคัดเลอื ก สายพนั ธุ์ เพ่ือนามาใช้ประโยชนใ์ นการควบคมุ โรคพชื โดยมุ่งเน้นไปท่เี ชื้อราโรคพืชท่เี กดิ จากดนิ พบวา่ สามารถควบคุม เช้อื ราโรคพชื ไดด้ ีหลายชนิด เช่น เชือ้ ไฟทอปธอรา่ , พิเทย่ี ม, ฟิวซาเร่ยี ม, สเครอโรเทยี่ ม, ไรซ็อคโทเน่ยี เปน็ ต้น ซ่งึ เชื้อ ราเหล่านเ้ี ปน็ สาเหตุของโรคพืชต่างๆ ได้แก่ โรครากเนา่ โคนเน่า โรคผลเน่า โรคกล้าเน่าหรอื กลา้ ยบุ โรคเน่าระดบั ดนิ โรคเห่ยี วในพชื ตระกลู พรกิ โรคถอดฝกั ดาบของข้าว เปน็ ต้น ปัจจุบนั พบว่า นอกจากจะเป็นปฏิปกั ษต์ ่อเช้ือราโรคพชื ที่ อยใู่ นดนิ แลว้ ยงั สามารถใชใ้ นการป้องกนั กาจัดเช้อื ราโรคพืชในส่วนต่างๆของพืชท่ีอยู่เหนือดินได้ดเี ชน่ กัน เชน่ โรคไหม้ ในข้าว โรคแอนแทรกโนสในพริก เปน็ ตน้ และมแี นวโน้มที่จะมผี ลไปกระตนุ้ ให้พชื มคี วามตา้ นทานต่อเช้ือไวรสั โรคพืชได้ อีกดว้ ย จึงนบั วา่ เปน็ เชอื้ จลุ นิ ทรยี ท์ ีม่ ปี ระโยชนอ์ ย่างยิง่ ต่อการเกษตร จุดเด่นของภูมปิ ัญญำ เชื้อราไตรโคเดอรม์ า เป็นเชื้อราชัน้ สงู ท่ดี ารงชีวิตอยู่ในดิน อาศัยเศษซากพชื ซากสตั ว์และอนิ ทรยี วตั ถเุ ป็น แหล่งอาหาร เชื้อราไตรโคเดอร์มาเปน็ ศัตรู (ปฏิปกั ษ)์ ต่อเชือ้ ราสาเหตุโรคพชื หลายชนดิ โดยวธิ ีการเบียดเบียน หรือเป็น ปรสิต และแขง่ ขนั หรอื แย่งใช้อาหารทเ่ี ชื้อโรคต้องการ นอกจากน้เี ชื้อราไตรโคเดอร์มายงั สามารถผลติ ปฏิชวี นสาร และ สารพิษ ตลอดจนน้าย่อยหรือเอนไซมส์ าหรบั ช่วยละลายผนังเส้นใยของเชอ้ื โรคพชื คุณสมบตั พิ ิเศษของเช้ือราไตรโค เดอรม์ าคือ สามารถช่วยละลายแร่ธาตุให้อยใู่ นรปู ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ พืช จงึ ชว่ ยสง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โตของพชื และชัก นาให้ต้นพชื มีความต้านทานต่อเช้ือโรคพืชทง้ั เช้ือราและแบคทเี รยี สาเหตุโรค ถือเปน็ จลุ ินทรยี ์ที่มปี ระโยชน์ชนดิ หนึ่ง จัดอยูใ่ นกลุม่ เชื้อราช้นั สูงคือสามารถสร้างสปอรข์ ยายพนั ธ์ุแบบใชเ้ พศ ได้ ในประเทศไทยมีการคัดเลอื กเช้ือราไตรโคเดอร์สายพันธ์ุดี เพือ่ นามาใชป้ ระโยชนใ์ นการผลิตปฏชิ วี นสารทาง การเกษตรอยา่ งแพร่หลาย และเปน็ ท่ียอมรับในวงกวา้ งมาอย่างยาวนาน

4 เช้อื ราไตรโคเดอรจ์ ึงเปน็ สารมหัศจรรยซ์ ่งึ เปน็ ประโยชน์ตอ่ พืช จงึ พอรวบรวมประโยชน์ไดด้ งั น้ี  ลดปริมาณเชอื้ โรคพืช  แข่งขันและกาจัดเชอ้ื โรคพืช  ช่วยใหพ้ ืชแข็งแรง มีความต้านทานโรค  ช่วยเพมิ่ การเตบิ โตของพืชและเพิ่มผลผลิต  รกั ษาโรคพืช เช่น รากและโคนเนา่ ผลเนา่ ใบจดุ ใบไหม้ ใบเหยี่ ว ราดา  ใชไ้ ดห้ ลากหลายพืชพนั ธุ์ เช่น ทุเรียน มงั คุด ลาไย ลน้ิ จ่ี มะม่วง ลองกอง ยางพารา ปาล์มน้ามนั พริก มะละกอ พชื ผกั ขา้ ว ไมด้ อก-ไม้ใบ เปน็ ตน้ พบว่า เช้อื รำไตรโคเดอร์มำ ช่วยป้องกันและควบคุมเชื้อโรคพชื ได้หลายชนิด เช่น โรครากและโคนเนา่ ผลเนา่ ใบจุด ใบ ไหม้ ใบเหย่ี ว ราดาฯ  สามารถลดกจิ กรรมของเชื้อราสาเหตุของโรคพชื โดยสามารถพนั รดั เส้นใยแล้วปลดปล่อยเอนไซม์ จาก ภายในของเสน้ ใย ส่งผลใหเ้ กิดการเจริญของเสน้ ใยของเชื้อโรคลดลงอยา่ งมาก  สามารถลดปรมิ าณเช้ือราสาเหตโุ รคพชื เชอ้ื ราไตรโคเดอร์มาสามารถเขา้ ไปทาลายสว่ นทเี่ ปน็ กจิ กรรมการ เจริญ และการพฒั นาของเส้นใย เพื่อเขา้ ทาลายพืชอาศัยตลอดจนกิจกรรมเพื่อสบื พนั ธห์ุ รือส่วนโครงสร้าง เพ่ือ ขยายพนั ธุ์ของเชอื้ โรค ทาใหส้ ง่ ผลปริมาณเชอื้ ราสาเหตุโรคพืชลดลงจนอยใู่ นระดับทไ่ี มส่ ามารถก่อให้ เกดิ ความเสียหายรุนแรงกับพืชทปี่ ลูกได้  สามารถเพ่ิมอตั ราการเจริญเติบโตของพชื ให้เรว็ ขึ้น ทาให้ต้นพืชมคี วามต้านทานต่อโรค  เชือ้ ราไตรโคเดอรม์ า ชว่ ยเรง่ กระบวนการย่อยสลายอินทรียวตั ถุในดนิ ให้เร็วขนึ้ เพื่อชว่ ยเพ่ิมธาตุอาหารใน ดนิ ให้แก่พืชได้อกี ดว้ ย  ช่วยเพ่มิ เปอร์เซ็นต์การงอกใหเ้ มลด็ พันธุ์ และเป็นการปอ้ งกันการเขา้ ทาลายของเช้ือราท่ีทาให้เกดิ โรคกับ เมล็ดพันธทุ์ น่ี ามาเพาะ จากงานวจิ ยั พบว่าผทู้ ใ่ี ช้เชื้อราไตรโครเดอร์มาต้งั แตเ่ ร่มิ เพาะเมลด็ จะทาใหต้ ้นกล้าที่เพาะได้มคี วามตา้ นทานต่อโรคได้ดี และมีอตั ราการเจริญเตบิ โตเร็วกว่าผทู้ ่ไี มไ่ ดใ้ ชเ้ ชือ้ ราไตรโคเดอรม์ า เชือ้ ราไตรโคเดอร์มา เปน็ เช้ือราช้นั สงู ทด่ี ารงชวี ิตอยใู่ นดนิ อาศัยเศษซากพืช ซากสัตวแ์ ละอินทรยี วตั ถเุ ป็นแหล่งอาหาร เจริญได้รวดเร็วบนอาหารเลี้ยงเชอ้ื ราหลายชนดิ สร้างเส้นใยสีขาวและผลติ สว่ นขยายพนั ธทุ์ ี่ เรียกวา่ “โคนิเดีย” หรือ “สปอร์” จานวนมากรวมเป็นกลุ่มหนาแนน่ จนเห็นเปน็ สีเขียว เชอ้ื ราไตรโคเดอร์มาเปน็ ศัตรู (ปฏปิ ักษ์) ต่อเชอื้ ราสาเหตุ โรคพชื หลายชนดิ โดยวิธกี ารเบียดเบยี น หรอื เปน็ ปรสติ และแขง่ ขันหรือแยง่ ใช้อาหารทีเ่ ช้อื โรคต้องการ นอกจากน้เี ช้ือ ราไตรโคเดอร์มายังสามารถผลิตปฏิชีวนสาร และสารพษิ ตลอดจนนา้ ย่อยหรือเอนไซม์สาหรบั ชว่ ยละลายผนังเส้นใย ของเชื้อโรคพชื คุณสมบตั ิพเิ ศษของเชอื้ ราไตรโคเดอร์มาคือ สามารถช่วยละลายแรธ่ าตุให้อยใู่ นรูปทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่

5 พืช จึงชว่ ยสง่ เสริมการเจรญิ เติบโตของพืชและชักนาให้ตน้ พืชมคี วามตา้ นทานต่อเชอื้ โรคพืชทัง้ เชื้อราและแบคทีเรีย สาเหตุโรค จากผลการดาเนนิ งานวิจยั ตัง้ แต่ พ.ศ.2528 ถงึ ปัจจุบัน สามารถคัดเลือกเชอ้ื ราไตรโคเดอร์มาจากดนิ ใน ธรรมชาติได้หลายสายพนั ธุ์ โดยเฉพาะสายพนั ธุ์ CB-Pin-01 มปี ระสิทธภิ าพสงู ในการควบคมุ โรคของพืชเศรษฐกจิ ตา่ งๆ ทั้งพชื ไร่ ไมผ้ ล พชื ผัก และไม้ดอกไมป้ ระดบั หลายชนิดได้ในสภาพแปลงเกษตรกร ทั้งโรคทเี่ กดิ บนสว่ นของพชื ที่อยู่ใต้ ดิน เชน่ โรคเมล็ดเน่า โรคเน่าระดับดนิ (โรคกลา้ ยบุ ) รากเน่า หวั หรอื แงง่ เนา่ และโคนเน่า เป็นต้น โรคท่เี กดิ บนส่วน ของพืชทีอ่ ยู่เหนือดนิ ไม่ว่าจะเป็นส่วนของ กงิ่ ผล ใบ หรือดอก เชน่ โรคลาตน้ ไหม้ของหน่อไม้ฝร่ัง โรคแคงเกอร์ของ มะนาว โรคราดาของมะเขือเทศ โรคใบปืน้ เหลืองและโรคดอกสนิมของกล้วยไม้ โรคแอนแทรคโนสของมะม่วงและพริก ท้งั ก่อนและหลงั เก็บเกย่ี วผลผลิต นอกจากน้ยี ังสามารถใชเ้ ชอ้ื ราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรครากเน่าของพืชผักสลดั และผัก กนิ ใบตา่ งๆท่ีปลกู ในสารละลายธาตุอาหาร (ระบบไฮโดรโพนิกส)์ และจากผลการวิจัยล่าสดุ พบว่าการแชเ่ มล็ด ขา้ วเปลือกก่อนใช้หว่านลงในนาขา้ ว ช่วยลดการเกดิ โรคเมลด็ ด่าง เมล็ดลบี ของขา้ วทเ่ี กิดจากการเขา้ ทาลายของเชอ้ื รา หลายชนิด ตลอดจนชว่ ยเพ่ิมความสมบูรณ์และนา้ หนักเมล็ด และเพ่ิมผลผลิตตอ่ ไร่ได้ด้วย ผ้วู ิจยั ไดพ้ ฒั นาชีวภณั ฑ์เช้ือราไตรโคเดอรม์ าให้อยู่ในรูปผงหัวเชอ้ื บรสิ ทุ ธ์ิ เพอ่ื ให้เกษตรกรสามารถผลิตขยาย เชือ้ ราไตรโคเดอรม์ าชนิดสดไว้ใชไ้ ด้เองตามต้องการ ดว้ ยการหงุ ปลายข้าวใหส้ ุกในหม้อหุงข้าวไฟฟ้า อตั ราปลายข้าว 3 สว่ น น้า 2 ส่วน ตักใส่ถุงพลาสตกิ แลว้ ใส่ผงหวั เชื้อลงไปเลก็ นอ้ ย บม่ ไว้ 5-7 วนั กส็ ามารถนาเชอ้ื สดไปใช้ได้ ขณะนีไ้ ด้ พฒั นาเชือ้ สดดงั กล่าวใหเ้ ป็นชวี ภัณฑ์ในรูปนา้ และรปู ผงแห้งผสมน้าเพอ่ื ใช้พน่ ส่วนตา่ งๆของพชื และพน่ ลงดนิ ได้ ผงหวั เชอ้ื บรสิ ทุ ธ์นิ ้ีมสี ปอร์ของเชื้อราไตรโคเดอรม์ าในปริมาณไมน่ ้อยกวา่ 100 ลา้ นหนว่ ยชีวติ (สปอร)์ ต่อผงเชื้อ 1 กรัม สามารถเกบ็ รักษาได้เปน็ ระยะเวลานานไมน่ ้อยกว่า 1 ปีถ้าเกบ็ ไวใ้ นตู้เยน็ (ประมาณ 8-10 องศาเซลเซียส) แต่ถา้ เกบ็ ท่ี อณุ หภูมิในห้องปกติ (25-30 องศาเซลเซียส) สามารถเก็บไวไ้ ด้นาน 6 เดือน การใชเ้ ช้อื ราไตรโคเดอร์มาชนดิ สด สามารถใช้ไดห้ ลายวธิ ีตามโอกาสและความสะดวกของเกษตรกร เช่น ใช้ เชอ้ื สดผสมกบั ราขา้ วละเอยี ดและปุ๋ยอนิ ทรยี ใ์ นสดั สว่ น 1:4:100 โดยนา้ หนกั สาหรับใส่หลมุ ปลกู อัตรา 10-20 กรัม (1- 2 ช้อนแกง) คลกุ เคลา้ กับดินในหลุมปลกู พชื ก่อนการหยอดเมลด็ พชื หรือหว่านลงแปลงปลูก ดว้ ยอตั รา 50-100 กรมั ตอ่ ตารางเมตร หรือใชผ้ สมรวมกบั วัสดุปลูกสาหรับการเพาะกล้าโดย ใสส่ ว่ นผสมของเชื้อสด+ป๋ยุ อินทรยี ์ ผสมรว่ มกับดิน หรอื วัสดปุ ลกู อตั รา 1: 4 โดยปริมาตร (20%) นาดนิ หรือวัสดุปลูกท่ผี สมด้วยสว่ นผสมของเชอ้ื สดแลว้ ใส่กระบะเพาะ เมล็ด ถงุ หรอื กระถางปลูกพชื กรณีของการคลุกเมลด็ พชื ก่อนปลกู สามารถใช้เชอื้ สดลว้ นๆ อตั รา 10 กรัม (1 ช้อนแกง) ต่อเมล็ด 1 กิโลกรมั เตมิ น้า 10 ซีซี และถ้าตอ้ งการเชอ้ื สดในรปู น้าสามารถใช้เชอ้ื สดผสมนา้ ในอตั รา 100 กรัม ตอ่ นา้ 20 ลติ ร กรองนา้ เช้ือด้วยผ้าหรือกระชอนตาถ่ี จะไดเ้ ชอื้ ชนิดนา้ สาหรับใชพ้ น่ ราด รดลงดิน หรอื พน่ สว่ นบนของตน้ พืช หรือใช้ปลอ่ ยไปพร้อมระบบการใหน้ ้าใตท้ รงพุม่ ของพืช และใชแ้ ช่สว่ นขยายพันธุ์พืช เช่นเมลด็ หวั เหง้า แงง่ ท่อนพนั ธ์ุ ก็ได้ สาหรบั เชื้อราไตรโคเดอร์มาชนดิ ผงแห้งได้ทาสญั ญาถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลติ และการประยุกต์ใช้กบั บริษัทยูนิ ซดี ส์ จากดั ไปแล้ว

6 ภำพถำ่ ยบุคคล และอุปกรณ/์ เครื่องมือ/สิ่งท่ปี ระดิษฐ์ (ช้ินงำนหรอื ผลงำน) รปู ภำพภูมิปัญญำ

7 แบบบนั ทกึ ชุดขอ้ มลู คลงั ปญั ญำ-ภูมปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ ตำบล หนองปลาหมอ อำเภอ บ้านโปง่ จงั หวัด ราชบุรี ชื่อภมู ปิ ัญญำ สานกระเป๋าเชือกร่ม ข้อมูลพ้นื ฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภมู ิปัญญำท้องถนิ่ /บุคคลคลังปญั ญำ ช่ือ นางประทมุ นามสกลุ ทองเปลว วันเดอื นปีเกดิ 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2505 ท่อี ย่ปู จั จุบนั (ที่สามารถติดต่อได้) บ้านเลขท่ี 177 หมู่ท่ี 13 บ้านสระตะโก ตาบล/แขวง หนองปลาหมอ อาเภอ/เขต บ้านโปง่ จงั หวัด ราชบุรี รหัสไปรณีย์ 70110 โทรศพั ท์ 081- 0136461 โทรสาร Line ID 081-0136461 พิกัดทางภมู ศิ าสตร์ คา่ X: 13.822705 ค่าY: 99.753827 ควำมเปน็ มำของภมู ิปญั ญำ มกี ำรร่วมกลุม่ สตรี คนรกั งำนฝืมอื ในชุมชนเพ่อื ร่วมกนั ใชเ้ วลำวำ่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ จงึ มีกำรจัดกจิ กรรม ส่งเสรมิ งำนฝีมือเพื่อสรำ้ งรำยได้ให้แกต่ นเองและชุมชน โดยทำง กศน.ตำบลหนองปลำหมอ ปจั จุบันประชาชนสว่ นใหญ่มีรายได้ไมพ่ อกับรายจา่ ย โดยเฉพาะผทู้ ่ีมอี าชีพเกษตรกรรมส่วนใหญ่ เม่อื หมด ชว่ ง ฤดกู าลของการท าการเกษตรแลว้ ไม่มีอาชีพเสรมิ ทาใหข้ าดรายได้ จงึ ทาใหป้ ระชาชนมเี วลาวา่ งหรอื ทาอาชพี เสรมิ ต่างๆ เช่น รับจ้างทัว่ ไป หลายคนจาเปน็ ต้องออกจากบ้าน ละท้งิ ถนิ่ ฐานบ้านเกิดไปทางานตา่ งจังหวัด ต่างประเทศ เพ่ือ หารายไดเ้ ล้ยี งครอบครัวเทา่ ที่จะทาได้ ดงั นนั้ การถกั กระเป๋าดว้ ยเชอื กร่ม จึงเป็นอกี ทางเลอื กของ ประชาชน ในการ สร้างรายไดโ้ ดยเฉพาะในท้องถน่ิ ท่ีอาศยั รายได้จากการเกษตรเพียงอย่างเดยี วซง่ึ สามารถทาเปน็ อาชีพเสริม และชว่ ยให้ มองเป็นเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพได้ หลักสตู ร ”การถกั กระเปา๋ ด้วยเชือกรม่ ” เปน็ หลกั สตู รท่ีเน้นการเรียนรู้ จากการฝกึ ปฏบิ ตั ิจริงและสรา้ ง ครุภณั ฑ์ที่สามารถจาหนา่ ยได้ และมกี ารเรยี นรู้ประสบการณต์ รงโดยการฝึกปฎิบตั แิ ละ ฝึกทกั ษะด้านฝีมอื การ สารวจความต้องการของตลาด การพฒั นารูปแบบครภุ ัณฑใ์ หส้ อดคล้องกับความต้องการของ กลุ่มลกู ค้าต่างๆ ผู้จบ หลกั สูตรนีส้ ามารถนาความรู้ไปใชแ้ ก่ตนเองและครอบครัวได้การท าผลติ ภณั ฑ์กระเป๋าถกั ถือเป็น อาชีพสรา้ งสรรค์อกี อาชีพหนึ่งซึง่ เกดิ จากภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นผูม้ ใี จรกั ในงานฝี มือทจ่ี ะชว่ ยสร้างรายได้ใหก้ ับ ประชาชนที่ เปน็ กลมุ่ แม่บ้าน ในชมุ ชน นอกจากนี้สิง่ ประดิษฐท์ ่ีเกิดขนึ้ มาจากความคดิ สร้างสรรค์ ซึง่ มีลักษณะที่สวยงาม และ จาหนา่ ยได้ ชว่ ยให้ เห็นเปน็ อีกชอ่ งทางหนึง่ ในการประกอบอาชีพได้ เนื่องจากกระเป๋าถักเปน็ งาน ประดิษฐ์ทส่ี ามารถสร้างรายไดเ้ พิม่ ให้กับ สงั คม หรือสามารถนามาประกอบ อาชพี เพื่อเพ่ิมรายไดใ้ ห้กบั ครอบครวั แลว้ ยงั เปน็ งานที่ทามาจากทรัพยากรธรรมชาติที่ เปน็ ส่ิงที่หางา่ ย และรักษา ส่ิงแวดลอ้ ม ไม่ให้เป็นอนั ตราย กระเป๋าถักสามารถท า ได้ง่ายจากวิธีการเรยี นรู้ ฝึกฝนทักษะและ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ และ

8 ยงั สามารถช่วยใน ด้านการใช้ความคดิ ออกแบบงานใหเ้ กดิ รปู ร่างตา่ งๆหรอื เกิดความคิดสร้างสรรคส์ รา้ ง รายไดใ้ หก้ ับ ตนเองและครอบครวั ได้ จดุ เด่นของภูมปิ ัญญำ สนิ ค้ามีความหลากหลายรูปแบบ ฝมื อื ประณตี มีความสวยงาม และมีความทนทาน ใชง้ านไดย้ าวนาน เชือกรม่ เปน็ เชือกท่ีผลิตมาจากเสน้ ใย PP ขนาดที่ใช้ในทอ้ งตลาด คือ 1.8 mm แบบไมม่ ีด้ิน และขนาด 2.5 mm เปน็ แบบมดี น้ิ (Metallic yarn) การผลติ เชือกรม่ แบบไมม่ ดี นิ้ จะเร่ิมจากนาเส้น PP ขนาด 450 ใส่เขา้ ไปในหัวทอเชอื ก จากนนั้ หวั ทอ กจ็ ะถักเชอื ก ออกมา โดยตลอดความยาวของเชอื กร่มจะใช้เสน้ PP เพยี งเส้นเดยี ว ลกั ษณะของเชือกร่มแบบไมด่ ิ้นจะมขี นาด 1.8 mm ขอ้ ดีคือราคาถูกทอง่ายไมม่ ปี ัญหาเรื่องด้ินขาดบอ่ ย เชือกร่มด้นิ เป็นสนิ คา้ ที่ไดร้ ับความนิยมเป็นอยา่ งมาก เนอ่ื งจากมีสีสนั สดใสและยงั มีประกายจากดน้ิ สตี า้ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ สีเงิน, สที อง,สรี ุ้ง และสีอน่ื ๆ การผลติ เริม่ ตน้ จากการนาเอาเสน้ ไหม PP 450 กับดิ้นสที ลี่ กู ค้าต้องการ (ส่วนใหญจ่ ะเป็น สีเงิน กับสที อง) นาเขา้ หวั ทอ จากนัน้ ก็จะไดเ้ ชือกรม่ สสี วยออกมา ข้อดีคอื เชือกสสี วยมปี ระกาย ส่วนข้อเสียคอื เสน้ ดนิ้ จะมคี วามแขง็ แรงต่ากวา่ เสน้ ไหมจึงทาให้เกิดการขาดราหว่างการถักทอบอ่ ยๆ เราสามารถนาดน้ิ สอี ืน่ ๆมาใส่ไดต้ ามที่ ลกู ค้าต้องการ หลายท่านอาจจะงงว่าแลว้ เจ้าเชือกนม้ี นั ทอ ออกมาเปน็ เส้นสวยงามไดอ้ ย่างไร เรามาดูหัวใจของการ ทอเชอื กร่มกันเลย - เข็มทอเชือกรม่ เปน็ เขม็ ทีใ่ ช้กนั ในอสุ าหกรรมส่ิงทอทวั่ ไป ลกั ษณะจะมีปลายเปน็ ตะขอและจะมีปากเขม็ สาหรับปดิ เปดิ ขณะทอเชือกร่ม เชอื ก PP จะถูกถกั ขดไปมาโดยเข็มดงั กลา่ ว

9 ถ่ำยภำพบุคคล และอุปกรณ/์ เครอื่ งมอื /สิ่งท่ีประดิษฐ์ (ชิ้นงำนหรือผลงำน)

10

11 แบบบันทึกชุดข้อมูลคลังปัญญำ-ภูมปิ ญั ญำท้องถิน่ ตำบล หนองปลาหมอ อำเภอ บ้านโปง่ จังหวดั ราชบรุ ี ชือ่ ภมู ปิ ัญญำ การถักหมวกโคเชต์ ข้อมูลพ้ืนฐำน รำยบคุ คล เจ้ำของภมู ิปญั ญำทอ้ งถ่นิ /บุคคลคลังปญั ญำ ชือ่ นางธนภรณ์ นามสกลุ จนั ทรักรงั สี วนั เดือนปีเกิด 30 มนี าคม 2511 ที่อยปู่ จั จบุ นั (ท่สี ามารถตดิ ต่อได้) บ้านเลขท่ี 138 หมู่ที่ 8 ตาบล/แขวง หนองปลาหมอ อาเภอ/เขต บา้ นโป่ง จังหวดั ราชบุรี รหสั ไปรณยี ์ 70110 โทรศพั ท์ 089-2590320 โทรสาร Line ID 089-2590320 พิกดั ทางภมู ิศาสตร์ ค่า X: 13.792369 คา่ Y: 99.784020 ควำมเป็นมำของบุคคลคลังปัญญำ ทุกวันน้ีหลายคนมองหาอาชีพเสริมเพราะว่าเศรษฐกิจพักหลังมานี้ก็มีปัญหามาตลอด และต้องการ สร้างรายได้ให้กับตนเองเพิ่มมากย่ิงขึ้น แต่ก็คงไม่รู้ว่าจะทาอะไรกันดีดังน้ันการถักโครเชต์ก็เป็นอีกหนึ่งวิธีท่ีสามารถหา รายได้ได้เช่นกัน แต่คุณก็ต้องมีฝีมือมีทักษะในการถักออกมาให้สวยงาม และมีความแข็งแรงคงทนหลังจากนั้น คุณ สามารถนาไปขายในรูปแบบออนไลน์หรือตามตลาดนัด ซ่ึงมันก็แล้วแต่ความสะดวกและต้องบอกเลยว่าเด๋ียวนี้มันก็ ไดร้ ับความนิยมความสนใจมากในรปู แบบตา่ งๆ ย่ิงรูปแบบใหม่ๆก็ยิ่งทาให้มีความสนใจมากยิ่งข้ึน เพราะเดี๋ยวน้ีแฟชั่นก็ เป็นอีกความสนใจหนง่ึ ทีห่ ลายคนสนใจ และมันสามารถนาแนวทางน้มี าทาเปน็ รายได้ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี จดุ เดน่ ของภูมิปัญญำท้องถิ่น คณุ สามารถทามนั เป็นรายไดเ้ สริมได้ เพราะว่าคุณก็ไมต่ ้องทงิ้ งานหลกั อย่างไรกต็ ามงานหลกั กเ็ ปน็ งานที่ นา่ สนใจอยู่แลว้ เป็นเงนิ เดือนท่ีรองรบั คุณทุกเดือน และถ้าคุณอยากได้เงินเพ่มิ คุณก็แคใ่ ชเ้ วลาว่างจากการทางานของคณุ ให้เกดิ ประโยชน์ เพียงเทา่ นั้นมันก็สามารถสร้างรายได้ใหก้ ับคุณไดเ้ ปน็ อยา่ งดี และคุณต้องมองว่าการทานอี้ ย่าไปหวงั ผล ใหม้ ากจนเกนิ ไปเราวา่ ให้มองวา่ มนั เป็นกจิ กรรมยามวา่ งและมันกเ็ ป็นรายได้เสรมิ ซึ่งถ้าคุณทาได้ออกมาไมด่ ีหรือไม่มี คนดูถูกใจ มันก็ขายยากเปน็ เรอื่ งธรรมดาทุกอย่างมนั มีอะไรของมนั อยู่แล้ว ดังนน้ั มันกเ็ ป็นการใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิด ประโยชน์ และยงั สามารถสรา้ งรายไดไ้ ปในตัวได้อีกด้วย

12 ถ่ำยภำพบุคคล และอุปกรณ์/เคร่อื งมอื /สงิ่ ทปี่ ระดิษฐ์ (ชนิ้ งำนหรอื ผลงำน)

13 ภาพของภูมิปญั ญาของหนองปลาหมอ ลุงอานวย บญุ ณรงค์ นำงสำวมทุ ิตำ พรหมดี นำงสำวพวงผกำ ยะเครือ

14 ท่ปี รกึ ษำ คณะผจู้ ดั ทำ 1. นางสาวดารตั น์ กาญจนาภา ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน. จังหวดั ราชบรุ ี 2. นายสจั จา จันทรวิเชียร ผู้อานวยการ กศน. อาเภอบา้ นโปง่ 3. นายไพโรจน์ ขนุ ทอง ครชู านาญการพิเศษ ผจู้ ัดทำ ครู กศน.ตาบลหนองปลาหมอ นางสาวบุหงา เสมจติ ร์ ครู กศน.ตาบลหนองปลาหมอ บรรณำธกิ ำร/จดั ทำรูปเลม่ นางสาวบุหงา เสมจติ ร์