พลเมอื งดจิ ิทัล (Digital Citizen)
ใบความรู้ พลเมืองดิจทิ ัล (Digital Citizen) ทักษะดจิ ิทัล กา้ วสู่ พลเมอื งในศตวรรษที่ 21 \"ความเป็นพลเมืองดิจิทัล\" ที่ทุกประเทศทั่วโลกคาดหวังให้เกิดข้ึนในประชากรของตน คือ \"พลเมืองผู้ใช้งานสื่อดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์อย่างเข้าใจบรรทัดฐาน ของการปฏิบัติตัวให้ เหมาะสม และมีความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างย่ิงการส่ือสารในยุคดิจิทัลเป็น การสอ่ื สารที่ไร้พรมแดนจาเป็นตอ้ งมคี วามฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ: Digital Intelligence) ค ว า ม ฉ ล า ด ท า ง ดิ จิ ทั ล ( Digital Intelligence Quotient : DQ) คื อ ก ลุ่ ม ข อ ง ความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรบั รู้ ทีจ่ ะทาใหค้ นคนหนง่ึ สามารถเผชิญกับความท้าทายบน เส้นทางของชีวิตในยุคดิจิทัล และสามารถปรับตัวให้เข้ากับชีวิตดิจิทัลได้ ความฉลาดทางดิจิทัล ครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยมท่ีจาเป็นต่อการใช้ชีวิตในฐานะสมาชิกของโลก ออนไลน์ กล่าวอกี นัยหนงึ่ คอื ทักษะการใช้สือ่ และการเขา้ สังคมในโลกออนไลน์ ดงั น้ัน พลเมอื งดจิ ิทัล จึงหมายถึง สมาชิกบนโลกออนไลน์ ทใ่ี ช้เครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต ซ่งึ มคี วามหลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม ดังน้นั พลเมอื งดิจิทลั ทกุ คนจงึ ตอ้ งมี
‘ความเป็นพลเมืองดิจทิ ัล’ ท่มี คี วามฉลาดทางดจิ ิทลั บนพ้ืนฐานของความรับผิดชอบ การมีจรยิ ธรรม การมีสว่ นร่วม ความเห็นอกเหน็ ใจและเคารพผู้อน่ื โดยมุ่งเน้นความเป็นธรรมในสังคม ปฏบิ ตั ิและ รักษาไว้ซงึ่ กฎเกณฑ์ เพือ่ สรา้ งความสมดุลของการอยู่ร่วมกันอยา่ งมีความสุข การเปน็ พลเมืองดิจทิ ลั นั้น มที ักษะสาคญั 8 ประการ ทีค่ วรบ่มเพาะใหเ้ กดิ ขน้ึ กับ พลเมืองดจิ ิทลั ทกุ คนในศตวรรษที่ 21 ดงั น้ี 1. ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ท่ีดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ต้องมี ความสามารถในการสร้างสมดุล บริหารจัดการ รักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเองไว้ให้ได้ ทั้งในส่วนของ โลกออนไลน์และโลกความจริง โดยตอนน้ีประเด็นเร่ืองการสร้างอัตลักษณ์ออนไลน์ถือเป็น ปรากฏการณ์ใหม่ ทีท่ าใหบ้ ุคคลสามารถแสดงออกถงึ ความเป็นตวั ตนตอ่ สังคมภายนอก โดยอาศัยช่อง ทางการส่ือสารผ่านเว็บไซต์เครือข่ายสังคมในการอธิบายรูปแบบใหม่ของการส่ือสารแบบมีปฏิสัมพนั ธ์ ทางอินเทอร์เนต็ ซ่ึงเปน็ การแสดงออกเกีย่ วกบั ตัวตนผ่านเวบ็ ไซตเ์ ครอื ข่ายสังคมตา่ งๆ 2. ทกั ษะในการรักษาขอ้ มลู ส่วนตัว (Privacy Management) ดลุ พินจิ ในการ บรหิ ารจัดการข้อมลู ส่วนตัว โดยเฉพาะการแชรข์ อ้ มูลออนไลน์เพอ่ื ปอ้ งกันความเป็นส่วนตวั ทั้งของ ตนเองและผอู้ ่นื เป็นส่งิ สาคัญท่ีต้องประกอบอย่ใู นพลเมืองดจิ ิทลั ทกุ คน และพวกเขาจะต้องมคี วาม ตระหนักในความเท่าเทียมกนั ทางดิจทิ ัล เคารพในสิทธิของคนทุกคน รวมถงึ ต้องมีวจิ ารณญาณในการ รกั ษาความปลอดภัยของข้อมูลตนเองในสงั คมดิจทิ ลั รวู้ ่าขอ้ มลู ใดควรเผยแพร่ ข้อมลู ใดไมค่ วร เผยแพร่ และต้องจัดการความเส่ียงของขอ้ มลู ของตนในสอ่ื สังคมดจิ ิทลั ได้ด้วย 3. ทกั ษะในการคดิ วิเคราะหม์ ีวิจารณญาณทีด่ ี (Critical Thinking) ความสามารถ ในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างข้อมูลท่ถี กู ต้องและข้อมูลทผ่ี ดิ ข้อมลู ท่ีมีเนือ้ หาดแี ละข้อมลู ทเี่ ข้าขา่ ย อนั ตราย รู้วา่ ขอ้ มลู ลักษณะใดท่ถี กู ส่งผ่านมาทางออนไลนแ์ ล้วควรตง้ั ขอ้ สงสัย หาคาตอบให้ชดั เจน ก่อนเช่ือและนาไปแชร์ ด้วยเหตุน้ี พลเมืองดิจิทัล จึงต้องมีความรคู้ วามสามารถในการเขา้ ถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ และสื่อสารขอ้ มลู ขา่ วสารผ่านเครื่องมอื ดิจทิ ลั ซงึ่ จาเป็นตอ้ งมีความรู้ ดา้ นเทคนคิ เพื่อใชเ้ ครือ่ งมือดิจิทัล เชน่ คอมพวิ เตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต ได้อยา่ งเช่ียวชาญ รวมถงึ มี ทักษะในการรู้คดิ ข้นั สูง เช่น ทกั ษะการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ ทจี่ าเป็นตอ่ การเลอื ก จดั ประเภท วิเคราะห์ ตคี วาม และเข้าใจขอ้ มลู ขา่ วสาร มีความรู้และทักษะในสภาพแวดลอ้ มดจิ ิทลั การร้ดู ิจทิ ลั
โดยม่งุ ใหเ้ ป็นผู้ใช้ท่ดี ี เปน็ ผู้เข้าใจบรบิ ทท่ีดี และเปน็ ผสู้ รา้ งเนื้อหาทางดจิ ทิ ลั ที่ดี ในสภาพแวดลอ้ ม สงั คมดจิ ทิ ลั 4. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการ บริหารเวลากับการใชอ้ ุปกรณ์ยคุ ดิจทิ ัล รวมไปถึงการควบคมุ เพือ่ ให้เกดิ สมดุลระหว่างโลกออนไลน์ และโลกภายนอก นับเป็นอกี หนง่ึ ความสามารถที่บ่งบอกถงึ ความเปน็ พลเมอื งดิจทิ ัล ได้เปน็ อยา่ งดี เพราะเปน็ ท่ีรกู้ นั อยู่แล้วว่าการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีขาดความเหมาะสมยอ่ มสง่ ผลเสียตอ่ สุขภาพ โดยรวม ท้งั ความเครียดตอ่ สขุ ภาพจิตและเป็นสาเหตุก่อให้เกิดความเจบ็ ปว่ ยทางกาย ซึ่งนาไปสูก่ าร สญู เสยี ทรัพยส์ นิ เพอ่ื ใช้รกั ษา และเสยี สุขภาพในระยะยาวโดยรเู้ ท่าไม่ถึงการณ์ 5. ทักษะในการรับมือกับการคกุ คามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) จากขอ้ มูลทางสถติ ิล่าสดุ สถานการณ์ในเรือ่ ง Cyber bullying ในไทย มคี า่ เฉลี่ย การกลน่ั แกลง้ บนโลกออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ ท่ีสงู กว่าค่าเฉลย่ี โลกอยู่ที่ 47% และเกดิ ในรปู แบบท่ี หลากหลาย อาทิ การดา่ ทอกนั ดว้ ยขอ้ ความหยาบคาย การตัดตอ่ ภาพ สร้างขอ้ มลู เท็จ รวมไปถึงการ ตั้งกลุม่ ออนไลน์กีดกนั เพ่อื นออกจากกลมุ่ ฯลฯ ดังนั้น วา่ ท่พี ลเมืองดิจิทลั ทกุ คน จงึ ควรมี ความสามารถในการรบั รแู้ ละรบั มือการคกุ คามข่มขู่บนโลกออนไลน์ได้อยา่ งชาญฉลาด เพอื่ ปอ้ งกัน ตนเองและคนรอบข้างจากการคกุ คามทางโลกออนไลน์ให้ได้ 6. ทักษะในการบริหารจดั การขอ้ มลู ท่ผี ้ใู ชง้ านท้ิงไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) มีรายงานการศึกษาวจิ ัยยืนยนั วา่ คนรนุ่ Baby Boomer คอื กลุ่ม Aging ทีเ่ กดิ ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใช้งานอุปกรณค์ อมพิวเตอร์หรือโทรศพั ท์เคล่อื นท่ีของผ้อู นื่ และเปิดใช้ งาน WiFi สาธารณะ เสรจ็ แลว้ มักจะละเลย ไมล่ บรหัสผา่ นหรือประวัติการใช้งานถงึ 47% ซ่งึ เสีย่ ง มากท่ีจะถูกผู้อื่นสวมสิทธิ ขโมยตัวตนบนโลกออนไลน์ และเข้าถึงข้อมูลสว่ นบุคคลได้อยา่ งง่ายดาย ดงั นั้น ความเป็นพลเมืองดิจิทัล จึงตอ้ งมีทักษะความสามารถท่ีจะเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ วี ิตใน โลกดจิ ิทัล ว่าจะหลงเหลือรอ่ งรอยขอ้ มูลท้ิงไวเ้ สมอ รวมไปถึงต้องเขา้ ใจผลลพั ธท์ ่ีอาจเกิดข้ึน เพอื่ การ ดแู ลสงิ่ เหลา่ น้อี ยา่ งมีความรับผดิ ชอบ 7. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการปอ้ งกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ทีเ่ ขม้ แขง็ และ ป้องกันการโจรกรรมขอ้ มูลไม่ให้เกิดขึ้นได้ ถ้าตอ้ งทาธุรกรรมกับธนาคารหรอื ซื้อสนิ ค้าออนไลน์ เชน่
ซือ้ เสื้อผ้า ชุดเดรส เป็นต้น ควรเปล่ียนรหัสบอ่ ยๆ และควรหลกี เล่ยี งการใช้คอมพวิ เตอรส์ าธารณะ และหากสงสัยวา่ ข้อมลู ถกู นาไปใช้หรือสูญหาย ควรรีบแจง้ ความและแจง้ หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องทนั ที 8. ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจรยิ ธรรม (Digital Empathy) ความสามารถ ในการเห็นอกเห็นใจและสรา้ งความสัมพนั ธ์ทีด่ ีกบั ผอู้ ื่นบนโลกออนไลน์ พลเมืองดิจิทลั ท่ีดีจะต้องรถู้ งึ คุณค่าและจริยธรรมจากการใช้เทคโนโลยี ต้องตระหนักถึงผลพวงทางสังคม การเมอื ง เศรษฐกจิ และ วัฒนธรรม ท่ีเกดิ จากการใช้อนิ เทอร์เนต็ การกดไลก์ กดแชร์ ข้อมลู ข่าวสาร ออนไลน์ รวมถงึ ร้จู กั สิทธิ และความรับผดิ ชอบออนไลน์ อาทิ เสรภี าพในการพูด การเคารพทรัพย์สินทางปญั ญาของผอู้ นื่ และ การปกปอ้ งตนเองและชมุ ชนจากความเส่ียงออนไลน์ เช่น การกลั่นแกลง้ ออนไลน์ ภาพลามกอนาจาร เดก็ สแปม เปน็ ตน้ กล่าวโดยสรุป การจะเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดีน้ัน ต้องมีความฉลาดทางดิจิทัล ซึ่งประกอบ ข้ึนด้วยชุดทักษะและความรู้ท้ังในเชิงเทคโนโลยีและการคิดขั้นสูง หรือที่เรียกว่า “ความรู้ดิจิทัล” (Digital Literacy) เพ่ือให้สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารในโลกไซเบอร์ รู้วิธีป้องกันตนเอง จากความเสีย่ งต่างๆ ในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถงึ สทิ ธิ ความรับผดิ ชอบ และจรยิ ธรรมที่สาคัญในยุคดจิ ิทัล และใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ท่ี เกย่ี วกับตนเอง ชุมชน ประเทศ และพลเมอื งบนโลก ได้อย่างสรา้ งสรรค์ คุณลักษณะการเปน็ พลเมืองดจิ ทิ ัล สานักงานราชบัณฑิตยสภาให้นิยาม “พลเมือง” ว่าคือ คนท่ีมีสิทธิและหน้าท่ีในฐานะ ประชาชนของประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือประชาชนที่อยู่ภายใต้การปกครองเดียวกันและมักมี วฒั นธรรมเดยี วกัน สว่ นในความเขา้ ใจของคนท่วั ไป พลเมอื งคือบคุ คลทีเ่ กดิ ในประเทศนั้นๆ หรือได้รับ สัญชาติและมีความจงรักภักดีต่อรัฐ รวมท้ังหมายถึงกลุ่มคนที่มีสิทธิและความรับผิดชอบร่วมกันใน ฐานะสมาชิกของสังคม อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้เราดารงชีวิต ทางาน และเรียนรู้อยู่ในสังคมที่เช่ือมต่อกัน ในระดับโลก อีกท้ังเรายังทากิจกรรมต่างๆ ในโลกออนไลน์มากข้ึนเร่ือยๆ จนโลกเสมือนและโลกจริง แทบจะหลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกัน การนิยามความเป็นพลเมืองโดยยึดติดกับ “ประเทศใดประเทศ หน่ึง” และละเลยข้อเท็จจริงท่ีว่าชีวิตของเราส่วนหนึ่งได้เข้าไปอยู่ในโลกดิจิทัล อาจไม่สอดคล้องกับ ความเปน็ จริงในโลกสมยั ใหมอ่ กี ต่อไป
การเปน็ พลเมอื งในศตวรรษท่ี 21 น้ันแตกต่างจากการเป็นพลเมืองในศตวรรษกอ่ นหนา้ การใช้ชีวติ ในสังคมโลกและในสงั คมออนไลนไ์ ด้ขยับขยายแนวคดิ ความเป็นพลเมืองออกไป ความเปน็ พลเมอื งทุกวันน้ีจงึ ไมไ่ ดถ้ กู ตีกรอบแคบๆ ว่าหมายถึงการไปเลอื กต้งั หรือการมสี ่วนร่วมกับรัฐบาลชาติ เทา่ นน้ั แต่ยังหมายถึงการทาความเข้าใจปรากฏการณท์ ั้งในระดับท้องถนิ่ ระดบั ชาติ และระดบั โลกไป พร้อมๆ กนั ไปจนถึงการใชช้ วี ติ ในโลกออนไลน์อย่างมีความรบั ผิดชอบ มีจรยิ ธรรม และปลอดภัย เราอาจแบ่งแนวคิดเก่ียวกับความเป็นพลเมืองออกเป็น 3 แนวคิดหลัก ซ่ึงความเป็น พลเมืองทั้งสามแบบนที้ างานร่วมกันมากกว่าแยกขาดจากกัน น่นั คอื 1. ความเปน็ พลเมืองชาติตามขนบ (traditional citizenship) แนวคิดความเป็น พลเมืองแบบเดมิ นั้นให้ความสาคญั กับ “การเป็นสมาชิกภายใตก้ ฎหมายของรัฐชาตทิ ต่ี นสงั กดั ” หรือที่ เรยี กว่า “ความเปน็ พลเมืองภายใต้กฎหมาย” (legal citizenship) ส่ิงสาคัญสาหรับการเป็นพลเมืองท่ี ดตี ามแนวคิดนคี้ ือ การมีความรเู้ กี่ยวกับรัฐบาลและหนา้ ท่ีพลเมอื งตามกฎหมาย เช่น การไปเลอื กตง้ั และจ่ายภาษี 2. ความเป็นพลเมืองโลก (global citizenship) แนวคดิ ความเปน็ พลเมืองโลกวิพากษ์ ความเชอื่ ทว่ี า่ พลเมอื งจะตอ้ งผกู ติดกบั ความเปน็ ชาติและวัฒนธรรมชาติทต่ี นสงั กัดเพยี งหน่ึงเดียว ซง่ึ ตี กรอบความเปน็ พลเมอื งไวค้ ับแคบและกดี กนั กลมุ่ คนที่มีเช้ือชาติ ศาสนา ภาษา และวฒั นธรรมอนั แตกต่างหลากหลายออกจากความเปน็ พลเมอื ง แนวคดิ ความเป็นพลเมืองโลกตระหนักถงึ ความ เชือ่ มโยงและการพึง่ พาอาศยั กนั ในระดับโลก และมจี ิตสานกึ ร่วมถงึ ปญั หาในระดบั โลก เชน่ ปัญหาโลก รอ้ น พลเมอื งท่ีอาศยั ในสังคมโลกจึงต้องมีความสามารถและความเข้าใจในระดบั โลก ตัวอยา่ งเช่น ความสามารถในการเชื่อมโยงปรากฏการณร์ ะหว่างทอ้ งถิ่นกบั โลก และทักษะการทางานร่วมกับผูค้ นที่ มคี วามแตกตา่ งทัง้ ในเชงิ ภาษา วัฒนธรรม และเชอ้ื ชาติ 3. ความเป็นพลเมืองดจิ ิทัล (digital citizenship) แนวคดิ ความเป็นพลเมืองดิจิทัลพูด ถึงความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อมีส่วนร่วมในสังคมเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ มี ความรับผิดชอบ และปลอดภัย การปฏิวัติเทคโนโลยีการส่ือสารได้เปิดโอกาสและหยิบย่ืนความท้า ทายใหม่ๆ ให้กบั พลเมืองดิจิทลั เราสามารถเข้าถึงข้อมูลโดยไรข้ ้อจากัดเชงิ ภูมศิ าสตร์ เขา้ รว่ มชุมชนท่ี มีความสนใจร่วมกัน สร้างสรรค์แนวคดิ ใหมๆ่ ในการแกไ้ ขปญั หา และทาใหเ้ สียงของพลเมอื งดังขึ้นใน
สังคม แต่เราก็ต้องเผชิญกับความเสี่ยงใหม่ๆ เช่น การสอดแนมความเป็นส่วนตัว อาชญากรรม คอมพิวเตอร์ ดังน้ันเราในฐานะพลเมืองดิจิทัลจึงต้องตระหนักถึงโอกาสและความเส่ียงในโลกดิจิทัล พัฒนาทักษะและความรทู้ จ่ี าเปน็ ในโลกใหม่ และเข้าใจถึงสทิ ธิและความรับผิดชอบในโลกออนไลน์ นอกจากนน้ั เราอาจนิยามความเปน็ พลเมืองดจิ ิทลั ออกเปน็ 3 มติ ิ คือ มิติด้านความรูเ้ ก่ยี วกับสอื่ และสารสนเทศ พลเมืองดิจิทลั ตอ้ งมคี วามรคู้ วามสามารถใน การเข้าถงึ ใช้ สรา้ งสรรค์ ประเมิน สงั เคราะห์ และสอ่ื สารขอ้ มลู ขา่ วสารผ่านเครอ่ื งมือดิจิทัล ดงั น้นั พลเมืองยคุ ใหมจ่ ึงตอ้ งมคี วามรดู้ ้านเทคนิคในการเขา้ ถึงและใชเ้ ครอ่ื งมือดจิ ิทลั เช่น คอมพิวเตอร์ สมารต์ โฟน แทบ็ เลต็ ได้อย่างเชี่ยวชาญ รวมถึงทักษะในการรคู้ ิดข้ันสูง เช่น ทักษะการคดิ อย่างมี วจิ ารณญาณ ซง่ึ จาเป็นต่อการเลือก จัดประเภท วิเคราะห์ ตคี วาม และเข้าใจข้อมูลข่าวสาร มิตดิ ้านจริยธรรม พลเมอื งดจิ ทิ ัลจะใชอ้ ินเทอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย มคี วามรับผิดชอบ และมีจริยธรรมไดอ้ ยา่ งไร พลเมอื งทด่ี จี ะตอ้ งรูจ้ กั คณุ คา่ และจริยธรรมจากการใช้เทคโนโลยี ต้อง ตระหนักถึงผลพวงทางสงั คม การเมอื ง เศรษฐกจิ และวัฒนธรรมทเี่ กดิ จากการใช้อินเทอร์เน็ต รวมถงึ รู้จกั สิทธแิ ละความรับผดิ ชอบออนไลน์ อาทิ เสรีภาพในการพดู การเคารพทรัพย์สนิ ทางปญั ญาของ ผู้อืน่ และการปกป้องตนเองและชมุ ชนจากความเสี่ยงออนไลน์ เช่น การกล่นั แกลง้ ออนไลน์ ภาพลามก อนาจารเดก็ สแปม เป็นต้น มิติด้านการมสี ว่ นร่วมทางการเมืองและสงั คม พลเมืองดจิ ิทัลต้องรจู้ ักใชศ้ กั ยภาพของ อินเทอร์เนต็ ในการมีสว่ นร่วมทางการเมอื ง เศรษฐกิจ และสงั คม อินเทอร์เน็ตเป็นไดท้ งั้ เคร่อื งมือเพม่ิ การมสี ว่ นร่วมทางการเมืองในระบบ เช่น รัฐบาลใชอ้ ินเทอร์เนต็ ในการรบั ฟงั ความเห็นของประชาชน ก่อนออกกฎหมาย การลงคะแนนเสียงอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Voting) หรอื การยน่ื คารอ้ งออนไลน์ (online petition) นอกจากน้ัน อินเทอร์เน็ตยงั ใชส้ ่งเสริมการเมอื งภาคพลเมืองผา่ นวธิ ีการใหมๆ่ ซึ่งท้าทายให้ เกดิ การเปลี่ยนแปลงการเมอื งในระดบั โครงสร้าง กล่าวโดยสรปุ การจะเปน็ พลเมืองดจิ ทิ ัลทีด่ นี ั้น เราจะต้องมชี ดุ ทักษะและความรทู้ งั้ ในเชิง เทคโนโลยแี ละการคิดขั้นสูง หรอื ที่เรยี กว่า “การรูด้ จิ ิทลั ” (Digital Literacy) เพื่อใชป้ ระโยชน์จาก ข้อมูลขา่ วสารในโลกไซเบอร์ รจู้ ักปอ้ งกนั ตนเองจากความเส่ยี งต่างๆ ในโลกออนไลน์ เข้าใจถึงสิทธิ ความรบั ผดิ ชอบ และจรยิ ธรรมที่สาคญั ในยคุ ดจิ ทิ ัล และใช้ประโยชน์จากอนิ เทอรเ์ น็ตในการมีส่วนรว่ ม ทางการเมือง เศรษฐกจิ และสงั คม-วัฒนธรรม ทั้งเพ่ือตนเอง ชมุ ชน ประเทศ และโลก
การเปน็ พลเมืองบนสังคมออนไลน์ท่ีเต็มไปดว้ ยความรับผดิ ชอบและพรอ้ มสร้างสรรค์ เรอื่ งราวดๆี คอื สิง่ ทีท่ กุ คนควรใสใ่ จและปฏิบัติของพลเมอื งดิจิทลั ยคุ ใหม่ 9 ขอ้ ปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. Digital Access สิทธิเท่าเทยี มกันในการใช้อนิ เทอร์เนต็ 2. Digital Commerce ซื้อขายออนไลนแ์ บบมกี ติกา 3. Digital Communication แลกเปล่ยี นข้อมูลข่าวสารทเ่ี หมาะสม 4. Digital Literacy เรียนรู้ ถา่ ยทอด ใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี 5. Digital Etiquette รู้กาลเทศะ ประพฤติดี มมี ารยาท 6. Digital Law ละเมดิ สิทธิ ผิดกฎหมาย 7. Digital Rights & Responsibilities มอี ิสระในการแสดงออก แตต่ ้องรับผิดชอบทุก การกระทา 8. Digital Health & Wellness ดูแลสุขภาพกายใจ ห่างไกลผลกระทบจากโลกดิจิทลั 9. Digital Security ระวงั ทกุ การใชง้ าน ม่ันใจปลอดภัย ทมี่ า: http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/digital-age/258/
อา้ งองิ ท่ีมา : บทความเรอ่ื ง “พลเมอื งดิจิทลั (Digital Citizenship)” โดย Phichitra Phetparee| เผยแพร่บน เว็บไซต์ สสส. (วนั ที่ 27 มีนาคม 2562) เอกสารวิชาการออนไลนเ์ รื่อง “คู่มอื พลเมอื งดจิ ิทลั ” โดย วรพจน์ วงศก์ ิจรงุ่ เรือง เผยแพร่คร้งั แรก: มถิ นุ ายน 2561 https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge-base/article-pr/1355-goto- citizens21st https://sites.google.com/site/digitalcitizens03718/about/teaching-stories http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/digital-age/258/
ใบงานการเป็นพลเมืองดิจิทัล คาสงั่ จงนาความฉลาดทางดิจทิ ลั (Digital Intelligence Quotient : DQ) มาแสดงเป็นอตั ลกั ษณ์ ของตัวท่านเอง โดยนาภาพท่านแปลงเปน็ ภาพการต์ ูนและนาส่ิงทที่ า่ นตอ้ งปฏิบตั มิ าแสดงใน 8 ทกั ษะ ตามหัวขอ้ บนหน้ากระดาษ A4 แสดงใหเ้ หน็ ถึงวา่ ทา่ นทา ภาพทีเ่ ป็นลกั ษณะตวั การต์ นู อะไรหรอื ไมท่ าอะไร ของตวั ทา่ น ทงั้ 8 ทกั ษะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: