การพัฒนาทกั ษะดา้ นการเขยี นโปรแกรมของนักศึกษาระดับชนั้ ปวส. 1 สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ โดยใช้การเสรมิ แรงจงู ใจในการปฏิบตั ิ โดย นางสาวอุดมลักษณ์ สวุ รรณัง ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเพชรบรุ ี
เรอ่ื งรายงาน : การพัฒนาทักษะดา้ นการเขียนโปรแกรมของนักศกึ ษาระดับชั้นปวส. 1 สาขาวิชาผู้รายงาน คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจโดยใช้การเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติปีท่รี ายงาน : นางสาวอดุ มลักษณ์ สุวรรณงั : พ.ศ. 2560 บทคดั ยอ่การศึกษาคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาระดับช้นั ปวส. 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเพชรบุรี กลมุ่ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการศึกษาคือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ชั้นปีท่ี 1 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเพชรบรุ ี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 มีจานวน 1 ห้องเรียน รวมท้ังสน้ิ 40 คน เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการศกึ ษา คอื ใช้เทคนคิ การปฏบิ ัตจิ รงิ และทฤษฎเี สริมแรง โดยมเี สรมิ แรงทางบวกและเสริมแรงทางลบ เพอ่ื เร้าความสนใจในการเรยี นเพิ่มขน้ึ ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาท่ีผ่านการใช้เทคนิคการปฏิบัติจริงและทฤษฎีเสริมแรง โดยมีเสริมแรงทางบวกและเสริมแรงทางลบ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เปรียบเทียบโปรแกรมคอมพิวเตอร์กอ่ นใช้เทคนคิ การปฏบิ ัตจิ ริงและหลังใช้ทฤษฎีเสริมแรงของนกั ศึกษาระดับชั้น ปวส. 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ พบว่านักศึกษามคี วามสนใจในการเรยี นเพมิ่ ข้นึ มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
บทที่ 1 บทนาความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดบั ชัน้ ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชั้นสูง สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 รายวิชาดงั กล่าวเป็นรายวชิ าท่ีต้องศกึ ษาภาคทฤษฏแี ละภาคปฏิบัตินกั ศึกษาท่ีศึกษารายวชิ าดังกล่าวต้องศึกษาเนื้อหาด้านความรู้และทักษะการเขยี นโปรแกรมเก่ยี วกบั การแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอาชพี ประยุกตค์ วามรู้ ทักษะ มีประสบการณ์และเทคโนโลยีเพื่อสง่ เสริมและพัฒนางานอาชีพ ใชเ้ คร่ืองมือสร้างและพัฒนาโปรแกรมงานด้านธุรกิจ เพ่ือนาความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ภาคปฏิบัติดา้ นการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นแนวทางในการประยุกต์ในอาชีพหรืองานท่ีรับมอบหมาย เป็นการเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการเป็นนักเขียนโปรแกรม เพ่ือประยุกต์งานท้ังด้านธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร หรอื ธุรกิจบริการ เจา้ ของกจิ การ เพื่อประยุกต์การเขยี นโปรแกรมพัฒนาระบบงานเพ่ือการบรหิ ารจดั การ การธุรกิจทีก่ าลังดาเนินอยู่ เพ่อื นามาพัฒนาธรุ กิจให้นาเทคโนโลยใี หม่ๆมาปรบั ใช้ในการดาเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปล่ยี นแปลงทเ่ี กิดขึน้ ในปจั จุบันและในอนาคต ปจั จุบันนักศึกษาส่วนใหญ่ในระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพชั้นสูง ขาดความสนใจในการเรียน ให้ความสนใจกบั ส่ือออนไลนท์ ี่ไม่มุ่งเน้นการทักษะการเขยี นโปรแกรมซ่งึ เป็นเทคโนโลยสี มยั ใหม่และจะทาให้ตนเองสามารถประกอบอาชีพได้ ท้ังขาดความสนใจในรายวชิ าที่ทาการศกึ ษา ไม่สามารถเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เมื่อจบการศึกษาออกไปส่งผลให้คุณภาพและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา ไม่เป็นท่ีน่าพอใจกับตลาดแรงงาน จากทีก่ ลา่ วมาขา้ งต้นจะเหน็ ได้วา่ วชิ าการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นการฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมเพือ่ การประยุกต์ในการปฏิบัตงิ านจริง ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นจะเป็นเคร่ืองบ่งชี้ความล้มเหลวหรือความสาเร็จในการประกอบอาชพี ดงั นั้นผวู้ ิจัยจึงทาการศึกษาวิธกี ารพัฒนาความสนใจในการเรยี นวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สงู ปีที่ 1 สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเพชรบุรี โดยใช้เทคนิคการปฏบิ ัติจริง และเทคนคิ การเสริมแรง เพอ่ื นาผลท่ีไดร้ ับไป ปรับปรุงและปอ้ งกนั ปญั หาทาใหผ้ ู้เรียนมคี วามสนใจเรียนมากขึน้ ซงึ่ จะเป็นการกระตุ้นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนตามมาดว้ ยและยังเป็นแนวทางหนงึ่ ในการแกป้ ัญหาคุณภาพของนักศกึ ษาระดับอุดมศึกษาท่เี ปน็ ปญั หาสาคญั มากทีส่ ุดในขณะนี้ จากการศกึ ษาทผ่ี า่ นมานกั ศกึ ษาระดบั อาชวี ศึกษาสว่ นใหญ่ ไมเ่ ข้าใจและสนใจในการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ไม่เข้าใจโครงสรา้ งของภาษา คาสง่ั และการประยุกตใ์ ชง้ านโปรแกรม ทีน่ ามาเปน็ สว่ นของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ครผู ู้สอนจงึ เกิดความสนใจที่จะพัฒนาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ด้วยการเสรมิ แรงแรงบวกกระตุ้นให้เกดิ ความสนใจการเรยี นรู้ และเสรมิ แรงลบเพ่อื ให้เกิดความตระหนกั ในรายวชิ า เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพนักศึกษาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์และนาความร้ทู ีไ่ ด้รบั ไปปรบั ใช้ในการประยุกตก์ ารเขยี นโปรแกรมทงั้ ในปัจจุบันและอนาคตวตั ถุประสงค์ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะด้านการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ของนกั ศึกษาระดับชนั้ ปวส.1 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเพชรบรุ ี
วิธีดาเนินการวิจยั ใช้เทคนคิ การปฏบิ ัติจริงและทฤษฎีเสรมิ แรง โดยมีเสริมแรงทางบวกและเสริมแรงทางลบ เพอ่ื เร้าความสนใจในการเรียนเพิ่มข้ึนขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากร นักศกึ ษาระดับชั้น ปวส.1 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเพชรบุรี กลมุ่ ตัวอย่าง นกั ศึกษาระดบั ชัน้ ปวส.1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเพชรบุรี จานวน 40 คนวิธีการรวบรวมข้อมลู การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้วจิ ยั เก็บรวบรวมขอ้ มูล นักศกึ ษาระดับช้ัน ปวส .1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ จานวน 40 คน วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเพชรบรุ ี โดยวธิ ีใช้ทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจกอ่ นการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์วธิ ีวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะหข์ ้อมูลจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการเปรยี บเทียบโปรแกรมคอมพิวเตอร์กอ่ นใช้เทคนิคการปฏิบัตจิ รงิ และหลงั ใช้ทฤษฎเี สรมิ แรงของนักศึกษาระดับช้ัน ปวส. 1 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจประโยชน์ของการวจิ ยั 1. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นาความสามารถดา้ นการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อเป็นข้อมลู ในการจดั การเรยี นการสอนครั้งต่อไปนิยามศัพท์ 1. นักศึกษา หมายถึง ผเู้ รียนระดับชัน้ ปวส.1 สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเพชรบรุ ี 2. เทคนิคการเสริมแรง หมายถึง วธิ กี ารท่ีครูนามาใชเ้ พื่อกระตุ้นให้นักศึกษาแสดงพฤติกรรมทพ่ี งึประสงค์ โดยแบ่งออกตามลักษณะของเง่อื นไขเป็น 2 ประเภทคอื 2.1. การเสรมิ แรงทางบวก เป็นการให้สิง่ ที่จะชว่ ยเพิม่ แนวโนม้ ของการตอบสนองและมกั จะเปน็การใหส้ ิ่งดีๆ ด้วยการบวกคะแนนเพมิ่ ใหก้ ับนกั ศึกษาครั้งละ 5 คะแนนเมอ่ื นกั ศึกษาเขียนโปรแกรมเสร็จตามระยะเวลากาหนดโดยท่โี ปรแกรมเสรจ็ สมบูรณ์ ถูกตอ้ ง 2.2. การเสรมิ แรงทางลบ เปน็ การนาสงิ่ ทีไ่ ม่พอใจหรือไม่ชอบออกไปด้วยการหักคะแนนสาหรบันกั ศกึ ษาที่สง่ งานไม่ทนั เวลากาหนด ครั้งละ 5 คะแนน 3. พัฒนาทักษะ หมายถึง การปรับปรุงการเรยี นรโู้ ดยใช้เทคนิคการปฏบิ ัติจรงิ และทฤษฎเี สริมแรง เพอ่ืพฒั นาความสนใจด้านการเรยี นวิชาการเป็นผู้ประกอบการ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อใหผ้ ้เู รียนเกดิความสนใจและตัง้ ใจในการเรียน การสอน 4. ความสนใจเรยี น หมายถึง ผลการสังเกตพฤตกิ รรมและการทดสอบในระหว่างเรียนวา่ นักศกึ ษามีความต้งั ใจในการเขียนโปรแกรมและสง่ งานทันเวลาในหอ้ งเรียน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ในการศกึ ษาวิจัยคร้ังน้ี ผวู้ ิจัยไดค้ น้ คว้าเอกสารและงานวิจัยทเี่ กีย่ วขอ้ ง เพ่อื ใชป้ ระกอบการศึกษา ซ่งึจะนาเสนอตามหัวขอ้ ดังนี้ 1. หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สงู พทุ ธศกั ราช 2557 2. กรอบความคิดทางทฤษฎี 3. งานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู พุทธศักราช2557 หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สูง พุทธศักราช 2557 มีหลกั การดังน้ี 1.1 จดุ ประสงค์สาขาวิชา 1. เพื่อให้สามารถประยุกตใ์ ชค้ วามรู้และทกั ษะดา้ นการสือ่ สาร ทกั ษะการคิดและการแก้ปญั หาและทกั ษะทางสงั คมและการดารงชีวิตในการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี 2. เพื่อใหม้ คี วามเขา้ ใจหลกั การบริหารและจดั การวชิ าชพี การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและหลักของงานอาชพี ทสี่ ัมพนั ธ์เกีย่ วข้องกับการพัฒนาวิชาชพี คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ใหท้ นั ต่อการเปลย่ี นแปลงและความก้าวหนา้ ของเศรษฐกจิ สงั คมและเทคโนโลยี 3. เพอื่ ใหม้ ีความเข้าใจในหลกั การและกระบวนการทางานในกลุ่มงานพนื้ ฐานดา้ นคอมพิวเตอร์ธุรกจิ 4. เพอ่ื ใหส้ ามารถประยกุ ต์ใช้สารสนเทศในการปฏบิ ัติงานทางธุรกิจ 5. เพอ่ื ให้สามารถปฏิบัตงิ าน แก้ปัญหาและใหค้ าแนะนาด้านสารสนเทศในธุรกิจ 6. เพื่อใหส้ ามารถปฏบิ ัติงานดา้ นคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ในสถานประกอบการและประกอบอาชีพอิสระ รวมท้ังใชค้ วามรู้และทักษะเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาตอ่ ในระดับสูงข้ึนได้ 7. เพอ่ื ให้มีเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชีพ มีความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ ซอ่ื สัตย์สุจริต มีระเบยี บวินยัเป็นผมู้ คี วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพติด 1.2 มาตรฐานการศกึ ษาวชิ าชพี คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาระดบั คณุ วุฒิการศกึ ษาประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสูง ประเภทวิชาบรหิ ารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ประกอบดว้ ย 1. ดา้ นคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ไดแ้ ก่ 1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เช่น ความเสยี สละ ซ่ือสัตยส์ จุ รติ กตัญญูกตเวที อดกลั้น ละเว้นส่ิงเสพติดและการพนัน มจี ติ สานึกและเจตคตทิ ่ีดตี ่อวชิ าชพี และสงั คม เป็นต้น 1.2 ด้านพฤตกิ รรมลักษณะนิสยั เชน่ ความมีวนิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ ความรักสามคั คี มีมนุษยสมั พันธ์ เช่ือมนั่ ในตนเอง ขยัน ประหยดั อดทน พึ่งตนเอง ปฏิบตั งิ านโดยคานึงถงึ ความปลอดภยั อาชวี อนามัยการอนุรักษพ์ ลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม เปน็ ต้น 1.3 ด้านทกั ษะทางปญั ญา เชน่ ความรใู้ นหลกั ทฤษฎี ความสนใจใฝ่รู้ ความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ เป็นตน้ 2. ดา้ นสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ 2.1 สอ่ื สารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในชวี ิตประจาวันและเพือ่ พัฒนางานอาชพี
2.2 แกไ้ ขปัญหาและพฒั นางานอาชีพโดยใชห้ ลกั การและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 2.3 มีบุคลกิ ภาพและคณุ ลักษณะเหมาสมกับการปฏิบัติงานอาชีพและการอยู่รว่ มกับผู้อ่ืน 2.4 ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ทักษะ ประสบการณแ์ ละเทคโนโลยีเพอ่ื ส่งเสริมและพัฒนางานอาชีพ 3. ดา้ นสมรรถนะวิชาชพี ไดแ้ ก่ 3.1 วางแผน ดาเนินงาน จัดการและพฒั นางานอาชีพตามหลกั การและกระบวนการโดยคานึงถงึ การบรหิ ารงานคุณภาพ การอนุรักษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมและหลักความปลอดภัย 3.2 ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพอ่ื พฒั นางานอาชีพ 3.3 แสดงความรูเ้ กี่ยวกับกระบวนการทางธรุ กจิ 3.4 ใชเ้ ครอ่ื งมือสร้างและพัฒนาโปรแกรมงานดา้ นธุรกิจ 3.5 ประยุกตใ์ ช้สารสนเทศในงานธรุ กิจ 3.6 ให้คาแนะนาและแก้ไขปญั หาเกี่ยวกับการใชค้ อมพิวเตอร์ในสานักงาน2 .กรอบความคดิ ทางทฤษฎี 2.1 ทฤษฏีเสริมแรงจงู ใจ (Reinforcement theories of motivation) ทฤษฏีเสรมิ แรงจูงใจ เป็นแนวคิดการจูงใจของ B.F. Skinner แนวความคดิ ของเขาเชอ่ื ว่าพฤตกิ รรมทไ่ี ด้รบั การเสรมิ แรงจะเกิดขึ้นซา้ ๆ กนั แต่พฤติกรรมทีไ่ มไ่ ดร้ บั การเสริมแรงจะไมเ่ กิดขึ้นซา้ ๆ อกีและผลท่เี กดิ ขน้ึ ภายหลังพฤติกรรมของบุคคลใดบุคคลหนง่ึ จะเป็นส่งิ กาหนดระดบั แรงจูงใจของเขา ซง้ึ เกดิการเรยี นรู้จากประสบการณ์ในอดีต B.F. Skinner นักจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัย Harvard ไดพ้ ฒั นาทฤษฏีน้ี และไดน้ ามาใชเ้ ปน็ เทคนิคในการจงู ใจในที่กอ่ ใหเ้ กดิ ข้ึนกอ่ น (Antecedent) พฤติกรรม (Behavior) ผลทไี่ ด้รบั (Consequence) ซึง้ เขาเรียกย่อๆ ว่า A-B-C โดยทั้ง 3 จะดาเนินการตอ่ เนอื่ งกนั ไป ผลท่ีไดร้ บั จะกลบั กลายเปน็ ส่งิ ท่ีก่อให้เกิดขึ้นกอ่ นอันนาไปสผู่ ลทไี่ ดร้ บั ตามลาดบั ตัวเสรมิ แรงมี 4 กรณี คือตารางที่ 1 เปรยี บเทียบการเสรมิ แรงทางบวก การเสริมแรงทางลบและการลงโทษ ชนดิ ผลตัวอย่าง การเสรมิ แรงทางบวก พฤตกิ รรมเพ่ิมข้นึ เมื่อสงิ่ เรา้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ เป็นสิ่งเร้าท่ีบุคคลนน้ั ต้องการผเู้ รยี นที่ทาการบา้ นส่งตรงเวลาแลว้ ไดร้ บั คาชม จะทาการบา้ นสง่ ตรงเวลาสม่าเสมอ การเสริมแรงทางลบ พฤตกิ รรมเพ่มิ ข้นึ เมอ่ื ส่ิงเรา้ ที่ไมเ่ ป็นท่ีพงึ ปรารถนาถูกทาใหล้ ดน้อยหรือหมดไปผู้เรยี นทีท่ ารายงานส่งตามกาหนดเวลาจะไมเ่ กิดความวติ กอีกต่อไป ดงั นั้นในคร้ังต่อไปเขากจ็ ะรีบทารายงานใหเ้ สรจ็ ตามเวลา การเรียนรู้ด้วยการหลีกเล่ียง (Avoidance learning) หรือการเสริมแรงด้านลบ (Negativereinforcement) เปน็ การเรียนรู้ถึงวิธกี ารปฏิบัติเพ่ือหลีกเลยี่ งผลลัพธท์ ่ีไม่น่าพึงพอใจเน่อื งจากกลัวผลร้ายทีจ่ ะไดร้ ับ เช่น ลกู นอ้ งทางานเสรจ็ ตามกาหนดเพราะไม่ต้องการถกู เจ้านายตาหนิวา่ ทางานลา่ ช้า ดังนัน้ การเรียนรู้ด้วยการหลีกเล่ียงปัญหาจะเกิดจากการท่ีบุคคลต้องการหลีกเล่ียงผลลัพธ์ที่ไม่น่าพึงพอใจ จึงมีพฤติกรรมที่ไม่ทาให้เกิดผลลัพธ์น้ันการวิจัยเรื่องแรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาการบริหารการตลาด ของนักศึกษาระดบั ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปีท่ี 2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี ผูว้ ิจัยไดศ้ กึ ษางานวจิ ยั แนวคิดทฤษฏเี ก่ียวกับแรงจงู ใจใฝส่ ัมฤทธิ์
การทาให้หมดไป (Extinction) หมายถงึ การเลิกให้รางวัลเพอ่ื จุดมุง่ หมายในการยบั ยั้งพฤตกิ รรมอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ในอนาคต เป็นการลดการเสรมิ แรงที่มีผลด้านบวกซ่งึ เกย่ี วข้องกบั พฤตกิ รรม หรอื เปน็ การปราบพฤติกรรมบางอย่างโดยลดการเสริมแรงเกี่ยวกับการกระทาเช่น ผู้บริหารซ้ึงต้องการให้พนักงานทางานล่วงหนา้ เวลาหรือทางานในวันหยดุ วธิ นี ี้จะไม่กระตุน้ ให้พนักงานมพี ฤติกรรมตอ่ เน่ือง การลงโทษ (Punishment) หมายถึงการปรับพฤติกรรมซึ้งเก่ียวข้องภายใต้เง่ือนไขที่ว่าผลท่ีตามมาดา้ นลบจะชว่ ยลดหรอื ยับยงั้ พฤติกรรม เปน็ การลดพฤตกิ รรมเน่อื งจากได้รบั ผลลพั ธ์ทีไ่ ม่น่าพึงพอใจแม้ว่ารางวลั จะเป็นวธิ กี ารทมี่ ีอทิ ธิพลในการกาหนดพฤติกรรมสว่ นตัวเขา้ มาแทน เช่น การว่ากล่าวตักเตอื นการลดอานาจ เป็นตน้ 2.2 แนวคดิ ทฤษฎเี กี่ยวกบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 1. ความหมายผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน การศกึ ษาเก่ียวกับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นได้มผี ูศ้ ึกษาและใหค้ วามหมายดงั นี้ กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ(2515:4)ได้ให้ความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นไว้ 2 ประการดังน้ี 1.ความรู้ทไี่ ดร้ บั หรือทกั ษะทเ่ี จริญข้ึน โดยการเรยี นวิชาตา่ งๆในโรงเรยี นตามปกติ พิจารณาจากคะแนนสอบหรือผลงานที่ครกู าหนดใหท้ า 2. ผลหรอื ผลงานที่นกั เรียนไดจ้ ากวิชาสามญั เช่นคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ ซง่ึ ตรงข้ามกับทกั ษะที่ได้จากการฝมี อื และวิชาพละศึกษา ไพศาล หวังพาณชิ (2526:80)ได้ให้ความหมายว่า หมายถงึ คุณลกั ษณะและความสามารถของบุคคลอนั เกิดจากการเรียน การสอน เปน็ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์การเรยี นรู้ทเี่ กิดจากการฝึกฝน อบรมหรือจากการสอน ได้แก่ ความจา ความเข้าใจ การวเิ คราะห์ การนาไปใช้ การสังเคราะห์ และการประเมนิ คา่ จากแนวคิดและทฤษฎีดงั กล่าวข้างต้นที่กลา่ วมาน้ี อาจสรปุ ได้ว่าผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน หมายถึงสง่ิท่ีเกิดจากการเรยี นรู้ ฝึกฝน ในวิชาต่างๆท่ไี ดเ้ รียนมาแลว้ ซ่งึ ผลสมั ฤทธด์ิ งั กล่าวได้มาจากแบบทดสอบวัดผลทอี่ าจารย์ผู้สอนได้จัดทาขนึ้ 2.การวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนการวดั และการประเมนิ ผลการศกึ ษา เปน็ กระบวนการทม่ี คี วามสัมพนั ธ์กบั ระบบการศกึ ษาเป็นอย่างมากซ่งึ จะทา ใหท้ ราบขอ้ เทจ็ จรงิ ว่าผเู้ รยี นไดร้ ับผลการเรยี นรมู้ ากน้อยเพยี งใดและมีผใู้ หค้ วามหมายดังนี้ กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร(2523:24) ได้กล่าวถึงการประเมินผลการเรียนของผูเ้ รยี นท้งั ดา้ นปฏบิ ตั ิและเนอ้ื หาถือวา่ เป็นการประเมินผลการเรียนของผเู้ รยี นว่าอยรู่ ะดับสูง กลาง ตา่ ซ่ึงไดแ้ บง่ ออกเปน็3 ระดบั คือ 1. คะแนน0.00-1.99 ถอื วา่ อยใู่ นเกณฑต์ า่ 2.คะแนน 2.00-2.99 ถือว่าผลการเรยี นอยู่ในระดบั กลาง 3. คะแนน 3.00-4.00 ถือว่าผลการเรยี นอยู่ในระดบั สงู กฤษฎา บุญวฒั น์ (2541 : 14)ได้ให้ความหมายการวดั ผลวา่ เปน็ กระบวนการในการกาหนดตวั เลขใหก้ ับแตล่ ะหนว่ ยของชุดวตั ถหุ รือกลุ่มบุคคลเพอื่ ชีใ้ หเ้ หน็ ถึงความแตกตา่ งกัน และได้ให้ความหมายของการประเมินผลวา่ เปน็ การตัดสินความสามารถซ่งึ ให้คะแนนการวัดผลมาเป็นเคร่ืองพจิ ารณาประกอบการตัดสินใจเพมิ่ เตมิ นอกเหนอื จากการให้คะแนนเช่น ความรู้ทีม่ ตี ่อส่งิ นั้นเป็นตน้3. ผลงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง สาหรับผลงานวิจยั ท่เี กยี่ วข้องและนามาเปน็ กรณีศึกษาสาหรบั การใชใ้ นการทาวิจัยเรื่องการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ของนักศกึ ษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ขน้ั สงู ปีที่ 1 โดยการใช้เทคนิคการเสรมิ แรง น้ันผู้วจิ ยั ไดน้ าผลงานวิจัยที่เก่ยี วขอ้ งมาศกึ ษาดังนี้
ดร. ศริ วิ รรณ ตันตระวาณิชย์ (2005) ได้ศึกษาผลของแรงจงู ใจและแรงเสริมต่อพฤติกรรมการสนใจเรยี นวชิ าความน่าจะเป็นและสถิติ (ST 2003) โดย พบว่าปญั หานักศึกษาสว่ นใหญ่ มพี ฤตกิ รรมไม่สนใจเรียน ขาดเรยี นคอ่ นขา้ งบอ่ ย เข้าหอ้ งเรียนไม่ตรงเวลา เล่นโทรศพั ทม์ ือถอื ไมส่ นใจที่ซกั ถามหรอื ตอบคาถามของผู้สอน มกั มองออกไปนอกหอ้ งขณะเรียน ไม่ค่อยสนใจการเรยี น-การสอน เมอื่ ทดสอบยอ่ ยความรู้บทท่ี 1 เร่อื งการประเมินบทบาทท่สี าคัญของการตลาด พบว่านกั ศึกษาได้คะแนนต่ากว่าครึ่งหนง่ึของคะแนนสอบทง้ั หมดเกิน 60% ของจานวนผเู้ รยี นทัง้ หมด ผสู้ อนจึงคดิ ว่าควรจะปรบั ปรงุ พฤติกรรมการสนใจเรียนของนกั ศึกษาให้มากข้นึ โดยการสร้างแรงจูงใจและแรงเสริม ซึง่ การให้แรงจงู ใจและแรงเสรมิ เหล่าน้ีจะเป็นการให้ในส่ิงที่นักศกึ ษาตอ้ งการ ทงั้ นี้แรงจูงใจและแรงเสริมดังกล่าวน้ันไดม้ าจากข้อตกลงรว่ มกันของนักศึกษาทั้งหมดทีล่ งทะเบียนเรยี นวิชาน้ีน้ีกบั ผู้สอน โดยคานงึ ถึงมาตรฐานทางการศกึ ษาและผลสัมฤทธ์ขิ องการศึกษาเป็นสาคัญ
บทที่ 3วธิ กี ารดาเนินการวิจัยการวิจัยครั้งน้ีเพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส. 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้เทคนิคการปฏิบัติจริงและทฤษฎีเสริมแรง ของนักศึกษาระดับปวส.1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเพชรบุรี ผู้วิจัยไดด้ าเนินการศึกษาค้นคว้าตามขน้ั ตอนดังน้ี 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง 2. เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 5. สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง วิทยาลยั อาชีวศึกษาเพชรบรุ ี ประชากร วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเพชรบรุ ี นกั ศกึ ษาระดับชนั้ ปวส. 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ กลุ่มตัวอยา่ ง นกั ศึกษาระดับชนั้ ปวส. 1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจจานวน 34 คน 2. เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวิจยั คอื แผนการสอนทมี่ ีการใช้รปู แบบของเทคนคิ การเสรมิ แรงแบบ การเสริมแรงทางบวก และแบบการเสรมิ แรงทางลบ เพ่อื ใชใ้ นการศกึ ษารปู แบบของเทคนคิ การเสรมิ แรงทมี่ ีความสัมพนั ธ์กับความสนใจในวชิ าการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 มีรปู แบบการเสริมแรงที่ผู้วิจัยได้ทาการพฒั นาข้ึนประกอบด้วย 2 รูปแบบดังนี้ รูปแบบที่ 1 การเสริมแรงทางบวก จะเปน็ การเพิ่ม 5 คะแนนใหก้ ับผ้ทู ีส่ ามารถเขยี นโปรแกรมตามโจทยใ์ นเวลาท่ีกาหนด รปู แบบท่ี 2 การเสริมแรงทางลบ จะเป็นการหกั 5 คะแนนใหก้ ับผทู้ ี่ไม่สามารถเขยี นโปรแกรมตามโจทยใ์ นเวลาท่ีกาหนด 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล การเปรยี บเทยี บคะแนนจากแบบทดสอบก่อน-หลงั ใชท้ ฤษฎีเสรมิ แรง ของนกั ศกึ ษาระดบั ชน้ัปวส. 1 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเพชรบรุ ี 4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู วเิ คราะหค์ ะแนนจากแบบประเมินการเขียนโปรแกรมของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเพชรบุรี
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การศึกษาวจิ ัยคร้ังนี้เป็นการศึกษาการพฒั นาทักษะด้านการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของนกั ศึกษาระดบั ช้ัน ปวส. 1 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเพชรบรุ ี โดยใช้ทฤษฎีเสริมแรง ผู้วิจัย นาคะแนนจากก ารประ เมินแ บบ ฝึก ทัก ษะก ารเขีย นโปรแ กรม ของนักศึกษามา เป รียบ เทีย บระหว่างกอ่ นใช้ทฤษฎเี สรมิ แรงและหลังใช้ทฤษฎีเสริมแรงดังนี้เลขที่ คะแนนก่อนใชท้ ฤษฎี คะแนนหลังใชท้ ฤษฎี คะแนนเสริมแรง รวมคะแนน เสริมแรง เสรมิ แรง บวก หลงั ใช้ทฤษฎี (คะแนนเต็ม 10) (คะแนนเตม็ 10) +5 เสรมิ แรง 14 7 (คะแนนเตม็ 15) 25 8 33 10 3 44 6 55 +5 3 7 63 +5 7 7 72 10 +5 2 83 8 +5 2 94 7 +5 4 10 5 10 11 4 6 +5 8 12 6 7 +5 5 13 4 10 14 5 9 +5 3 15 4 8 16 3 6 +5 5 17 4 7 +5 2 18 5 7 +5 1 +5 6 +5 4 +5 4 +5 3 +5 3 +5 2
เลขท่ี คะแนนก่อนใช้ทฤษฎี คะแนนหลงั ใชท้ ฤษฎี คะแนน รวมคะแนนเสรมิ แรง เสรมิ แรง เสรมิ แรงบวก หลังใช้ทฤษฎี(คะแนนเตม็ 10) (คะแนนเต็ม 10) เสริมแรง (คะแนนเตม็ 15)19 4 7 +5 320 6 7 +5 121 5 10 +5 522 6 7 +5 123 6 8 +5 224 5 7 +5 225 4 7 +5 326 4 7 +5 327 3 6 +5 328 4 7 +5 329 5 8 +5 330 4 8 +5 431 3 6 +5 332 4 7 +5 333 5 7 +5 234 4 7 +5 335 3 8 +5 536 4 7 +5 337 5 10 +5 538 4 6 +5 139 5 7 +2 540 4 7 +3 4 จากการเปรยี บเทยี บคะแนนก่อนและหลงั การพฒั นาทกั ษะด้านการใช้ทฤษฎีเสรมิ แรง ผลปรากฏวา่ ผเู้ รยี นมีความรดู้ ้านเนอ้ื หาเพม่ิ ขึ้นจากเดมิ ทาใหเ้ กิดเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถ ทาใหผ้ ลคะแนนจากแบบทดสอบแผนธุรกจิ หลังใช้ทฤษฎีเสริมแรง สูงขึน้ และสามารถนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเขยี นโปรแกรมและสามารถวิเคราะหแ์ ละแก้ปญั หาประยุกต์ใช้งานได้จริง
บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล ข้อเสนอแนะ การศกึ ษาวจิ ัยคร้ังนี้ เปน็ การศึกษาการพัฒนาทักษะดา้ นการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ของนักศกึ ษาระดบั ช้ัน ปวส. 1 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเพชรบรุ ี โดยมีจดุ ม่งุ หมายในการศึกษาดงั นี้ความมุ่งหมายของการวจิ ัย เพือ่ พัฒนาความสนใจในการเรยี นวิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ของนักศกึ ษา ระดับปวส. 1สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเพชรบรุ ีความสาคัญของการวจิ ัย 1. ผลทีไ่ ด้จากการศกึ ษา เปน็ ข้อมูลใหค้ รผู สู้ อนนาไปพัฒนาความสนใจในการเรียนวิชา การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ของนกั ศกึ ษาระดับชั้น ปวส. 1 สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเพชรบรุ ี 2. เพอ่ื เป็นขอ้ มูลในการจัดการเรียนการสอนในครัง้ ตอ่ ไปกล่มุ เป้าหมาย ประชากรทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั คร้งั น้ี คือ นกั ศกึ ษาระดบั ปวส .1 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ จานวน 40 คนเคร่อื งมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลจากคะแนนแบบทดสอบก่อนใชท้ ฤษฎีเสริมแรง เปรียบเทียบกบั หลังใชท้ ฤษฎีเสรมิ แรงการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การเปรยี บเทียบคะแนนก่อนใชท้ ฤษฎเี สรมิ แรง และหลังใชท้ ฤษฎเี สริมแรง ของนักศึกษา ระดับปวส .1สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรีการอภิปรายผล จากการวิเคราะห์ข้อมลู เก่ียวกับการพฒั นาความสนใจในการเขียนโปรแกรม วิชา การเขียนโปรแกรมของนกั ศกึ ษาระดับ ปวส. 1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเพชรบรุ ี หลงั ใช้ทฤษฎเี สริมแรงนกั ศึกษา จานวน 40 คน มีความสนใจและมคี วามกระตอื รือร้นในการเขียนโปรแกรมใหเ้ สรจ็ ทันเวลาทีก่ าหนดสามารถคิดวิเคราะห์และประยุกตก์ ารเขยี นโปรแกรมกบั งานธุรกจิ ได้มคี ะแนนเพม่ิ ขึน้ สอดคลอ้ งกับคากลา่ วของไพศาล หวังพาณชิ (2526:80) ได้ให้ความหมายว่า หมายถงึ คณุ ลักษณะและความสามารถของบคุ คลอันเกิดจากการเรยี น การสอน เปน็ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมและประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่เี กิดจากการฝึกฝน อบรมหรือจากการสอน ไดแ้ ก่ ความจา ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การนาไปใช้ การสงั เคราะห์ และการประเมินค่าขอ้ เสนอแนะ การใช้ทฤษฎีเสรมิ แรงควรทาในระยะเวลาจากัดกบั การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรข์ นาดเลก็ ๆเพื่อสามารถนามาประเมินค่าให้เกดิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนดขี ้ึน
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: