รักษาจิตให้คิดในทางที่ถูก 49 ที่เป็นปุถุชนย่อมจะมีเร่ืองไม่ถูกใจตนอยู่ด้วยกันทั้งนั้น และไมต่ รงกนั กม็ เี ปน็ อนั มาก ดงั ตวั อยา่ งบางคนไมพ่ อใจ การโกงการกนิ ทนี่ น่ั ทนี่ ่ี แตข่ ณะเดยี วกนั บางคนพอใจน้ี รไู้ ดจ้ ากการทเี่ มอื่ มผี ทู้ �ำกแ็ สดงวา่ มผี พู้ อใจ บางคนรงั เกยี จ ความเลอะเทอะเหลวไหลของสังคมปัจจุบัน แต่ขณะ เดียวกันบางคนนิยมชมชอบ ซึ่งก็รู้ได้จากการท่ีมีผู้ ปฏิบัติเช่นน้ันอยู่ ก็แสดงว่ามีผู้ชอบใจ ทั้งน้ีก็อยู่ที่ การปรุงของจิตใจเช่นเดียวกัน ปรุงให้เห็นเป็นดีงาม กป็ รงุ ใหช้ อบ ปรงุ ใหเ้ หน็ เป็นไมด่ ีไมง่ ามก็ปรุงให้ไมช่ อบ แต่ส�ำหรบั ตัวอย่างทีย่ กมากล่าวข้างตน้ การปรงุ ให้ชอบหรือไม่ชอบ ไม่เกิดผลดีแก่จิตใจตนเองทั้งสอง ประการ การปรงุ ใหช้ อบเรอ่ื งโกงกนิ ท�ำใจใหน้ ยิ มยนิ ดี ในการกระท�ำเพอ่ื โกงกนิ ยอ่ มเปน็ ผลเสยี อยา่ งยงิ่ ทง้ั แก่ จติ ใจตนเองและท้ังแกส่ ่วนรวม การปรุงใจให้ไมช่ อบใจ เมื่อได้ฟังเรื่องโกงกินท�ำให้เกิดโทโส ก็เป็นการท�ำใจ ตนเองให้ร้อนเป็นทกุ ข์
50 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ วธิ ปี รงุ ทคี่ วรน�ำมาปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผลในเรอื่ งดงั กลา่ ว จงึ นา่ จะปรงุ ไปในทางทจ่ี ะสามารถท�ำใจใหไ้ มไ่ ปนยิ มชม ชอบด้วยและไม่ไปโกรธขึ้งด้วย รักษาใจไว้ให้สงบ เยือกเย็นได้ ไม่ว่าในเร่ืองใดก็ตามเป็นส่ิงส�ำคัญ ท้ังน้ี มไิ ดห้ มายความวา่ จะท�ำใจใหไ้ มส่ นใจรบั รใู้ นเรอื่ งใดเสยี เลย ไมป่ ฏบิ ตั กิ ารใดๆ เพอื่ ใหเ้ หมาะใหค้ วรตอ่ เรอื่ งใดๆ เสียเลย
ฝึกจติ ใหม้ ีความสงบ การบรหิ ารจติ คอื การฝกึ อบรมจติ ใหม้ คี วามสงบ เยอื กเยน็ เปน็ สขุ ขณะเดยี วกนั รวู้ า่ อะไรผดิ อะไรถกู ควร แก้ไข อะไรควรส่งเสริมอย่างไร และเม่ือรู้แล้วก็ควร ปฏบิ ตั เิ พอื่ แกไ้ ข หรอื สง่ เสรมิ ใหเ้ หมาะใหค้ วร คอื ปฏบิ ตั ิ เพอื่ แกไ้ ขสงิ่ ทค่ี วรไดร้ บั การแกไ้ ข และสง่ เสรมิ สง่ิ ทคี่ วร ได้รับการส่งเสริมการบริหารทางจิตมิใช่เพียงเพื่อฝึก อบรมจิตใจให้สงบเยือกเย็นเป็นสุขอย่างไม่รับรู้เลยว่า อะไรถกู อะไรผดิ อะไรควรแกไ้ ข อะไรควรสง่ เสรมิ อนั จิตที่ได้รบั การฝกึ อบรมในทางทถ่ี กู นัน้ ตอ้ ง เปน็ จติ ทมี่ คี วามสงบเยอื กเยน็ เปน็ สขุ และมที ง้ั ปญั ญา ย่ิงขึ้น และปัญญาท่ีมีความสงบเป็นพื้นฐานนี้แหละ
54 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ ที่จะท�ำให้มีความรู้ในสิ่งที่ควรรู้ เห็นในส่ิงท่ีควรเห็น เชน่ ความผดิ ถูก ความควรไมค่ วร รูว้ ธิ ปี ฏิบตั ิต่อสงิ่ เหลา่ นนั้ อยา่ งถกู ตอ้ ง ผปู้ รารถนาความสงบ เยอื กเยน็ เปน็ สขุ และความ มปี ญั ญารเู้ หน็ อะไรๆ โดยชอบ จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งบรหิ ารจติ และจ�ำเป็นต้องบริหารตามหลักของพระพุทธศาสนา จงึ จะไดผ้ ลสมดงั ปรารถนานั้น ข้อว่า จิตท่ีได้รับการฝึกอบรมอย่างถูกต้อง จะ เปน็ จติ ทม่ี คี วามสงบเยอื กเยน็ เปน็ สขุ และมปี ญั ญารใู้ น สงิ่ ทคี่ วรรู้ เหน็ ในสงิ่ ทคี่ วรเหน็ เชน่ รคู้ วามถกู ความผดิ ความควรความไมค่ วรและรวู้ ธิ ใี นสงิ่ เหลา่ นน้ั อยา่ งถกู ตอ้ ง หมายความว่ารู้วิธีปฏิบัติเพื่อแก้ไขหรือส่งเสริมเรื่อง ทงั้ หลาย โดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งใชอ้ �ำนาจอารมณก์ เิ ลส เชน่ ไม่จ�ำเป็นต้องโลภจึงจะขยันหม่ันเพียรประกอบอาชีพ เพ่อื ใหไ้ ดท้ รัพย์สนิ เงินทอง ไม่จ�ำเปน็ ต้องโกรธจึงจะว่า กลา่ วตกั เตอื น หรอื ลงโทษผทู้ กี่ ระท�ำความผดิ ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งหลงจงึ จะสามารถท�ำเหมอื นไมร่ ไู้ มเ่ หน็ สง่ิ ทไ่ี มค่ วร ร้ไู ม่ควรเห็นเสยี ได้
ฝึกจิตให้มีความสงบ 55 ก�ำลังที่เกิดจากกเิ ลสคอื โลภะ หรือ โทสะ หรือ โมหะไม่ใช่อย่างเดียวกับการปฏิบัติอย่างถูกต้องที่เกิด จากปัญญา อันเห็นถูกเห็นผิดในเร่ืองท้ังหลาย ทั้งยัง แตกตา่ งจากกนั เปน็ อนั มาก ก�ำลงั ทเ่ี กดิ แลว้ เพราะกเิ ลส ท�ำใหก้ ารปฏบิ ตั ติ อ่ เรอ่ื งราวทง้ั หลายเปน็ ไปอยา่ งผดิ พลาด โดยมาก แต่ความรู้การควรไม่ควรท่ีเกิดจากปัญญา ท�ำใหก้ ารปฏบิ ตั ติ อ่ เรอื่ งราวทง้ั หลายเปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ ง ไม่ผิดพลาด เมื่อต้องการปฏิบัติต่อเร่ืองราวที่เกิดข้ึน ทง้ั หลายใหไ้ ดถ้ กู ตอ้ งเสมอ จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งบรหิ ารจติ ตาม หลักของพระพทุ ธศาสนา ใหก้ ิเลสลดนอ้ ยลง อารมณ์ ลดน้อยลง จิตใจสงบเยือกเยน็ และปัญญาเจรญิ ยิ่งขน้ึ กเิ ลส คอื ความโลภ ความโกรธ ความหลง เปน็ โรคร้ายทางใจ ท่มี ไิ ด้รา้ ยนอ้ ยไปกว่าโรคร้ายทางกาย ท่ีร้ายที่สุด เมื่อโรคร้ายเกิดขึ้นแล้วไม่ว่าจะทางกาย หรือทางใจ จ�ำเป็นจะต้องรักษา มิฉะนั้นก็จะก�ำเริบ ท�ำให้ถึงตายถ้าเป็นโรคทางกายและถึงท�ำให้เสียผู้ เสียคนถา้ เป็นโรคทางใจ
56 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ คนที่เสียแล้วก็คือคนที่ตายแล้วในทางชื่อเสียง และทางคณุ งามความดี จะกลา่ ววา่ โรครา้ ยทางใจมโี ทษ รา้ ยแรงยง่ิ กวา่ โรครา้ ยทางกายกไ็ มผ่ ดิ เพราะผู้ตายไป จรงิ ๆ ดว้ ยโรครา้ ยทางกายนน้ั ดกี วา่ ทผ่ี ตู้ ายแลว้ ในทาง ช่ือเสียงและคุณงามความดีด้วยโรคร้ายทางใจ กิเลส คือความโลภ ความโกรธ ความหลง ที่ไม่ได้รับการ ขัดเกลาแก้ไข จะท�ำให้เสียผู้เสียคนหรือตายทั้งเป็น ได้จริง ผู้ท่ีไม่ประสงค์จะได้ช่ือว่าเป็นคนตายทั้งเป็น คือเสื่อมเสียทั้งช่ือเสียงเกียรติยศคุณงามความดี จึง จ�ำเปน็ ตอ้ งศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ พอ่ื ขดั เกลาแกไ้ ข ความโลภ ความโกรธ ความหลง ทมี่ อี ย่ใู นใจของสามัญชนทกุ คน แตกตา่ งกันแต่เพียงมากหรอื นอ้ ยเทา่ นั้น
ส�ำคัญ ท่คี วามคิด ความโกรธเกิดจากเหตตุ ่างๆ กนั เปน็ ตน้ วา่ เกดิ จากความไมถ่ กู หู ไมถ่ กู ตา ไมถ่ กู ใจ ความไมถ่ กู ทง้ั สาม ประการนย้ี งั แยกออกไปอกี มากมายหลายอยา่ ง โอกาส ทคี่ วามโกรธจะเกดิ ขนึ้ จงึ มมี ากมาย ลองแยกความโกรธ ทเี่ กดิ จากเสียงไม่ถูกหเู ปน็ ประการแรก เคยได้ยินผู้บ่นว่า ได้ยินเสียงคนน้ันพูดคนนี้พูด ทีไรใจหงุดหงิดทุกที เสียงไม่ถูกหูเลย ทั้งๆ ท่ีก็ไม่ได้ โกรธเคอื งดว้ ยเรอ่ื งอะไร มนั ไมช่ อบฟงั จรงิ ๆ เมอื่ ไดฟ้ งั ก็หงุดหงิด ถึงกลายเป็นความโกรธก็มี บางคนเล่าว่า ไดย้ นิ เสยี งคนบบี แตรรถแลว้ เกดิ โกรธทกุ ที ก�ำลงั อารมณ์ ดอี ยกู่ อ็ ารมณเ์ สยี เพราะเสยี งแตรรถนนั่ เอง บางคนไดย้ นิ
60 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ เสยี งเดก็ รอ้ งไมไ่ ด้ หวั เสยี มาก บางคนไดย้ นิ เพอื่ นบา้ น เปดิ วทิ ยดุ งั ๆ แลว้ อยากจะเอาอะไรขวา้ งเพราะความโกรธ บางคนไดย้ นิ คนพดู ออ่ นหวานมากไปกห็ งดุ หงดิ ร�ำคาญ หมนั่ ไส้ และโกรธ บางคนไดย้ นิ เดก็ สมยั ใหมพ่ ดู กนั ดว้ ย ภาษาศพั ทส์ แลงสมยั ใหมไ่ มเ่ รยี บรอ้ ย กร็ �ำคาญและโกรธ ยงั มเี สยี งไมถ่ กู หอู กี หลายประการ ซงึ่ แตล่ ะทา่ นอาจจะ นึกเพ่ิมเติมได้ด้วยตนเอง เพราะทุกคนท่ีเป็นปุถุชน ย่อมจะมีเสียงท่ีไม่ถูกหูของตนอยู่ด้วยกันทั้งน้ัน และ ไม่ตรงกันก็มี เช่น เสียงท่ีถูกหูคนหนึ่งกลับเป็นเสียง ทไี่ มถ่ กู หอู กี คนหนงึ่ ดงั ตวั อยา่ ง บางคนไดย้ นิ เสยี งเดก็ ร้องแล้วสนุกถึงกับอุตส่าห์ยั่วให้เด็กที่ไม่ร้องร้องจนได้ ขณะทบ่ี างคนไดย้ นิ แลว้ หวั เสยี โกรธ บางคนเปดิ วทิ ยดุ งั ลนั่ แลว้ สบายใจ บางคนไดย้ นิ เสยี งวทิ ยนุ น้ั ลน่ั ๆ แลว้ เกดิ โทสะ บางคนได้ยินเสียงเด็กสมัยใหม่พูดกันแล้วสนุก ขบขนั ขณะที่บางคนร�ำคาญหูโกรธ พจิ ารณาตามตัวอยา่ งท่ยี กมานี้ จะเห็นวา่ สาเหตุ เดียวกันแต่ก่อให้เกิดผลไม่เหมือนกัน คนหน่ึงชอบ คนหนึ่งไม่ชอบ จึงน่าจะพิจารณาให้ลึกลงไปว่า ท�ำไม จงึ เปน็ เชน่ นั้น
ส�ำคัญที่ความคิด 61 ท�ำไมเสียงเดียวกัน จึงถูกหูคนหนึ่งและไม่ถูกหู อีกคนหน่ึง ถ้าพิจารณาให้ดีจะเห็นว่า เป็นเพราะใจ ของคนท้ังสองไม่เหมือนกัน จึงท�ำให้เสียงเดียวกัน มี ความหมายตรงกนั ข้ามไปไดต้ ามอ�ำนาจของใจ และถา้ พจิ ารณาตอ่ ไปอกี กน็ า่ จะเหน็ วา่ ตามล�ำพงั เสยี งใดกต็ าม ย่อมไม่เป็นเหตุแห่งความชอบหรือไม่ชอบของผู้ใด ความชอบหรือไมช่ อบ ถูกหูหรือไม่ถูกหู เกดิ จากใจทมี่ ี การปรงุ คดิ ใจปรงุ คดิ วา่ ดี ใจกป็ รงุ วา่ นา่ ชอบและกช็ อบ ใจปรุงคิดว่าไม่ดี ใจก็ปรุงว่าไม่น่าชอบและก็ไม่ชอบ ความชอบหรือไม่ชอบที่ใจปรุงคิดน้ีแหละ ที่เป็นเหตุ อันแทจ้ ริงของความโกรธหรือไม่โกรธ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ความปรุงของใจเป็นสิ่ง ส�ำคัญ ท�ำความรู้ความเข้าใจในเรื่องความปรุงของใจ เสียก่อน ให้เห็นแน่ชัดเสียก่อนว่า ความโกรธหรือ ไมโ่ กรธ ไมไ่ ดเ้ กดิ จากเสยี งภายนอกทม่ี ากระทบประสาท หู แตค่ วามโกรธหรอื ไมโ่ กรธ ชอบหรอื ไมช่ อบ เกดิ จาก ความปรงุ คดิ แทๆ้ ความปรงุ คดิ ของใจเรานแ้ี หละ ทที่ �ำให้ เกดิ ความชอบหรอื ไมช่ อบ ความโกรธหรอื ไมโ่ กรธ เมอ่ื
62 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ ความชอบหรือไม่ชอบ โกรธหรือไม่โกรธเกิดได้เพราะ ความปรุงคิด จึงมิได้เกิดเพราะบุคคลภายนอกแต่เกิด จากตัวเองเท่าน้ัน ตัวเองนี้แหละเป็นเหตุให้ชอบหรือ ไม่ชอบ โกรธหรือไม่โกรธ เวลาเกิดความไม่ชอบหรือ ความโกรธจึงควรมีสติรู้ว่าตนเองเป็นผู้ท�ำให้เกิด ไม่มี ผู้อื่นมาท�ำ เม่ือใจไม่ส่งออกไปโทษผู้อื่นว่าเป็นเหตุ ใจรบั ความจรงิ วา่ ตนเองเปน็ เหตุ ความโกรธกจ็ ะลดนอ้ ย ถงึ หยดุ ลงได้ ส�ำคญั ตอ้ งมสี ตริ วู้ า่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เกิดข้ึนเพราะความปรุงในจิตใจของเราเอง มไิ ด้เกดิ ขน้ึ เพราะบุคคลหรือวัตถภุ ายนอก นี่พูดถึงเมื่อความโกรธเกิดขึ้นแล้ว ให้ดับด้วย การมีสติรู้ความจริงว่าตนเองเป็นผู้ท�ำ แต่ถ้าพูดถึง การป้องกันมิให้ความโกรธเกิด จะต้องฝึกให้สติเกิด เร็วขึ้นอีก และดังกล่าวแล้วในตอนต้นๆ จะต้องฝึกให้ เกิดเหตุผลและปัญญา รวมท้ังเมตตากรุณาด้วย การ ฝึกในเรื่องเหล่านี้จ�ำเป็นต้องท�ำเมื่อความโกรธยังไม่ เกิดข้ึนในจิตใจ หรอื เม่ือเกิดแล้วแตด่ ับแล้ว
ส�ำคัญที่ความคิด 63 เมตตากรุณาเป็นความรู้สึกตรงกันข้ามกับความ โกรธ ผูท้ ี่มีเมตตากรุณาในผใู้ ดอยู่ ความโกรธในผู้นั้น จะเกิดไม่ได้เพราะเมตตาหมายถึงความปรารถนาให้ เป็นสุข กรุณาปรารถนาจะช่วยให้พน้ ทุกข์ เมื่อมีความ รู้สึกดังกล่าวอยู่ในใจ ความโกรธย่อมเกิดไม่ได้เป็น ธรรมดา การเจริญเมตตาจึงเป็นการแก้ความโกรธท่ี ได้ผล ผเู้ จรญิ เมตตาอยเู่ สมอ เปน็ ผไู้ มโ่ กรธงา่ ย ทง้ั ยงั มจี ติ ใจเยอื กเยน็ เปน็ สขุ ดว้ ยอำ� นาจของเมตตาอกี ดว้ ย ผใู้ ดรสู้ กึ วา่ จติ ใจเรา่ รอ้ นนกั เมอ่ื เจรญิ เมตตาจะไดร้ สู้ กึ วา่ เมตตามคี ุณแก่ตนเองเพียงไร แม้เมื่อเจริญเมตตาจะปรารถนาให้ผู้อ่ืนเป็นสุข แต่ผู้จะได้รับผลแห่งความสุขก่อนใครท้ังหมด คือตัว ผเู้ จรญิ เมตตาเองเชน่ เดยี วกบั การคดิ ดพี ดู ดที �ำดที กุ อยา่ ง ผู้ท่ีได้รับผลของความดีก่อนใครทั้งหมดคือตัวผู้ท�ำเอง และผไู้ ด้รบั ผลของความดมี ากกว่าใครทัง้ หมดกค็ อื ตวั ผู้ ท�ำเอง จึงควรคิดดูว่าน่าจะคิดดีพูดดีท�ำดีกันเพียงใด หรอื ไม่
ด�ำเนนิ การผลติ โดย : สาละพิมพการ ๙/๖๐๙ ถ.พทุ ธมณฑลสาย ๔ ต.กระทุ่มล้ม อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๒๐ โทรศพั ท/์ โทรสาร : ๐๒-๔๒๙-๒๔๕๒, ๐๘-๖๕๗๑-๑๖๘๕
Search