Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.-แนวทางการดำเนินงานxu2563

2.-แนวทางการดำเนินงานxu2563

Description: 2.-แนวทางการดำเนินงานxu2563

Search

Read the Text Version

46 ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท 9.2 อตั ราค่าสมนาคุณวิทยากร ไม่เกนิ ชว่ั โมงละ ๑,๒๐๐ บาท 1) วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐให้ได้รบั ค่าสมนาคุณวิทยากรไดไ้ ม่เกิน 2) วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐให้ได้รับค่าสมนาคุณวิทยากรได้ ท้ังนี้ ใหใ้ ชแ้ บบใบสาคัญรับเงินสาหรับวิทยากร เอกสารหมายเลข ๑ (หนา้ 49) 10. ค่าอาหารสาหรับการจัดกิจกรรมม้ือละไม่เกิน ๘๐ บาท หรือกรณีจาเป็นต้อง จดั กิจกรรม ในสถานที่ของเอกชนให้เบกิ จ่ายไดเ้ ท่าทจ่ี ่ายจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ มื้อละ ๑๕๐ บาท 11. กรณีที่ไม่สามารถจัดอาหารให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกม้ือ หรือจัดอาหาร ให้เพียงบางม้ือ ให้เบกิ ค่าใชจ้ า่ ย ดงั น้ี 11.1 สาหรับครใู หเ้ บกิ จ่ายคา่ เบ้ยี เลีย้ งเหมาจ่าย 11.1.1 โดยคานวณเวลาต้ังแต่เวลาที่เดินทางออกจากสถานท่ีอยู่หรือ สถานทปี่ ฏิบัติราชการ ตามปกติจนกลบั ถงึ สถานทีอ่ ยู่หรือสถานท่ีปฏิบัตริ าชการปกติแล้วแต่กรณี (นับเวลา ๒๔ ช่ัวโมง = ๑ วนั ส่วนท่เี กนิ ๒๔ ชัว่ โมง หากนับได้เกนิ ๑๒ ช่ัวโมง ใหน้ บั เพ่มิ อกี ๑ วัน) 11.1.2 นาจานวนวนั ท้งั หมด (ตามข้อ ๑) คณู กับอัตราค่าเบ้ียเลย้ี ง เหมาจา่ ยตามสทิ ธิ 11.1.3 นับจานวนมอ้ื อาหารทจี่ ดั ให้ตลอดการจดั กจิ กรรม 11.1.4 คานวณคา่ อาหารทงั้ หมดโดยให้คดิ คา่ อาหารมอ้ื ละ 1 ใน 3 ของอัตราค่าเบ้ยี เล้ียงเหมาจา่ ยที่ได้รับ 11.1.5 นาจานวนเงนิ ค่าเบ้ียเล้ียงเหมาจ่ายท่ีคานวณได้ตาม (ข้อ 1.11) หักด้วย จานวนเงินค่าอาหารทค่ี านวณไดต้ าม (ข้อ 3.1.11.๔) สว่ นทเี่ หลอื เปน็ ค่าเบยี้ เลี้ยงท่ีจะได้รับ 11.2 สาหรบั นกั เรยี นใหเ้ บกิ จ่ายเปน็ ค่าอาหารในลกั ษณะเหมาจ่าย ในอตั ราดังน้ี ท่ี การจดั อาหารต่อวัน เบิกค่าอาหารในลกั ษณะเหมาจา่ ย ๑ จดั อาหาร ๒ มือ้ คนละไม่เกิน ๘๐ บาทตอ่ วนั ๒ จดั อาหาร ๑ ม้อื คนละไม่เกิน ๑๖๐ บาทต่อวนั ๓ ไมจ่ ัดอาหารทั้ง ๓ มอื้ คนละไม่เกิน ๒๔๐ บาทต่อวัน โดยใช้แบบใบสาคัญรับเงินค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมสาหรับนักเรียน เอกสาร หมายเลข ๒ (หนา้ 50) เปน็ หลักฐานการจา่ ย

47 12. ค่าเชา่ ที่พกั ตามทหี่ น่วยงานใหบ้ ริการท่ีพักเรยี กเกบ็ หรือกรณีจาเปน็ ต้อง พกั ในสถานทขี่ องเอกชน ให้เบกิ จา่ ยได้เท่าทจ่ี ่ายจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ อตั ราที่กาหนด ดังน้ี ค่าเช่าหอ้ งพกั คู่ ไมเ่ กินคนละ ๖๐๐ บาทต่อวนั ค่าเชา่ พกั พกั เด่ียว ไม่เกินคนละ ๑,๒๐๐ บาทต่อวัน 13. ค่าจ้างเหมาพาหนะรับ-ส่งครูและนักเรียนไปร่วมกิจกรรม/ขนส่งอุปกรณ์ ท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรม 14. ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการใช้บริการสุขาให้เบิกได้ตามอัตราที่หน่วยงานท่ีให้บริการ เรยี กเกบ็ 15. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้บริการพยาบาลให้เบิกได้ตามอัตราที่หน่วยงาน ทใี่ หบ้ ริการเรยี กเก็บ 16. ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดประกวดหรอื แขง่ ขัน 16.1 ค่าตอบแทนกรรมการตดั สนิ 16.1.1 กรรมการที่เป็นบุคลากรของรัฐเบิกจ่ายได้ในอัตราไม่เกิน คนละ ๖๐๐ บาทตอ่ วัน 16.1.2 กรรมการที่มิได้เป็นบุคลากรของรัฐเบิกจ่ายได้ในอัตราไม่เกิน คนละ ๑,๒๐๐ บาทตอ่ วนั 16.1.3 คา่ โล่หรือถ้วยรางวัลหรอื ของรางวัลที่มอบให้ผู้ชนะการประกวด หรอื แข่งขัน เพอื่ เป็นการประกาศเกยี รตคิ ณุ ชนิ้ ละไมเ่ กิน ๑,๕๐๐ บาท 17. ค่าใช้จ่ายอ่นื ท่จี าเป็นสาหรบั การจัดกิจกรรม กรณีท่ี ๒ โรงเรียนพานักเรียนไปร่วมกิจกรรม/ร่วมการแข่งขันกับโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่น ซง่ึ เป็นผู้จดั กิจกรรม/การแขง่ ขนั ให้เบกิ จา่ ยค่าใชจ้ ่ายไดด้ ังนี้ 1. สาหรับครู 1.1 กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่นซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน มกี ารจัดอาหาร ท่ีพกั และพาหนะให้แลว้ ให้งดเบกิ คา่ ใช้จา่ ยดังกล่าว 1.2 กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอ่ืนซึ่งเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน ไม่จัดอาหาร ที่พัก พาหนะทั้งหมดหรือจัดให้บางส่วนให้เบิกค่าใช้จ่ายทั้งหมดหรือส่วนที่ขาดสาหรับครู ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการทก่ี าหนดไวใ้ นพระราชกฤษฎกี าค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ ยกเวน้ 1) ค่าเช่าท่ีพักให้เบิกได้เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๖๐๐ บาทต่อวัน สาหรับ ค่าเช่าห้องพกั คแู่ ละไมเ่ กนิ คนละ ๑,๒๐๐ บาทต่อวนั ค่าเช่าหอ้ งพกั เดี่ยว 2) ค่าเบ้ยี เลยี้ งเดินทางให้คานวณเชน่ เดียวกนั กบั กรณที ี่ ๑ ขอ้ 11.๑

48 2. สาหรบั นกั เรยี น 2.1 กรณีโรงเรียนอ่ืนหรือหน่วยงานอื่นซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันมีการจัด อาหาร ท่ีพกั และพาหนะใหแ้ ลว้ ให้งดเบกิ ค่าใชจ้ ่ายดงั กลา่ ว 2.2 กรณีโรงเรียนอ่ืนหรือหน่วยงานอ่ืนซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันไม่จัด อาหาร ทพ่ี กั พาหนะทั้งหมดหรือจดั ให้บางสว่ น ให้เบกิ คา่ ใชจ้ ่ายท้งั หมดหรอื ส่วนท่ีขาดใหก้ ับนกั เรยี น ดังนี้ 1) ค่าอาหารในลักษณะเหมาจ่าย ตามข้อ ๑๑.๒ (สว่ นของนักเรยี น) 2) ค่าเช่าท่พี กั เหมาจ่ายไม่เกนิ คนละ ๕๐๐ บาทตอ่ วนั 3) ค่าพาหนะใหเ้ บิกจ่ายได้ตามสิทธขิ องข้าราชการตาแหนง่ ประเภทท่ัวไประดับ ปฏิบตั ิงาน (เทียบเท่าระดบั ๑-๔) 4) ใช้แบบใบสาคัญรับเงินค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมสาหรับนักเรียน เอกสาร หมายเลข ๒ (หนา้ 50) เปน็ หลกั ฐานการจา่ ย 3. ค่าใช้จา่ ยอ่ืนทีจ่ าเป็นสาหรับการพานักเรยี นไปร่วมกจิ กรรม/ร่วมการแขง่ ขนั หมายเหตุ การพิจารณาเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้คานึงถึงความจาเป็น เหมาะสม ประหยัด ภายในวงเงินท่ีอยใู่ นความรับผดิ ชอบเทา่ นั้น และต้องไม่เป็นเหตุในการเรยี กเกบ็ เงินจากผู้ปกครองเพมิ่ เตมิ ด้วย

49 เอกสารหมายเลข ๑ ใบสาคัญรบั เงนิ สาหรบั วิทยากร ชือ่ ส่วนราชการผจู้ ัดกิจกรรม...................................................................................................................... โครงการ/หลกั สตู ร/กิจกรรม...................................................................................................................... วันท.ี่ ......เดอื น...............พ.ศ...................... ข้าพเจ้า....................................................................อยู่บา้ นเลขที.่ ............................................... ตาบล/แขวง.....................................อาเภอ/เขต......................................จังหวัด......................... ............... ไดร้ บั เงนิ จาก..................................................................................ดังรายการตอ่ ไปนี้ รายการ จานวนเงนิ จานวนเงนิ (.........................................................................................................) (ตัวอกั ษร) ลงช่ือ.................................................................ผู้รบั เงนิ (................................................................) ลงชื่อ................................................................ผจู้ า่ ยเงนิ (................................................................)

50 เอกสารหมายเลข ๒ แบบใบสาคญั รบั เงินคา่ ใช้จา่ ยในการจดั กจิ กรรมสาหรบั นักเรียน ชือ่ ส่วนราชการผจู้ ดั กิจกรรม...........................................โครงการ/หลักสตู ร/กจิ กรรม...................................... วนั ที่.............เดือน.............................พ.ศ. ...............ถงึ วนั ท่.ี ............เดอื น..............................พ.ศ. ................. จานวนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมทั้งสิ้น.....................คน ผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมไดร้ ับเงนิ จากโรงเรียน................................ สงั กัด สพป. ..................................................../สพม. .................................................ปรากฏรายละเอยี ดดงั น้ี ลาดบั ท่ี ชือ่ – สกุล ท่ีอยู่ คา่ อาหาร ค่าเช่าทพี่ กั ค่าพาหนะ รวมเป็นเงนิ วัน เดือน ปี ลายมือช่อื (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ท่ีรบั เงนิ รวมเปน็ เงินทัง้ สน้ิ ลงช่อื .................................................................ผูจ้ า่ ยเงนิ ( ..........................................................) ตาแหนง่ ..............................................................

51 แนวทางดาเนนิ การเลอื กซ้ือหนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์สาหรบั เด็กปฐมวัย ตามกิจกรรมการสนบั สนุนการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ตามโครงการสนบั สนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษาต้ังแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ก. หลกั การ รฐั บาลกาหนดนโยบายดา้ นการศึกษาใหท้ ุกคนมโี อกาสไดร้ ับโครงการสนบั สนุนค่าใช้จา่ ยในการจัด การศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน โดยจัดงบประมาณสาหรับหนงั สือเสริมประสบการณ์ อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งในแต่ละรายการมีรายละเอียด ท่ีเก่ียวกับการศึกษาระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63 ดงั น้ี หนงั สือเสริมประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย ๒๐๐ บาท/ปี อุปกรณ์การเรยี น ๑๐๐ บาท/ภาคเรียน (เชน่ สีเทียน ดนิ นา้ มนั ไรส้ ารพษิ กรรไกร ฯลฯ) เครื่องแบบนักเรียน (๒ ชดุ /ปี) ๓๐๐ บาท/ปี กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน ๒๑๕ บาท/ภาคเรียน (กิจกรรมสง่ เสริมพัฒนาการ/กิจกรรมคณุ ธรรม/การบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ICT) หนังสอื เสริมประสบการณส์ าหรับเด็กปฐมวยั หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กาหนดหลักการจัดประสบการณ์สาหรับ เด็กปฐมวัยอายุ ๓ - ๕ ปี เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวม อย่างต่อเนื่องในรูปแบบบูรณาการ ไม่สอนเป็นรายวิชา ยดึ หลักการบูรณาการท่ีว่า หน่ึงแนวคิดเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้ หลายทักษะ หลายประสบการณ์สาคัญ การท่ีเด็กมีโอกาสได้เลือกอ่านหนังสือบ่อย ๆ จะทาให้เด็กคุ้นเคย กับการใช้หนังสือและคุ้นเคยกับตัวหนังสือ สิ่งสาคัญท่ีควรตระหนักคือหากเด็กมีประสบการณ์ท่ีดี และมีความสุขในการใช้หนังสือ จะเป็นส่วนสาคัญท่ีช่วยปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่านได้อย่างดียิ่งในอนาคต หนังสือเสริมประสบการณ์สาหรับเด็กอนุบาลมีจุดมุ่งหมายเพ่ือสนองความต้องการของเด็ก เสริมสร้าง ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาการเรียนรู้ด้านภาษา ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติให้เด็กเกิดนิสัย รักการอ่าน คุณสมบัตหิ นังสือเสรมิ ประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยส่ิงที่ควรคานงึ ถึง ๑. ความสอดคล้องกบั หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ๑.๑ สอดคลอ้ งกับจดุ หมายของการพฒั นาเด็กปฐมวัย ๑.๒ สอดคลอ้ งกบั หลกั การจดั ประสบการณ์การศกึ ษาปฐมวยั ๑.๓ เหมาะสมกบั วัย ความสนใจ ความสามารถและพฒั นาการของเด็กอนบุ าล ๑.๔ เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อม บรบิ ทสังคมและวัฒนธรรมของท้องถ่ิน

52 อายุ ๓ - 4 ปี เด็กวัยน้ีมีความอยากรู้อยากเห็นในสิ่งต่าง ๆ รอบตัว พูดได้มากข้ึน สนใจในความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล รู้ถึงความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชาย ควรตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก เดก็ สามารถเลา่ เร่ืองท่ีตนประสบมาให้ผ้อู ่นื ฟังเข้าใจ ถามอะไร ที่ไหน และเดก็ สามารถวาดวงกลมได้ตามแบบ อายุ ๔ - 5 ปี เด็กวัยนี้เป็นวัยท่ีอยากรู้อยากเห็น ต้องการที่จะรู้ว่าส่ิงนั้นสิ่งน้ีมาจากไหนทาไมจึงเป็นเช่นน้ี ทาไมจึงเป็นอย่างน้ันอย่างนี้ สิ่งนี้ความเป็นมาอย่างไร วัยน้ีเริ่มจะเข้าใจข้อแตกต่างระหว่างความจริง และเรื่องสมมติ นิทานที่เหมาะสาหรับเด็กวัยนี้ควรจะเป็นเรื่องสั้นเข้าใจง่าย มีตัวละครตัวเอกเพียงตัวเดียว และตัวละครร่วมอีก ๒-๓ ตัว เรื่องท่ีส่งเสริมจินตนาการและอิงความจริงอยู่บ้าง เด็กสามารถเล่าเรื่อง นิทาน และออกเสียงได้ถูกตอ้ ง อายุ ๕ - 6 ปี เด็กวัยน้ีเร่ิมสนใจโลกของความเป็นจริง รู้จักสิ่งแวดล้อมที่ห่างตัวมากขึ้น เร่ิมเข้าใจว่าตัวเอง เป็นส่วนหน่ึงของสิ่งแวดล้อม ไม่ใช่เป็นศูนย์กลางของทุกส่ิงทุกอย่างเช่นแต่ก่อน เน้ือหาของเรื่องควรส่งเสริม พัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญาด้วยจะเปน็ เรื่องจริงในปัจจบุ นั หรือเป็นเรื่องประเภทวีรบุรุษทัง้ หลายก็ได้ ๒. คณุ ลักษณะของหนงั สือ ๒.๑ รูปเล่ม ๑) ปกมีความสวยงามนา่ สนใจ ๒) ขนาดรูปเลม่ เหมาะสมกับวยั ของเด็ก ๓) ขนาดของตวั อักษรเหมาะสมกบั วัยของเด็ก ๔) จานวนหน้าและจานวนคาศัพท์เหมาะสมกบั วัยของเด็ก ๒.๒ สีสบายตาและไม่ใชส้ ีสะท้อนแสง ๒.๓ ภาพประกอบ - มภี าพชดั เจนเหมาะสมกบั วยั เด็ก ออกแบบรูปภาพนา่ สนใจใหเ้ ร่ืองราวตอ่ เน่ือง และ ต้องไมเ่ ปน็ ภาพทท่ี าใหเ้ ดก็ เกดิ ความหวาดกลวั และมชี อ่ งว่างพักสายตา ขนาดเหมาะสมกับวยั ของเด็ก ๒.๔ กระดาษ - ควรเปน็ กระดาษชนิดดี เช่น กระดาษปอนด์ กระดาษอาร์ต ฯลฯ ๒.๕ ภาษา - ภาษาที่ใช้ควรมีความถูกต้อง สละสลวย ช่วยให้เกิดจินตนาการและเหมาะสมกบั วยั ของเด็ก ๒.๖ เนอื้ หา - เนอ้ื เรอื่ งไม่ยากเกนิ ไป ไมส่ ลับซบั ซ้อน ไม่ขัดแย้งกับค่านยิ มคุณธรรม

53 ๓. ประเภทของหนงั สือท่หี ลากหลายเหมาะสมกับวัยของเด็กปฐมวัย ประเภทของหนังสือท่ีเหมาะสมกับเด็กปฐมวัยควรมีความหลากหลาย มีเหตุการณ์ท่ี คาดเดาได้มลี กั ษณะเปน็ คากลอน คาคล้องจองเป็นจงั หวะ มรี ปู แบบซา้ ภาพสวยงาม เช่น ๓.๑ หนังสือนิทาน เช่น นิทานพ้ืนบ้าน นิทานชาดก เทพนิยาย นิทานอีสปทั้งท่ีเป็นร้อยแก้ว และรอ้ ยกรอง ๓.๒ หนงั สอื ภาพ เช่น หนังสือภาพประกอบ/หนงั สอื ภาพสามมติ ิ ๓.๓ สารานกุ รมภาพสาหรบั เด็กปฐมวัย ๓.๕ หนงั สือท่แี สดงวธิ ีการทาหรอื ประดษิ ฐ์สิง่ ตา่ ง ๆ ๓.๖ นติ ยสารสาหรับเด็ก ๓.๗ หนังสือเสรมิ ประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวยั ๓.๘ หนังสือที่มีเสียงประกอบ หนังสือพลาสติก หนังสือผ้า หนังสือท่ีผลิตจากวัสดุอ่ืน ทไ่ี ม่เป็นอันตราย หนังสือรูปทรงขนาดผิวสัมผัสท่ีแตกต่างกนั ทาใหเ้ กดิ การเปรียบเทยี บจัดหมวดหมู่ ฯลฯ แนวทางการเลอื กหนังสือเสรมิ ประสบการณส์ าหรับเด็กปฐมวัย การคัดเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย สถานศึกษาดาเนินการตามขั้นตอน คือ ครูผู้สอนเป็นผู้เลือกหนังสือเสริมประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย เสนอให้คณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน (ผ้แู ทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชมุ ชน และผู้แทนกรรมการนกั เรียน) รว่ มกันพจิ ารณาคัดเลอื กหนงั สือเสรมิ ประสบการณ์สาหรบั เด็กปฐมวัย ดงั น้ี ๑. คัดเลือกจากประเภทหนังสือเสริมประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณสมบัติส่งเสริม และพัฒนาเด็กตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒560 และคุณสมบัติหนงั สอื เสริมประสบการณส์ าหรับเด็กปฐมวยั ท่ีเสนอแนะขา้ งตน้ และ/หรือ ๒. เลือกจากตัวอย่างรายช่ือหนังสือเสริมประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยท่ีผ่านการประกวด/ การคดั เลอื กจากหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน หมายเหตุ รายละเอียดสามารถ Download จากเว็บไซต์ของสานักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา ที่ (http://academic.obec.go.th) และเว็บไซต์ฐานข้อมูลบัญ ชีกาหนดสื่อการเรียนรู้ฯ (http://academic.obec.go.th/textbook/web) ข้อเสนอแนะ ๑. ควรเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ที่หลากหลายในด้านประเภทผู้แต่ง ผู้วาดภาพประกอบ และเน้ือหาการเรียนรู้ เพราะจะช่วยให้เด็กมีโอกาสอ่านหนังสือเสริมประสบการณ์ ท่ีหลากหลายและเกิดการเรียนรู้ ไดม้ ากท่ีสดุ ๒. จานวนหนังสือเสรมิ ประสบการณค์ วรเพยี งพอกับจานวนเด็ก

54 ข้นั ตอนการจัดซื้อหนงั สือเรียน ศกึ ษาแนวทางการดาเนินงาน โครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษา ตงั้ แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน แตง่ ต้ัง 1. คณะกรรมการวิชาการ 2. คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย 3. คณะกรรมการสถานศึกษา ครผู สู้ อนคดั เลอื กรายการหนงั สือรายวชิ าพ้นื ฐานจากเวบ็ ไซต์ http://academic.obec.go.th/textbook/web โดยเลือกจากบัญชี 1.1 และ 1.2 ซื้อ ให้ครบทุกช้ัน ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และครบทกุ คน เสนอรายชือ่ หนงั สอื ผ่านความเห็นชอบคณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการสถานศกึ ษา คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย ฝา่ ยพสั ดุพิจารณาวธิ กี ารจดั ซ้อื โดยพิจารณา จากงบประมาณการจัดซื้อ วิธีเฉพาะเจาะจง มาตรา 56 (2) (ข) วิธีคดั เลือก มาตรา 56 (1) (ง) 1. คณะกรรมการ วงเงนิ ไม่เกนิ 500,000 บาท วงเงนิ เกิน 500,000 ซอ้ื โดยวธิ คี ัดเลอื ก ขอใบเสนอราคาจากผูข้ ายโดยตรง บาท 2. คณะกรรมการ ตรวจรบั ประมาณ 3 วันทาการ รายงานขอซ้ือพรอ้ มแตง่ ต้ัง คณะกรรมการ 2 ชดุ และ ประมาณ 2 วนั ทาการ รายงานขอซ้ือพรอ้ มแต่งต้ัง คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ คณะกรรมการจดั ซอื้ โดยวธิ ีคดั เลอื ก จดั ทาหนงั สือเชญิ ผูข้ ายอย่างน้อย 3 ราย และจดั ทาใบส่งั ซ้อื โดยมคี ณุ สมบัตติ รงตามเงอื่ นไขทหี่ น่วยงานกาหนด ประมาณ 2 วนั ทาการ ประมาณ 3-5 วันทาการ ผขู้ ายจดั สง่ หนงั สอื เรียน จากผ้ขู าคยณทีเ่ะสกนรรอมรกาาคราจัด(ซโดือ้ ยโดตยรววธิ จคี สดั อเลบือคกุณสมบตั ิ พจิ ารณาคดั เลือกผผูข้ ู้เสานยอ) ราคาเฉพาะราย ทค่ี ณะกรรมการฯ ไดม้ หี นงั สือเชิญชวนเท่าน้ัน จากผูข้ ายท่ีเสนอราคา (โดยตรวจสอบคุณสมบัติ ผขู้ าย)

55 (ตอ่ ) คณะกรรมการจัดซื้อโดยวธิ คี ัดเลอื ก พิจารณาคัดเลือกผู้เสนอราคาเฉพาะราย ท่คี ณะกรรมการฯ ได้มีหนงั สือเชญิ ชวนเท่าน้ัน ประมาณ 1-2 วนั ทาการ ทจากราผยูข้ งาายนทกเี่ าสรนจอดั รซาื้อคหาน(โงั ดสยือตจราวกจผสขู้ อาบยคทณุ่ีพจิสามรบณตั าิ ผู้ขาย) ประมาณ 1-2 วันทาการ คดั เลือกได้ ทาหนังสือเชญิ ผขู้ ายมาลงนาม ในสัญญาซื้อขาย (ผขู้ ายเตรียมหลักประกนั สญั ญา 5% มา ดว้ ย) ประมาณ 7 วนั ทาการ ผขู้ ายจัดส่งหนงั สือ เรียน กรณสี ่งหนงั สอื ตรงตาม กรณที ี่สง่ หนังสือเรียนเกิน กาหนดผขู้ ายจัดสง่ หนงั สือ กาหนด เรยี น โรงเรียนแจ้งสงวนสิทธิการ คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ ปรับ ดาเนนิ การตรวจรบั หนังสือ เรยี น ใหผ้ ู้ขายทราบ (แจ้งอัตราการ วันทีผ่ ู้ขายสปง่รหบั น) งั สือครบ โรงเรยี นเบิกจา่ ยเงิน คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ คานวณคา่ ปรบั ดาเนนิ การตรวจรบั หนงั สือ และแจ้งจานวน ค่าปรบั ให้ผู้ขาย เรียน ทราบ โรงเรียนเบกิ จา่ ยเงนิ โดยหัก คา่ ปรับ

ตารางแสดงการลดคา่ ใชจ้ า่ 1. โรงเรยี นปกติ ภาคเรยี นท่ี 2/๒๕62 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ช้ัน ๑. ๒. ๓. รวม ๑. หน รายหัว อปุ กรณ์ กจิ กรรมพฒั นา รายหวั เ การเรียน คณุ ภาพผู้เรยี น ๘๕๐ ๒ ๘๕๐ ๒ ก่อนประถมศกึ ษา ๘๕๐ ๒ อ.๑ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐ 6 ๙๕๐ 6 อ.๒ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐ ๖ ๙๕๐ 6 อ.3 ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐ 8 ๙๕๐ ๘ ประถมศึกษา ๑,๗๕๐ 7 ป.๑ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๑,๗๕๐ 8 ๑,๗๕๐ ๙ ป.๒ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๑,๙๐๐ 1, ป.๓ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๑,๙๐๐ ๑, ๑,๙๐๐ ๑, ป.๔ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ป.๕ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ป.๖ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ม.๑ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ม.๔ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕

56 ายของผู้ปกครอง/นกั เรียน ภาคเรยี นท่ี 1/2563 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ๒. ๓. ๔. ๕. รวม ๒ ภาคเรยี น นงั สอื อปุ กรณ์ เครือ่ งแบบ กจิ กรรมพัฒนา รวม ๒,๘๓๐ เรยี น การเรยี น นกั เรยี น คุณภาพผเู้ รียน ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๓,755 ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ 2,370 3,749 2,364 ๓,๗๕๒ 625 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๓๖๗ 3,803 619 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,418 3,936 ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,551 ๓,๙๔๘ 673 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๕๖๓ 806 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 6,014 ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 3,614 6,127 3,727 ๖,๑๙๙ 764 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๓,๗๙๙ 877 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 5,741 ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 4,423 ๖,๙๗๓ ๔,๓๖๘ ๖,๘19 ,318 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๔,๒๑4 ,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ,๑09 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕

ก. เงนิ ปจั จัยพื้นฐานนักเรียนยากจน 1. โรงเรียนปกติ ๑) ภาคเรยี นที่ 2/๒๕62 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ชน้ั ๑. ๒. ๓. รวม ๑. รายหวั อุปกรณ์ กจิ กรรมพัฒนา รายหวั การเรยี น คณุ ภาพผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา จดั ให้กบั นกั เรยี นท่ผี ่านเกณฑ์การคดั กรอง (รายไดเ้ ฉล่ียครัวเรือนไมเ่ กนิ 3,000 บาท แล คนละ ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี ป.๑ 500 ๕๐๐ 500 ป.๒ 500 ๕๐๐ 500 ป.๓ 500 ๕๐๐ 500 ป.๔ 500 ๕๐๐ 500 ป.๕ 500 ๕๐๐ 500 ป.๖ 500 ๕๐๐ 500 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จัดให้กบั นกั เรยี นท่ีผา่ นเกณฑก์ ารคดั กรอง (รายได้เฉลยี่ ครัวเรือนไม่เกนิ 3,000 บาท แล คนละ ๓,๐๐๐บาท/คน/ปี ม.๑ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500 ม.๒ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500 ม.๓ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500

57 ภาคเรียนที่ 1/2563 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ๒. ๓. ๔. ๕. รวม ๒ ภาคเรยี น หนงั สือ อปุ กรณ์ เคร่ืองแบบ กจิ กรรมพัฒนา รวม ๑,๐๐๐ เรียน การเรียน นักเรยี น คุณภาพผู้เรียน ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ละเกณฑส์ ถานะครวั เรอื น) ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ละเกณฑส์ ถานะครวั เรือน) ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๕๐๐ ๓,๐๐๐ ๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐ ๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐ ๑,๕๐๐

ข. จัดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานโดยครอบครัว/สถานประกอบการ) 1. จัดโดยครอบครวั ภาคเรยี นท่ี 2/๒๕62 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ชนั้ ๑. ๒. ๓. รวม ๑. รายหัว อุปกรณ์ กจิ กรรมพัฒนา รายหวั หน การเรยี น คณุ ภาพผู้เรียน เ อ.1 ๓,๕๙๖ ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๑๑ ๓,๕๙๖ ๒ อ.๒ ๓,๕๙๖ ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๑๑ ๓,๕๙๖ ๒ ป.๑ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ 6 ป.๒ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ 6 ป.๓ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๖ ป.๔ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ 6 ป.๕ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ 8 ป.๖ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๘ ม.๑ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ 7 ม.๒ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ 8 ม.๓ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๙ ม.๔ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ 1, ม.๕ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๑, ม.๖ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๑,

58 ภาคเรียนที่ 1/2563 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ๒. ๓. ๔. ๕. รวม รวม ๒ ภาคเรียน นงั สือ อุปกรณ์ เคร่อื งแบบ กจิ กรรมพฒั นา ๔,๔๑๑ ๔,๔๑๑ ๘,๓๒๒ เรียน การเรยี น นักเรยี น คณุ ภาพผู้เรยี น 5,101 ๘,๓๒๒ ๕,095 ๙,217 ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๕,๐๙๘ ๙,211 ๕,๑4๙ ๙,๒๑๔ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๕,282 9,265 ๕,๒๙๔ ๙,๓98 625 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๙91 ๙,๔๑๐ ๗,๑15 ๑๒,๗79 619 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๗,๑๘๗ ๑๒,๘91 ๗,826 ๑๒,๙๗๕ ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๗,๗๗๑ ๑๓,834 ๗,๖๑7 ๑๓,๗๗๙ 673 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๓,๖๒5 806 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 764 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 877 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ,318 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ,๑09 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕

2. จดั โดยสถานประกอบการ ภาคเรยี นที่ 2/๒๕62 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ช้นั ๑. ๒. ๓. รวม ๑. ๒ รายหัว หนงั รายหวั อปุ กรณ์ กจิ กรรมพัฒนา เรีย ๕,๘๖๘ การเรยี น คณุ ภาพผ้เู รยี น ๕,๘๖๘ ๒,๐ ๕,๘๖๘ ปวช.๑ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๒,๐ ปวช.๒ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๒,๐ ปวช.๓ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓

59 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ๒. ๓. ๔. ๕. รวม รวม ๒ ภาคเรยี น งสอื อปุ กรณ์ เครอื่ งแบบ กิจกรรมพฒั นา ๙,๔๗๓ ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ ยน การเรียน นักเรยี น คุณภาพผ้เู รยี น ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ ๑๖,๐๔๖ ๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕

ค. โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ ๑) นกั เรียนประจา ภาคเรยี นที่ 2/๒๕62 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) พื้นฐาน พ้ืนฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กจิ กรรม รวม ช้ัน (ประจา) การเรยี น พัฒนา 850 950 คณุ ภาพ 950 ผู้เรยี น 950 อ.๑-อ.3 850 14,450 100 215 15,615 950 ป.๑ 950 14,450 195 240 15,835 950 ป.๒ 950 14,450 195 240 15,835 950 ป.๓ 950 14,450 195 240 15,835 1,750 ป.๔ 950 14,450 195 240 15,835 1,750 ป.๕ 950 14,450 195 240 15,835 1,750 ป.๖ 950 14,450 195 240 15,835 1,900 ม.๑ 1,750 14,350 210 440 16,750 1,900 ม.๒ 1,750 14,350 210 440 16,750 1,900 ม.๓ 1,750 14,350 210 440 16,750 ม.๔ 1,900 14,350 230 475 16,955 ม.๕ 1,900 14,350 230 475 16,955 ม.๖ 1,900 14,350 230 475 16,955

60 ภาคเรยี นที่ 1/2563 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63) สมทบ หนังสือเรียน อปุ กรณ์ เคร่ืองแบบ กจิ กรรม รวม รวม ๒ (ประจา) (รวม/ชุด) การเรยี น นกั เรียน พัฒนา 16,115 ภาคเรียน 16,884 คณุ ภาพ 16,828 31,730 16,817 32,719 ผู้เรียน 16,888 32,663 17,022 32,652 14,450 200 100 300 215 17,013 32,723 17,964 32,857 14,450 625 195 360 240 18,065 32,848 18,149 34,751 14,450 619 195 360 240 18,834 34,815 18,718 34,899 14,450 622 195 360 240 18,564 35,789 35,673 14,450 673 195 360 240 35,519 14,450 806 195 360 240 14,450 818 195 360 240 14,350 764 210 450 440 14,350 877 210 450 440 14,350 949 210 450 440 14,350 1,318 230 500 475 14,350 1,263 230 500 475 14,350 1,109 230 500 475

๒) นกั เรียนไป - กลบั ช้นั ภาคเรียนท่ี 2/๒๕62 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63) พ้นื ฐาน พ้นื ฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กจิ กรรม รวม อ.๑-อ.3 850 ป.๑ (ประจา) การเรียน พฒั นา 950 ป.๒ คุณภาพ 950 ป.๓ ผู้เรียน 950 ป.๔ 950 ป.๕ 850 3,610 100 215 4,775 950 ป.๖ 950 3,610 195 240 4,995 950 ม.๑ 950 3,610 195 240 4,995 1,750 ม.๒ 950 3,610 195 240 4,995 1,750 ม.๓ 950 3,610 195 240 4,995 1,750 ม.๔ 950 3,610 195 240 4,995 1,900 ม.๕ 950 3,610 195 240 4,995 1,900 ม.๖ 1,750 3,300 210 440 5,700 1,900 1,750 3,300 210 440 5,700 1,750 3,300 210 440 5,700 1,900 3,300 230 475 5,905 1,900 3,300 230 475 5,905 1,900 3,300 230 475 5,905

61 ภาคเรียนท่ี 1/2563 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63) สมทบ หนงั สอื อปุ กรณ์ เคร่ืองแบบ กจิ กรรม รวม รวม ๒ (ประจา) เรยี น การเรียน นกั เรยี น พฒั นา ภาคเรยี น (รวม/ชุด) คณุ ภาพ ผเู้ รียน 3,610 200 100 300 215 5,275 10,050 5,980 10,975 3,610 625 195 360 240 5,974 10,965 5,977 10,972 3,610 619 195 360 240 6,028 11,023 6,161 11,156 3,610 622 195 360 240 6,173 11,168 6,903 12,603 3,610 673 195 360 240 7,027 12,727 7,099 12,799 3,610 806 195 360 240 7,723 13,628 7,668 13,573 3,610 818 195 360 240 7,514 13,419 3,300 764 210 450 440 3,300 877 210 450 440 3,300 949 210 450 440 3,300 1,318 230 500 475 3,300 1,263 230 500 475 3,300 1,109 230 500 475

ง.โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ๑) นักเรยี นประจา ภาคเรียนที่ 2/๒๕62 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ชน้ั พน้ื ฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กจิ กรรมพัฒนา รวม พนื้ ฐาน (ประจา) การเรียน คุณภาพผเู้ รยี น อ.๑-อ.3 850 14,660 100 215 15,825 850 ป.๑ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๒ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๓ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๔ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๕ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๖ 950 14,660 195 240 16,045 950 ม.๑ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,750 ม.๒ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,750 ม.๓ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,750 ม.๔ 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900 ม.๕ 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900 ม.๖ 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900

62 ภาคเรียนที่ 1/2563 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) รวม ๒ สมทบ หนงั สือ อุปกรณ์ เคร่ือง กิจกรรมพัฒนา รวม ภาคเรียน (ประจา) เรียน การเรยี น แบบ คณุ ภาพผูเ้ รียน 16,325 32,150 17,030 33,075 (รวม/ชดุ ) นักเรียน 17,024 33,069 17,027 33,072 14,660 200 100 300 215 17,078 33,123 17,211 33,256 14,660 625 195 360 240 17,223 33,268 18,153 35,103 14,660 619 195 360 240 18,265 35,215 18,349 35,299 14,660 622 195 360 240 18,773 35,728 18,718 35,673 14,660 673 195 360 240 18,564 35,519 14,660 806 195 360 240 14,660 818 195 360 240 14,550 764 210 450 440 14,550 877 210 450 440 14,550 949 210 450 440 14,350 1,318 230 500 475 14,350 1,263 230 500 475 14,350 1,109 230 500 475

๒) นกั เรียนไป - กลบั ภาคเรียนท่ี 2/๒๕62 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) พื้นฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กิจกรรม รวม พืน้ ฐาน ชั้น (ไป-กลบั ) การเรียน พฒั นา 850 คุณภาพ 950 950 ผเู้ รียน 950 950 อ.๑-อ.3 850 3,610 100 215 4,775 950 950 ป.๑ 950 3,610 195 240 4,995 1,750 1,750 ป.๒ 950 3,610 195 240 4,995 1,750 1,900 ป.๓ 950 3,610 195 240 4,995 1,900 1,900 ป.๔ 950 3,610 195 240 4,995 ป.๕ 950 3,610 195 240 4,995 ป.๖ 950 3,610 195 240 4,995 ม.๑ 1,750 3,500 210 440 5,900 ม.๒ 1,750 3,500 210 440 5,900 ม.๓ 1,750 3,500 210 440 5,900 ม.๔ 1,900 3,500 230 475 6,105 ม.๕ 1,900 3,500 230 475 6,105 ม.๖ 1,900 3,500 230 475 6,105

63 ภาคเรียนท่ี 1/2563 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) รวม ๒ สมทบ หนงั สอื อปุ กรณ์ เคร่ืองแบบ กิจกรรม รวม ภาคเรยี น (ไป-กลบั ) เรยี น การ นกั เรยี น พัฒนา 5,275 10,050 (รวม/ เรียน คุณภาพ 5,980 10,975 5,974 10,969 ชุด) ผู้เรยี น 5,977 10,972 3,610 200 100 300 215 6,028 11,023 3,610 625 195 360 240 6,161 11,156 3,610 619 195 360 240 6,173 11,168 3,610 622 195 360 240 7,103 13,003 3,610 673 195 360 240 7,215 13,115 7,299 13,199 3,610 806 195 360 240 7,923 14,028 3,610 818 195 360 240 7,868 13,973 3,500 764 210 450 440 7,714 13,819 3,500 877 210 450 440 3,500 949 210 450 440 3,500 1,318 230 500 475 3,500 1,263 230 500 475 3,500 1,109 230 500 475

จ. ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ภาคเรยี นที่ 2/๒๕62 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ชนั้ ค่าอาหาร ปัจจยั อปุ กรณ์ กจิ กรรม รวม ค่าอาหาร พืน้ ฐาน การ พฒั นา ประจา นกั เรียน เรยี น คณุ ภาพ 14,315 13,500 ไป-กลบั ประจา ผูเ้ รยี น 3,945 2,970 100 13,500 500 100 215 3,630 - 215 สาหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้รับเงินอุดหนุนโครงการสนับส จานวน 4 รายการ ได้แก่ ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเคร่ืองแ และปัจจัยพ้ืนฐานนักเรียนประจา ซึ่งได้รับจัดสรรในผลผลิตเด็กพิการได้รับ ไปตามรายการค่าจัดการเรยี นการสอน (เงินอดุ หนนุ รายหวั )

64 ภาคเรยี นที่ 1/2563 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63) ปจั จัย หนังสือ อุปกรณ์ เคร่ืองแบ กจิ กรรม รวม รวม พืน้ ฐาน เรียน การเรยี น บนกั เรียน พัฒนา ๒ นักเรยี น รวม/ชุด คุณภาพ 14,815 ภาคเรยี น ประจา 100 300 ผูเ้ รียน 3,785 200 100 300 29,130 500 200 215 7,730 - 215 สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุ บาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในส่วนเงินอุดหนุนค่าอาหาร บการศึกษาข้ันพื้นฐานและการพัฒนาสมรรถภาพ โดยให้บริหารงบประมาณให้เป็น

65 ด่วนที่สุด สานักงานคณะสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร กทม. ๑๐๓๐๐ ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/พเิ ศษ ๒๒ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔ เรอ่ื ง การเก็บเงนิ บารงุ การศึกษาและการระดมทรัพยากร เรียน ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาทุกเขต ส่งิ ท่ีส่งมาดว้ ย ๑. สาเนาประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรอื่ งการเก็บเงินบารุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน จานวน ๑ ชุด 2. หลักเกณฑเ์ งนิ บารงุ การศกึ ษาของสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน จานวน ๑ ชดุ ๓. สาเนาประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเรอ่ื งการระดมทรพั ยากรของสถานศึกษาสงั กดั สานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน จานวน ๑ ชุด ๔. แนวปฏบิ ัตกิ ารระดมทรพั ยากรของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ขนั้ พ้นื ฐาน จานวน ๑ ชุด ด้วยรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเรื่องการเก็บเงนิ บารุง การศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการระดมทรัพยากรของสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ในการนี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงขอให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษา แจง้ สถานศกึ ษาในสงั กัดทราบและถอื ปฏิบตั ิตาม 1. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเร่ืองการเก็บเงินบารงุ การศึกษาสถานศึกษา สังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 2. หลักเกณฑ์การเก็บเงินบารุงการศึกษาสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน 3. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ืองการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ๔. แนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพนื้ ฐาน ดังสิง่ ที่ส่งมาดว้ ย จึงเรยี นมาเพื่อทราบและพจิ ารณาดาเนินการต่อไป ขอแสดงความนับถอื (นายชินภัทร ภูมริ ตั น) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สานกั นโยบายและแผนการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖ โทรสาร๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖

66 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง การเกบ็ เงินบารุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ------------------------------------ ด้วยกระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บเงิน บารุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานประกาศ ณ วันท่ี ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ จงึ ยกเลกิ ประกาศดงั กล่าวและให้ใช้ประกาศฉบบั นแ้ี ทน เพ่ือให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หนงั สอื สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ด่วนทีส่ ดุ ท่ี นร ๐๙๐๑/๐๖๘๗ ลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๕๑เร่ือง การเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เก็บเงินบารุงการศึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ในการจัดการเรียนการสอน นอกหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงมุ่งเน้นหลักสูตรท่ีมีเนื้อหาสาระมากกว่าปกติ การสอนด้วย บุคลากรพิเศษ การสอนด้วยรูปแบบ หรือวิธีการท่ีแตกต่างจาก การเรียนการสอนปกติ หรือการสอนท่ีใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีจัดหาให้เป็นพิเศษตามอัตราที่เหมาะสม กับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และเป็นไปด้วยความสมัครใจของผู้ปกครองและ นักเรียน ภายใต้หลกั เกณฑ์ทสี่ านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพน้ื ฐานกาหนด ท้งั นี้ ตั้งแตบ่ ดั น้เี ป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ (นายวรวัจน์ เออื้ อภิญญกุล) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ

67 หลักเกณฑก์ ารเกบ็ เงนิ บารงุ การศึกษาของสถานศึกษา สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ---------------------------- ด้วยปัจจุบันสถานศึกษาได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ข้ันพื้นฐาน ได้แก่ ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน และ ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นต้น แต่ในการจัดการศึกษาสาหรับสถานศึกษาท่ีมีความพร้อม และ มีศักยภาพเป็นสถานศึกษาท่ีมีชื่อเสียงต้องการจะเพิ่มพูนประสิทธิภาพและคุณภาพการศึกษาของผู้เรีย น ด้วยรูปแบบ วิธีการ สื่ออุปกรณ์ และบุคลากรที่ทาการสอนเพิ่มเติมจากเกณฑ์มาตรฐานทั่วไปของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเป็นกรณีพิเศษ โดยมีค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากค่าใช้จ่ายที่รัฐจัดสรรให้ กอปรกับ การตอบข้อหารือของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เห็นว่า สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สามารถประกาศให้สถานศึกษาของรัฐในสังกัดเก็บค่าใช้จ่าย เพื่อจัดการศึกษานอกหลักสูตรแกนก ลาง การศึกษาข้นั พ้ืนฐานได้ ในการจัดการศึกษาท่ีผ่านมาสถานศึกษาจานวนมากได้จัดการศึกษาโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ตามมาตรา ๔๙ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แล้ว แต่ยังมีสถานศึกษาบางแห่ง เก็บค่าใช้จ่ายเพ่ือจัดการศึกษาเพ่ิมเติมจากเกณฑ์มาตรฐานท่ัวไปของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นกรณีพิเศษ ดังน้ัน เพ่ือให้การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายเป็นไปในแนวทางเดียวกันและการมีส่วนร่วม สนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษารวมทั้งเป็นการคุ้มครอง ผู้ปกครองมิให้ เกิดผลกระทบต่อภาระค่าใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาของนกั เรยี นสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จงึ กาหนดหลกั เกณฑใ์ ห้สถานศกึ ษาถอื ปฏิบัตดิ ังนี้ ก. สถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่สามารถเรียกเก็บเงิน สนับสนุนจากนักเรียนหรอื ผ้ปู กครองได้ เน่อื งจากรัฐบาลได้จา่ ยเงินงบประมาณเพ่อื อุดหนนุ ให้แลว้ ดงั นี้ ๑. ค่าเลา่ เรียน ๒. ค่าหนังสือเรยี น ๓. คา่ อุปกรณ์การเรยี น ๔. ค่าเคร่อื งแบบนักเรียน ๕. ค่าใชจ้ ่ายในการจดั กิจกรรมวิชาการ ปีละ ๑ ครั้ง ๖. คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กิจกรรมคณุ ธรรม/ ชุมนุมลกู เสือ / เนตรนารี /ยุวกาชาด ปลี ะ ๑ ครง้ั ๗. คา่ ใชจ้ า่ ยในการไปทศั นศึกษา ปลี ะ ๑ ครั้ง ๘. ค่าใช้จา่ ยในการใหบ้ รกิ ารอินเทอรเ์ นต็ ตามหลักสูตร และทเี่ พมิ่ เติมจากหลกั สูตรปีละ ๔๐ ชัว่ โมง 9. คา่ วัสดฝุ ึก สอน สอบพ้ืนฐาน ๑๐. คา่ สมดุ รายงานประจาตัวนกั เรียน ๑๑. คา่ บรกิ ารหอ้ งสมุดขั้นพื้นฐาน ๑๒. ค่าบริการห้องพยาบาล ๑๓. คา่ วสั ดุสานกั งาน ๑๔. ค่าวัสดุเชือ้ เพลงิ และหล่อลนื่ 1๕. คา่ วัสดุงานบา้ นงานครวั 1๖. ค่าอุปกรณ์กฬี า ๑๗. คา่ ซ่อมแซมครภุ ณั ฑแ์ ละอุปกรณ์การเรยี นการสอน

68 ๑๘. ค่าใช้จา่ ยในการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ๑๙. คา่ คมู่ อื นักเรยี น ๒๐. คา่ บัตรประจาตัวนกั เรียน ๒๑. ค่าปฐมนเิ ทศนักเรียน ๒๒. คา่ วารสารโรงเรยี น สาหรับรายการที่ ๑๙, ๒๐, ๒๑ และ ๒๒ หากโรงเรียนได้จัดทาเป็นลักษณะพิเศษอย่างมี คุณภาพ สามารถขอรับการสนบั สนนุ ได้โดยประหยดั ตามความจาเปน็ เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกจิ ของทอ้ งถิ่น ข. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้นักเรียนเกินมาตรฐานท่ีรัฐจัดให้ สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้ ตามความสมัครใจของผปู้ กครองและนักเรียน ดงั น้ี ที่ รายการ อตั ราการเกบ็ / คน / ภาคเรยี น ๑ หอ้ งเรยี นพเิ ศษ EP (English Program) - ระดับก่อนประถมศึกษาถึงมัธยมศกึ ษาตอนต้น ไมเ่ กิน ๓๕,๐๐๐ บาท - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไมเ่ กิน ๔๐,๐๐๐ บาท ๒ ห้องเรยี นพเิ ศษ MEP (Mini English Program) - ระดับกอ่ นประถมศึกษาถงึ มัธยมศึกษาตอนต้น ไม่เกนิ ๑๗,๕๐๐ บาท - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท ๓ ห้องเรยี นพเิ ศษด้านภาษาต่างประเทศดา้ นวชิ าการ เท่าท่จี า่ ยจริง ตามความจาเป็นและเหมาะสม และดา้ นอน่ื ๆ (เชน่ หอ้ งเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ กับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของทอ้ งถน่ิ ยกเวน้ คา่ ใช้จ่ายหอ้ งเรียนพิเศษ ด้านภาษาองั กฤษ หอ้ งเรยี นพเิ ศษคณติ ศาสตร์ เป็นตน้ ) ใหเ้ กบ็ ได้ไม่เกนิ ครึ่งหน่ึงของห้องเรียน MEP การเปิดห้องเรียนพิเศษต้องได้รับอนุมัติจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือ สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา แล้วแต่กรณี ค. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถของนักเรียน ท่ีนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้ตามความสมัครใจ ของผปู้ กครองและนักเรียน โดยไมร่ อนสทิ ธ์ินักเรียนท่ดี อ้ ยโอกาส ดังน้ี ที่ รายการ อตั ราการเกบ็ / คน / ภาคเรยี น ๑ โครงการพัฒนาทักษะตามความถนัด เท่าท่ีจา่ ยจริง ตามความจาเป็นและเหมาะสมกับสภาพ ของนักเรียนนอกเวลาเรียน ฐานะทางเศรษฐกิจของทอ้ งถ่ินทุกรายการรวมกันไมเ่ กิน ๑,๒๕๐ บาทต่อภาคเรียน ๒ ค่าจา้ งครูชาวต่างประเทศ ๓ คา่ ตอบแทนวทิ ยากรภายนอก ๔ ค่าเรยี นปรับพนื้ ฐานความรู้

69 ง. สถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนเสริมเพ่ิมเติมให้กับนักเรียนนอกเหนือจากเกณฑ์มาตรฐาน ทวั่ ไป ที่ได้งบประมาณจากรัฐ อาจขอรบั การสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายได้เท่าทจ่ี ่ายจรงิ โดยประหยดั ตามความจาเป็น และเหมาะสมกบั สภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของท้องถ่ินตามความสมัครใจของผ้ปู กครองและนักเรยี น ดงั น้ี ๑. คา่ จา้ งครูทม่ี คี วามเช่ียวชาญในสาขาเฉพาะ ๒. คา่ สาธารณปู โภคสาหรบั หอ้ งเรียนปรับอากาศ ๓. ค่าสอนคอมพิวเตอร์ กรณีโรงเรียนจัดคอมพิวเตอร์ให้นักเรียนเกินมาตรฐานท่ีรัฐจัดให้ (๑ เคร่อื ง : นักเรยี น ๒๐ คน) ๔. ค่าใช้จ่ายในการจัดร่วมโครงการ โครงงาน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเกินมาตรฐาน ทรี่ ัฐจัดให้ ๕. ค่าใชจ้ ่ายในการไปทศั นศกึ ษาตามแหลง่ เรยี นรขู้ องนักเรยี นเกนิ มาตรฐานที่รัฐจัดให้ จ. สถานศึกษาท่ีจัดใหม้ ีการดูแลด้านสวสั ดิการ และสวัสดิภาพนกั เรียน อาจขอรับการสนับสนุน คา่ ใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยดั ตามความจาเป็นและเหมาะสมกบั สภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของท้องถ่ิน ตามความสมัครใจของผปู้ กครองและนักเรียน ดังน้ี ๑. ค่าประกันชีวติ นกั เรียน / ค่าประกนั อุบัตเิ หตนุ ักเรยี น ๒. คา่ จ้างบุคลากรทปี่ ฏบิ ัติงานในสถานศึกษา ๓. คา่ ตรวจสุขภาพนักเรยี นเป็นกรณีพเิ ศษ นอกเหนือจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสุขของรัฐ ๔. คา่ อาหารนักเรยี น ๕. คา่ หอพัก ๖. ค่าซักรีด สาหรับสถานศึกษาท่ีจัดให้นักเรียนอยู่ประจา สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, และ ๖ ได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด ตามความจาเป็นและเหมาะสมกับ สภาพฐานะ ทางเศรษฐกจิ ของทอ้ งถ่ิน ฉ. สถานศึกษาต้องพิจารณาให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้อยโอกาสให้ไดเ้ รียน โดยไม่รอนสิทธิ์ ท่จี ะได้รบั ดงั น้ี ๑. การเรียนกับครูชาวต่างประเทศ หากสถานศึกษามีการจัดให้นักเรียนทุกคน ควรจัดให้ นกั เรยี นดอ้ ยโอกาสไดเ้ รยี นสัปดาหล์ ะไม่น้อยกว่า ๒ ชัว่ โมง ๒. การเรียนการสอนโดยครูที่สถานศึกษาจา้ งหรือโดยวิทยากรภายนอก ๓. คา่ สาธารณปู โภคสาหรบั หอ้ งเรยี นปรบั อากาศ ๔. คา่ ตรวจสขุ ภาพนกั เรียนเปน็ กรณีพเิ ศษ นอกเหนอื จากการใหบ้ ริการสาธารณสุขของรฐั ๕. คา่ เรยี นปรบั พ้นื ฐานความรู้ ๖. ค่าอาหารนักเรียน 7. การเขา้ ร่วมกิจกรรมวิชาการ/คุณธรรม/ชมุ นมุ ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาดและการไปทัศนศกึ ษา ๘. การเรยี น การฝกึ ใชค้ อมพวิ เตอร์ และการใชบ้ ริการอนิ เตอรเ์ นต็ ปลี ะ ๔๐ ช่วั โมง อน่ึง การเก็บเงินบารุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ตามข้อ ข, ค, ง, จ และ ฉ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และได้รับอนุมัติจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาก่อน จึงจะดาเนินการขอรับการสนับสนุนได้โดยให้มี การประกาศประชาสมั พันธใ์ ห้กบั ผ้ปู กครองและนกั เรยี นทราบลว่ งหน้า

70 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง การระดมทรพั ยากรของสถานศึกษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ------------------------------- ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ เห็นกาหนดแนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษา สังกัด สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรเพื่อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานระดมทรัพยากรเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานวิชาการ การบริหาร งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารท่ัวไป โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน และเป็นไปด้วยความสมัครใจภายใต้หลักเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนด ท้ังนี้ ตง้ั แตบ่ ดั นเี้ ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ (นายวรวจั น์ เออ้ื อภิญญกุล) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

71 แนวปฏิบัตกิ ารระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษา สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ---------------------------- ด้วยปัจจุบันการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนประกอบกับ มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ เปิดโอกาสให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุน ดา้ นงบประมาณ การเงินและทรัพย์สิน ท้ังจากรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคลครอบครัว ชุมชนองค์กร ชุมชนเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอ่ืน และต่างประเทศมาใช้จัด การศึกษา ดังนั้น เพื่อให้การระดมทรัพยากรเป็นไปในแนวทางเดียวกัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน จึงกาหนดหลักเกณฑใ์ หส้ ถานศึกษาถอื ปฏบิ ตั ิดังนี้ ๑. สถานศึกษาสามารถระดมทรัพยากรไดต้ ามมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ตลอดปี ๒. การระดมทรพั ยากรตอ้ งเปน็ ไปดว้ ยความสมัครใจตามความเหมาะสมและความจาเปน็ ๓. สถานศึกษาต้องแต่งตั้งคณะกรรมการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมและ ใหแ้ รงจูงใจในการระดมทรพั ยากรจากบุคคลครอบครัว ชุมชนองค์กร ชุมชนเอกชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่นื ๔. สถานศึกษาต้องเสนอแผนและโครงการในการระดมทรัพยากรเพื่อขอความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ๕. การใช้จ่ายทรัพย์สินและทรัพยากรอ่ืนที่ได้รับจากการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาจะต้อง สอดคลอ้ งกบั โครงการที่ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ๖. สถานศึกษาต้องรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการระดมทรัพยากรต่อคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน .........................................................

72 เลม่ 133 ตอนพเิ ศษ 136 ง หน้า 11 15 มถิ นุ ายน 2559 ราชกจิ จานเุ บกษา คาสง่ั หวั หนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๒๘/๒๕๕๙ เรื่อง ใหจ้ ัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ๑๕ ปี โดยไมเ่ ก็บค่าใชจ้ า่ ย ตามที่กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติกาหนดให้รัฐต้องจัดให้บุคคลได้รับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายน้ัน รัฐบาลท่ีผ่านมามีนโยบายจัดการศึกษาดังกล่าว โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายเป็นเวลา ๑๕ ปี ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๒ โดยขออนุมัติ ต้ังงบประมาณเป็นรายปีและขยายขอบเขตการดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลแต่ละคณะมาเป็นลาดับ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่าโดยที่เร่ืองนี้สอดคล้อง กับนโยบายด้านการศึกษา ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และนโยบายปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล ท้ังสามารถลดความเหลื่อมล้า สร้างโอกาสทางการศึกษาและความเป็นธรรมในสังคม แก้ปัญหาความยากจน ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน จึงสมควรยืนยันแนวทางดังกล่าวและ พัฒนาต่อไปด้วยการยกระดับจากการเป็นโครงการตามนโยบายของแต่ละรัฐบาลให้เป็นหน้าที่ของรัฐและ มาตรการตามกฎหมาย เพ่ือเป็นหลักประกันความยั่งยืนมั่นคงและเพื่อให้สามารถจัดงบประมาณสนับสนุนได้ อย่างต่อเนือ่ ง อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมคี าส่งั ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ในคาส่ังนี้ “ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา” หมายความว่า งบประมาณท่ีรัฐจัดสรรให้แก่หรือผ่านทาง สถานศึกษา หรือผู้จัดการศกึ ษาเพ่ือเปน็ ค่าใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ๑๕ ปี “การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๑๕ ปี” หมายความว่า การศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา (อนุบาล) (ถ้าม)ี ระดับประถมศึกษา จนถงึ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ หรือระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช. ๓) หรือ เทยี บเท่า และใหห้ มายความรวมถึงการศกึ ษาพเิ ศษและการศึกษาสงเคราะห์ด้วย “การศึกษาพิเศษ” หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แก่บุคคลซ่ึงมีความผิดปกติ อย่างหนึ่งอย่างใด ซ่ึงจาเป็นต้องจัดการศึกษาให้เป็นรูปแบบโดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการสอน ตามลกั ษณะความตอ้ งการและความจาเป็นของแต่ละบุคคล “การศกึ ษาสงเคราะห์” หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แกเ่ ดก็ ทต่ี กอยู่ในภาวะยากลาบาก หรืออยู่ในสถานภาพท่ีด้อยกว่าเด็กทั่วไป หรือที่มีลักษณะเป็นการกุศล เพื่อให้มีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน มพี ัฒนาการที่ถูกตอ้ งและเหมาะสมกับวัย ข้อ ๒ ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนดเตรียมการเพ่ือจัดให้ เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามสี ว่ นร่วมในการดาเนนิ การด้วย

73 ข้อ ๓ ให้ส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดาเนินการจัดการศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน ๑๕ ปี ใหม้ มี าตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ ่าย ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีกาหนดอัตรา ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาสาหรับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๑๕ ปี เพื่อเสนอตามกระบวนการจัดทางบประมาณ รายจ่ายประจาปี คา่ ใชจ้ ่ายตามวรรคสอง ไดแ้ ก่ (๑) คา่ จดั การเรียนการสอน (๒) ค่าหนงั สอื เรียน (๓) ค่าอุปกรณก์ ารเรียน (๔) คา่ เคร่อื งแบบนกั เรียน (๕) ค่ากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน (๖) คา่ ใชจ้ ่ายอนื่ ตามท่คี ณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ข้อ ๔ ให้กระทรวงศึกษาธิการจัดทาหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวข้องเพ่ือนามาใช้แทนและ ขยายผลตอ่ จากคาสงั่ นีแ้ ลว้ เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในหกเดือนนบั แต่วนั ท่ีคาสง่ั นใ้ี ชบ้ ังคบั ข้อ ๕ ในกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคาส่ังน้ี ให้รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจวนิ จิ ฉัยชขี้ าด ข้อ ๖ ให้อัตราค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีมีผลใช้อยู่ในวันก่อนวันที่คาส่ังนี้ใช้บังคับ ยังคงมีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการกาหนดอัตราค่าใช้จ่าย สาหรบั การจัดการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๑๕ ปี ตามข้อ ๓ ข้อ ๗ คาส่ังน้ีให้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แต่วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป สงั่ ณ วนั ท่ี ๑๕ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๙ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ

74

75 คาสง่ั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ท่ี 58 /2563 เร่ือง แต่งตั้งคณะทางานประชุมจัดทาแนวทางการดาเนินงานและการบริหารงบประมาณการสนับสนุน คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ------------------------------------------- ด้วย สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้ดาเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน กิจกรรมการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 5 รายการ จาแนกตามรายการ ดังน้ี 1) ค่าจัดการเรียนการสอน 2) ค่าหนังสือเรียน 3) ค่าอุปกรณ์การเรี ยน 4) ค่าเครื่องแบบนักเรียน และ 5) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนทุกคน ไดร้ บั การศึกษาตง้ั แต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พื้นฐานท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน เพื่ อให้ กา รบ ริ ห า รงบ ป ระม า ณ กา รส นั บ ส นุ น ค่ า ใช้ จ่ าย ใน กา รจั ด ก า ร ศึก ษ า ข้ัน พ้ื น ฐ า น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้แต่งตั้งคณะทางานจัดทาแนวทางการดาเนินงานและ การบรหิ ารงบประมาณการสนับสนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั นี้ ทีป่ รกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน นายอานาจ วิชยานวุ ัติ คณะทางาน 1. นายสนิท แย้มเกษร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ประธานคณะทางาน 2. นางสาวสกุ ัญญา วอ่ งปรชั ญา ผู้อานวยการกลุ่มงบประมาณ 2 รองประธานคณะทางาน รกั ษาราชการแทนผอู้ านวยการ สานกั นโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 3. ผ้อู านวยการสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา หรอื ผแู้ ทน คณะทางาน 4. ผอู้ านวยการสานกั การคลงั และสนิ ทรพั ย์ หรือผ้แู ทน คณะทางาน 5. ผู้อานวยการสานกั ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน หรือผูแ้ ทน คณะทางาน 6. ผู้อานวยการสานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ หรอื ผ้แู ทน คณะทางาน 7. ผอู้ านวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา หรือผู้แทน คณะทางาน 8. ผ้อู านวยการกล่มุ ตรวจสอบภายใน หรอื ผแู้ ทน คณะทางาน /9.นาย...

76 9. นายพพิ ฒั น์ เพ็ชรพรหมศร ผูอ้ านวยการกลมุ่ นโยบายและแผน คณะทางาน สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 1 10. นางสาวแกว้ ใจ จเิ จรญิ ผู้อานวยการกลมุ่ นโยบายและแผน คณะทางาน สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสมทุ รสงคราม 11. นางสาวลิลิน ทรงผาสุก ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร คณะทางาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 12. นางพัชรกันย์ เมธาอคั รเกียรติ ผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารงานพัสดุ คณะทางาน สานักการคลงั และสนิ ทรัพย์ 13. นางรัตนวภิ า ธรรมโชติ ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาสื่อการเรียนรู้ คณะทางาน สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 14. นายพทิ ักษ์ โสตถยาคม นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการพิเศษ คณะทางาน สานกั งานบริหารพน้ื ทนี่ วัตกรรมการศึกษา 15. นางสาวสอางค์ จงสวสั ด์พิ ัฒนา ผอู้ านวยการกลมุ่ แผนและงบประมาณ คณะทางาน สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ 16. นางสาวนพศร พรมณีพิสมยั นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ คณะทางาน สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ 17. นางสาวสาเภาเงนิ ชาตสิ าราญ นักวิชาการศึกษาชานาญการ คณะทางาน สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ 18. นางภาวิณี แสนทวสี ขุ ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาหลักสูตร คณะทางาน และสง่ เสริมการศกึ ษาปฐมวยั สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 19. นางสาวสมควร เพียรพทิ ักษ์ นักวชิ าการศึกษาชานาญการพิเศษ คณะทางาน สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 20. นางสาวเจตนา พรมประดษิ ฐ์ นักวชิ าการศึกษาชานาญการพิเศษ คณะทางาน สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 21. นายรฏั กร ฟอ้ งเสยี ง นติ กิ รชานาญการพิเศษ คณะทางาน สานกั นติ ิการ 22. นางสาวศรณว์ รัชท์ ทองเก่า นักวิชาการเงินและบัญชีชานาญการ คณะทางาน สานกั การคลงั และสนิ ทรัพย์ 23. ผอู้ านวยการกลมุ่ สารสนเทศ หรอื ผูแ้ ทน คณะทางาน สานักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 24. ผู้อานวยการศนู ย์พฒั นาระบบข้อมลู ทางการศึกษา หรือผู้แทน คณะทางาน สานกั นโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 25. ผู้อานวยการกลมุ่ สง่ เสริมการจัดการศกึ ษา หรอื ผแู้ ทน คณะทางาน สานกั นโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน /26. ผ้อู านวยการ...

77 26. ผ้อู านวยการกลมุ่ วิจยั และพัฒนานโยบาย หรอื ผ้แู ทน คณะทางาน สานกั นโยบายและแผนการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 27. นางสาววภิ าภรณ์ ฤทธ์ิชยั เจา้ พนักงานธรุ การชานาญงาน คณะทางาน สานกั นโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 28. นางสาวจริยา ววิ ฒั นท์ รงชัย พนักงานราชการ คณะทางาน สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ 29. นายจกั รพนั ธ์ อัมรนนั ท์ พนักงานธุรการ คณะทางาน สานักนโยบายและแผนการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 30. นางเบญจวรรณ ดวงใจ ผ้อู านวยการกลุ่มงบประมาณ 1 คณะทางานและเลขานุการ สานักนโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 31. นางสาวดาราวรรณ ผ้งึ ปฐมภรณ์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั ิการ คณะทางานและผู้ชว่ ยเลขานุการ สานกั นโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 32. นางสาวกรชนก เขื่อนเพชร นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏิบตั ิการ คณะทางานและผชู้ ว่ ยเลขานุการ สานกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 33. นางสาวปพิชญา พุฒนา นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร คณะทางานและผู้ช่วยเลขานกุ าร สานักนโยบายและแผนการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 34. นายชาญณรงค์ มงคลศิวกุล นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัติการ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ สานักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยให้คณะทางานมหี น้าที่ ๑. เสนอผลการดาเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63 เพอ่ื ทราบปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไขในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63 ๒. ระดมความคิดเห็นและจัดทาร่างแนวทางการดาเนินงานและการบริหารงบประมาณการ สนับสนุน คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕63 ๓. จัดทาแนวทางการดาเนินงานและการบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัด การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63 ทั้งน้ี ตง้ั แตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป ส่ัง ณ วันที่ 10 เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕63 (นายสนิท แยม้ เกษร) รองเลขาธกิ าร ปฏิบัตริ าชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

78 ศูนย์ประสานงาน ภาพรวมของโครงการ/การจดั สรรงบประมาณ สานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕1 ,0-๒๒๘0-๕๕1๒ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๕๕๑๕ หนงั สอื เรยี น สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๕ , ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๖ การจดั ซ้ือจัดจา้ ง สานักการคลงั และสนิ ทรัพย์ โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๕๒๔, 0-๒๒๘๘-๕๕22 เปิดดบู ัญชีจัดสรรได้จาก http://plan.bopp-obec.info/ รายงานข้อมลู จานวนนักเรียน https://bopp-obec.info/ เปิดดแู นวทางการจัดซ้ือหนงั สือเรยี นได้จาก http://academic.obec.go.th และ http://academic.obec.go.th/textbook/web/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook