ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสามชกุ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสามชกุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
ความหมายของวนั วิสาขบชู า คำว่ำ วิสาขบูชา ย่อมำจำก คำว่ำ \"วิสาขปุรณมีบชู า\" แปลว่ำ \"กำรบชู ำในวันเพญ็ เดือน วิสำขะ\" ดงั นั้น วสิ ำขบชู ำ จึงหมำยถึง กำรบชู ำในวนั เพ็ญ เดือน 6 การกาหนดวันวสิ าขบูชา วันวสิ าขบชู า ตรงกบั วันขึ้น 15 คำ เดือน 6 ตำมปฏทิ นิ จนั ทรคตขิ องไทย ซึงมกั จะ ตรงกับเดือนพฤษภำคม หรือมิถนุ ำยน แต่ถำ้ ปีใดมีอธกิ มำส คือ มีเดือน 8 สองหน ก็ เลือนไปเป็นวนั ขึน้ 15 คำ กลำงเดือน 7 หรือรำวเดือนมถิ ุนำยน ห้องสมุดประชาชนอาเภอสามชกุ
ประวตั ิวนั วิสาขบูชาและความสาคญั ของ วนั วิสาขบูชา วันวิสำขบูชำ ถือเปน็ วนั สำคัญยงิ ทำงพระพุทธศำสนำ เพรำะเป็นวนั ทีเกดิ 3 เหตุกำรณ์สำคัญทเี กียวกับวิถชี วี ิตของพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ เวียนมำบรรจบกันใน วันเพ็ญ เดือน 6 แม้จะมีช่วงระยะเวลำห่ำงกันนับเป็นเวลำหลำยสิบปี ซึงเหตกุ ำรณ์ อัศจรรย์ 3 ประกำร ได้แก.่ .. หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสามชกุ
1. วนั วิสาขบชู า เปน็ วนั ที่พระพทุ ธเจ้าประสตู ิ เมือพระนำงสิรมิ หำมำยำ พระมเหสีของพระเจ้ำสุทโธทนะ แห่งกรงุ กบิลพสั ดุ์ ทรงพระครรภ์แก่ จวนจะประสูติ พระนำงแปรพระรำชฐำนไปประทบั ณ กรุงเทวทหะ เพือประสตู ิในตระกูลของพระนำงตำม ประเพณีนิยมในสมยั นั้น ขณะเสด็จแวะพกั ผ่อนพระอริ ิยำบถใต้ตน้ สำละ ณ สวนลมุ พินวี นั พระนำงก็ได้ ประสตู ิพระโอรส ณ ใต้ต้นสำละน้ัน ซึงตรงกับวันเพญ็ เดือน 6 กอ่ นพุทธศักรำช 80 ปี ครั้นพระกมุ ำร ประสตู ิได้ 5 วัน ก็ได้รบั กำรถวำยพระนำมว่ำ \"สิทธัตถะ\" แปลวา่ \"สมปรารถนา\" เมือข่ำวกำรประสูติแพร่ไปถึงอสิตดำบส 4 ผู้อำศยั อยู่ใน อำศรมเชิงเขำหิมำลยั และมคี วำมคนุ้ เคยกับพระเจ้ำสุทโธทนะ ดำบสจึงเดินทำงไปเข้ำเฝ้ำ และเมือเห็นพระรำชกมุ ำรก็ทำนำยได้ ทันทีว่ำ นีคือผู้จะตรสั รู้เปน็ พระสัมมำสมั พทุ ธเจ้ำ จึงกล่ำว พยำกรณ์ว่ำ \"พระราชกมุ ารนจ้ี ักบรรลุพระสพั พญั ญุตญาณ เห็นแจ้งพระนพิ พานอันบรสิ ุทธิอ์ ยา่ งยง่ิ ทรงหวงั ประโยชน์ แกช่ นเป็นอันมาก จะประกาศธรรมจักรพรหมจรรย์ของพร กุมารน้จี ักแพร่หลาย\" แล้วกรำบลงแทบพระบำทของพระกมุ ำร พระเจ้ำสุทโธทนะทอดพระเนตรเหน็ เหตกุ ำรณ์นน้ั ทรงรู้สึกอศั จรรย์และเปี่ยมล้นด้วยปีติ ถงึ กบั ทรดุ พระองค์ลงอภิวำทพระรำชกมุ ำรตำมอยำ่ งดำบส หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสามชุก
2. วันวิสาขบูชา เป็นวนั ทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสรู้อนตุ ตรสมั มาสมั โพธิญาณ หลังจำกออกผนวชได้ 6 ปี จนเมือพระชนมำยุ 35 พรรษำ เจ้ำชำยสิทธัตถะกท็ รงตรัสรเู้ ปน็ พระพุทธเจ้ำ ณ ใต้รม่ ไมศ้ รีมหำโพธิ์ ฝ่ังแมน่ ้ำเนรญั ชรำ ตำบลอรุ ุเวลำเสนำนคิ ม ในตอนเช้ำมืดของวันพธุ ขนึ้ 15 คำ เดือน 6 ปีระกำ กอ่ นพุทธศกั รำช 45 ปี ปจั จุบันสถำนทีตรสั รู้แหง่ นเี้ รียกว่ำ พทุ ธคยำ เป็น ตำบลหนึงของเมืองคยำ แห่งรัฐพิหำร ของอนิ เดีย สิ่งทีต่ รัสรู้ คอื อรยิ สัจสี่ เปน็ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ 4 ประการของพระพทุ ธเจ้า ซึง่ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปที่ตน้ มหาโพธิ์ และทรงเจรญิ สมาธิภาวนาจนจิตเป็นสมาธิไดฌ้ านที่ 4 แล้ว บาเพ็ญภาวนาต่อไปจนไดฌ้ าน 3 คือ - ยามต้น : ทรงบรรลุ \"ปพุ เพนิวาสานุสสติญาณ\" คือ ทรงระลึกชำติในอดีตทั้งของตนเองและผอู้ ืนได้ - ยามสอง : ทรงบรรลุ \"จุตูปปาตญาณ\" คือ กำรรู้แจ้งกำรเกิดและดบั ของสรรพสตั ว์ทงั้ หลำย ด้วย กำรมตี ำทิพย์สำมำรถเห็นกำรจตุ ิและอบุ ตั ขิ องวิญญำณทง้ั หลำย - ยามสาม หรอื ยามสุดทา้ ย : ทรงบรรลุ \"อาสวักขยญาณ\" คือ รู้วธิ ีกำจดั กิเลสด้วย อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย นโิ รธ มรรค) ได้ตรสั รู้เป็นพระสมั มำสมั พทุ ธเจ้ำ ในคืนวนั เพญ็ เดือน 6 ซึงขณะนั้นพระพทุ ธองค์มี พระชนมำยไุ ด้ 35 พรรษำ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสามชุก
3. วนั วิสาขบูชา เป็นวันทีพ่ ระพทุ ธเจ้าเสด็จเข้าสู่ปรินิพพาน (ดับสังขารไมก่ ลบั มาเกิดสร้างชาติ สรา้ งภพอีกตอ่ ไป) เมือพระพุทธองค์ได้ตรสั รู้และแสดงธรรมเปน็ เวลำนำนถงึ 45 ปี จนมพี ระชนมำยไุ ด้ 80 พรรษำ ได้ประทบั จำพรรษำ ณ เวฬุคำม ใกล้เมืองเวสำลี แคว้นวัชชี ในระหว่ำงน้ันทรงพระประชวรอย่ำงหนกั ครั้นเมือถึงวนั เพ็ญ เดือน 6 พระพุทธองคก์ ับพระภิกษุสงฆ์ทง้ั หลำย ก็ไปรับภัตตำหำรบิณฑบำตทบี ้ำน นำยจนุ ทะ ตำมคำกรำบทูลนิมนต์ พระองค์เสวยสูกรมัททวะทีนำยจุนทะตงั้ ใจทำถวำยก็เกิดอำพำธลง แต่ทรงอดกลั้นมงุ่ เสดจ็ ไปยงั เมืองกสุ ินำรำ ประทับ ณ ป่ำสำละ เพือเสด็จดบั ขันธ์ปรินิพพำน เมือถงึ ยำมสดุ ท้ำยของคืนน้ัน พระพุทธองค์ก็ ทรงประทำนปจั ฉิมโอวำทว่ำ \"ดูกอ่ นภิกษุ ทัง้ หลายอันวา่ สังขารท้ังหลายยอ่ มมคี วาม เสื่อมสลายไปเปน็ ธรรมดา ทา่ นทง้ั หลายจง ยังกิจทง้ั ปวงอันเปน็ ประโยชน์ของตนและ ประโยชน์ของผู้อื่นให้บริบรู ณ์ดว้ ยความไม่ ประมาทเถิด\" หลงั จำกนั้นก็เสด็จเข้ำดบั ขนั ธ์ ปรินิพพำน ในรำตรีเพ็ญ เดือน 6 นั้น ห้องสมุดประชาชนอาเภอสามชกุ
การประกอบพิธีในวันวิสาขบชู า / กิจกรรมในวนั วิสาขบชู า การประกอบพิธีใน วนั วิสาขบชู า จะแบง่ ออกเป็น 3 พธิ ี ไดแ้ ก่ 1. พิธีหลวง คือ พระรำชพิธีสำหรบั พระมหำกษตั รยิ ์ พระบรมวงศำนุวงศ์ ประกอบในวันวสิ ำขบูชำ 2. พิธีรำษฎร์ คือ พิธีของประชำชนทวั ไป 3. พิธีของพระสงฆ์ คือ พิธีทีพระสงฆ์ประกอบศำสนกจิ กิจกรรมที่พุทธศาสนกิ ชนพงึ ปฏิบตั ิใน วนั วิสาขบชู า ไดแ้ ก่ 1. ทำบุญใส่บำตร กรวดน้ำอุทิศส่วนกศุ ลให้ญำติทลี ่วงลบั และเจ้ำกรรมนำยเวร 2. จดั สำรับคำวหวำนไปทำบญุ ถวำยภัตตำหำรทีวดั และปฏบิ ตั ิธรรม ฟงั พระธรรมเทศนำ 3. ปล่อยนกปล่อยปลำ เพือสร้ำงบุญสร้ำงกศุ ล 4. ร่วมเวียนเทียนรอบอโุ บสถทีวดั ในตอนคำ เพือรำลึกถงึ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 5. ร่วมกจิ กรรมเกียวกับวันสำคญั ทำงพุทธศำสนำ 6. จดั แสดงนิทรรศกำร ประวัติ หรือเรืองรำวควำมเปน็ มำเกียวกับวันวสิ ำขบูชำ ตำมโรงเรียน หรือ สถำนทีรำชกำรต่ำง ๆ เพือให้ควำมรู้ และเป็นกำรร่วมรำลึกถงึ ควำมสำคัญของวนั วิสำขบชู ำ 7. ประดับธงชำติตำมอำคำรบ้ำนเรือน วัดและสถำนทีรำชกำร 8. บำเพ็ญสำธำรณประโยชน์ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสามชกุ
ในวันวิสาขบูชา พทุ ธศาสนกิ ชนทั้งหลายควรยึดมั่นในหลักธรรมควรนามาปฏิบตั ิในวนั วิสาขบูชา ได้แก่ 1. ความกตัญญู คือ กำรรู้คณุ คน เปน็ คณุ ธรรมทีคู่กับควำมกตเวที ซึงหมำยถึงกำรตอบแทนคุณทีมผี ู้ทำไว้ ควำมกตัญญู และควำมกตเวทีนี้ เป็นเครืองหมำยของคนดี ทำให้ครอบครวั และสงั คมมีควำมสุข ซึงควำมกตัญญกู ตเวทีน้ันสำมำรถเกดิ ข้นึ ได้ กับทั้งบดิ ำมำรดำและลูก ครูอำจำรยก์ ับศิษย์ นำยจำ้ งกบั ลูกจ้ำง ฯลฯ ในพระพทุ ธศำสนำ เปรียบพระพุทธเจ้ำเสมือนกบั บพุ กำรี ผู้ชใี้ ห้เห็นทำงหลุดพน้ แห่งควำมทกุ ข์ ดังน้ัน พทุ ธศำสนิกชน จึงควรตอบแทนควำมกตญั ญูกตเวทีด้วยกำรทำนุบำรงุ พระพุทธศำสนำ และดำรงพระพทุ ธศำสนำใหอ้ ยู่สืบไป 2. อริยสจั 4 คือ ควำมจริงอนั ประเสริฐ 4 ประกำรทีพระพุทธเจ้ำทรงตรัสรใู้ น วนั วิสำขบูชำ ได้แก่ - ทกุ ข์ คือ ปัญหำของชีวติ สภำวะทีทนได้ยำก ซึงทกุ ข์ขั้นพื้นฐำน คือ กำรเกิด กำรแก่ และกำรตำย ลว้ นเป็นสิงที มนุษยท์ ุกคนต้องเผชิญ ส่วนทุกข์จร คือ ทุกข์ทเี กดิ ขึน้ ในกำรดำเนินชวี ติ ประจำวัน เชน่ กำรพลัดพรำกจำกสิงทีเปน็ ทีรกั หรือ ควำมยำกจน เปน็ ต้น - สมุทยั คอื ต้นเหตขุ องปัญหำ หรือสำเหตุของกำรเกิดทกุ ข์ และสำเหตสุ ่วนใหญ่ของปัญหำเกิดจำก \"ตัณหำ\" อนั ได้แก่ ควำมอยำกไดต้ ่ำง ๆ อย่ำงไม่มที ีส้นิ สุด - นิโรธ คือ ควำมดบั ทกุ ข์ เปน็ สภำพทีควำมทกุ ข์หมดไป เพรำะสำมำรถดบั กิเลส ตณั หำ อุปำทำนออกไปได้ - มรรค คือ หนทำงทีนำไปสกู่ ำรดับทุกข์ เป็นกำรปฏิบัติเพือแกป้ ัญหำ มี 8 ประกำร ได้แก่ ควำมเหน็ ชอบ ดำริชอบ วำจำชอบ กระทำชอบ เล้ยี งชีพชอบ พยำยำมชอบ ระลึกชอบ ต้ังจิตมันชอบ 3. ความไม่ประมาท คือกำรมีสติตลอดเวลำ ไมว่ ่ำจะทำอะไร พดู อะไร คิดอะไร ลว้ นต้องใชส้ ติ เพรำะสติคือกำรระลกึ ได้ กำร ระลึกได้อยู่เสมอจะทำใหเ้ รำใชช้ วี ติ อย่ำงไม่ประมำท ซึงควำมประมำทนั้นจะทำให้เกิดปญั หำยุ่งยำกตำมมำ ดงั นั้น ในวันนี้ พทุ ธศำสนิกชนจะพำกันน้อมระลึกถึงพระพทุ ธเจ้ำ พระธรรม และพระสงฆ์ ดว้ ยควำมมีสติ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสามชกุ
ขอขอบคณุ แหลง่ ทมี่ าของขอ้ มลู www.kapook.com ( จำก https://hilight.kapook.com/view/23220 ) ห้องสมุดประชาชนอาเภอสามชกุ
จัดทาโดย ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสามชกุ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสามชกุ สานักงาน กศน.จังหวดั สุพรรณบรุ ี
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: