Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ASP001-หนังสือโอวาทปาติโมกข์

ASP001-หนังสือโอวาทปาติโมกข์

Description: ASP001-หนังสือโอวาทปาติโมกข์

Search

Read the Text Version

สติสัมปชัญญะ มีความรู้ตัวอยู่เสมอ แล้วให้มีสติ รู้อารมณ์เดียวให้สบาย ๆ เดินจงกรมก็ได้ นั่งสมาธิก็ได้ นั่งดูลม หายใจเข้า ดูลมหายใจออก หรือกำหนด พุทโธ อะไรก็ได้ที่ชอบ แม้แต่อ่านหนังสือ ธรรมะ สวดมนต์ ฟงั ธรรมกไ็ ดเ้ หมอื นกัน ให้ตั้งใจทำอย่างเต็มที่ ก็จะทำให้จิตมี ความปลาบปล้ืมปีติ เป็นสุข และเป็น สมาธไิ ด้ สมถะน้ีใช้อารมณ์ปรมัตถ์ คือ กาย กบั ใจกไ็ ด้ หรอื ใชอ้ ารมณบ์ ญั ญตั ิ นำคำใด คำหนึ่งมาสวด มานึกถึงก็ได้ นึกถึงคุณ ของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ 99

ก็การเจริญสมถะได้ เม่ือจิตเป็นสมาธิ ตง้ั มน่ั แลว้ มามองดู พจิ ารณาดู ความจรงิ ของกายและใจ เห็นว่ามีแต่รูปนาม และ อยใู่ นกฎไตรลักษณ์ อย่างน้ีเปน็ วิปัสสนา สมถะและวิปัสสนาน้ีเป็นธรรมะท่ี ควรเจรญิ คกู่ นั ไป การปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจำวนั ทำอันไหนก่อนก็ได้ เดินจงกรม กลับไป กลับมา นั่งสมาธิ มีสติสัมปชัญญะดี จิตเป็นสมาธิ ก็ทำแบบสมถะไปก่อน ทำให้จิตมีความสุขและมีกำลัง แล้วจึง เจรญิ วปิ ัสสนา หากไมค่ ่อยสงบ กใ็ ห้มสี ติ คอยสังเกตว่า มีแต่ส่ิงไม่เท่ียง ผ่านมา และผ่านไป เด๋ียวคิดนั่นคิดน่ี บังคับ 100

ควบคุมไม่ได้ มองในแบบวิปัสสนาไปก่อน พอจิตรวม จึงค่อยทำสมถะ ก็ทำปน ๆ กันไปได้ บางทเี ราไปแยกกนั ออกไปเลย บางคน เน้นสมถะ ก็ทำสมถะจนหัวหมุนไปเลย จิตไม่ยอมสงบสักทีหน่ึง บางคนเน้น วิปัสสนา ก็วิปัสสนาอย่างเดียว ไม่ยอม สมถะสักที อย่างนก้ี ็ม ี ใหท้ ำตามความเหมาะสม มนั ไมส่ งบ ก็ให้พิจารณาแบบวิปัสสนาไปก่อนก็ได้ ดูตามเป็นจริงไปก่อน พอมันสงบแล้ว ก็ ทำสมถะ บางทีสงบ ทำสมถะก่อนก็ได้ แล้วค่อยพิจารณาดูกายและใจ ตามที่มัน 101

เป็นจริงทีหลัง ทำท้ังสองอย่างคู่กันไป เพอื่ ใหเ้ กิดปญั ญาเห็นความจรงิ สมถะและ วปิ สั สนาน้ี เปน็ ยคุ นทั ธธรรม คอื ธรรมะ ท่ีควรเจริญควบคู่กนั ไป หากแยกตามแบบอริยมรรคมีองค์ ๘ ก็จะช่วยให้เข้าใจการปฏิบัติมากขึ้น เ พ ร า ะ ที่ เ ร า ป ฏิ บั ติ ก็ เ พ่ื อ ใ ห้ อ ริ ย ม ร ร ค สมบูรณ์รวมกัน สมถะ ได้แก่ องค์ ๖ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมา อาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมา สมาธิ วิปัสสนา ได้แก่ องค์ ๒ คือ สัมมาทฏิ ฐิ สมั มาสังกัปปะ เราทำอนั ไหน ได้ก่อน กท็ ำอันนน้ั 102

ถาม เรียนอาจารย์ที่เคารพ การ ปฏบิ ตั ธิ รรมในชวี ติ ประจำวนั ควรทำอยา่ งไร เชน่ ขณะเดนิ รสู้ กึ กระทบสมั ผสั ทเ่ี ทา้ กบั พนื้ หรือหายใจเข้าหายใจออกสั้นยาว เราจะดู อาการอะไร อย่างไรครบั ขอบคุณครับ ตอบ ดอู ะไรกไ็ ด้ เลอื กอนั ใดอนั หนง่ึ ที่ชัดเจนก็ได้ หากมีเวลาฝึกก็เลือกอัน ท่ชี อบ ทำแล้วมีความรตู้ ัวดี เวลาเดินจงกรม ดูว่า กายมันเดิน ไปเดินมา ซ้าย ขวา ซ้าย ขวา ดูว่า เทา้ กระทบพื้นกไ็ ด้ รู้สึกหนกั ๆ เวลาเทา้ เหยยี บพน้ื ลงไป อยา่ ไปดพู ้นื พน้ื มันเยน็ ดี 103

เย็นมากเย็นน้อย อย่าสนใจพื้น ให้สนใจ ตัวเอง กระทบพ้ืนให้รู้สึกขึ้นมาว่านี่กาย มนั เดนิ กำลงั เดนิ อยจู่ รงิ ๆ นะ อยา่ เอา แต่ใจลอย ลมพัดเย็น ๆ ไม่ใช่บอกว่า ลมเยน็ ดีจังเลย ไมใ่ ชอ่ ยา่ งนนั้ แบบน้ันไป สนใจลมแล้ว ลมพัดเย็น ๆ ให้รู้สึกขึ้นมา กายกำลังยืนอยู่ ลมพัดมาถูกกาย ความ รู้สึกเยน็ ๆ เกดิ ทกี่ าย ให้สนใจตวั เองไว้ การปฏิบตั ิ ฝึกสติ ขอให้มคี วามรตู้ วั รู้อยู่ภายกายและใจ รู้ลมหายใจเข้า รู้ลม หายใจออกก็ได้ หากมีหลายอย่าง เด๋ียว อันนั้น เดี๋ยวอันน้ี ก็ค่อย ๆ รู้สึกไป อันไหนก็ได้ รู้หลายอย่างก็ได้ เดินไป 104

รู้กายเคลื่อนไหว ซ้าย ขวา ซ้าย ขวา รู้เท้ากระทบพนื้ หนัก ๆ ตอนยกขึ้นเบา ๆ รู้ลมหายใจเข้า รู้ลมหายใจออก เจ็บหลัง ก็รู้ คิดไปก็รู้ ง่วงนอนก็รู้ หงุดหงิดก็รู้ อย่างน้รี ้หู ลาย ๆ อย่างก็ได้ แต่อย่าให้ถงึ กับเครียดว่าต้องรู้หมด เอาเท่าที่รู้ได้ รอู้ นั ทช่ี ดั ๆ ไวก้ อ่ น หากมสี ภาวะอน่ื ขน้ึ มา กใ็ ห้รู้ ถาม กระผมเรยี นธรรมะกบั อาจารย์ มาหลายเดือนแล้ว รู้สึกปลงในโลกมนุษย์ กิเลสตัณหาต่าง ๆ ก็คือ โลภ โกรธ หลง ลดลงไปบ้าง แต่ทำไมกระผมยัง ชอบเสย่ี งโชค ซ้อื ลอตเตอร่ี สลากกนิ แบง่ 105

รัฐบาลอยู่เป็นประจำ ถือว่ายังตัดกิเลส ไมห่ มดใช่ไหมครับ ตอบ ใช่ครบั ต อ บ ต ร ง ๆ คื อ ยังตัดกิเลสไม่หมด ยังไม่หมดความอยาก มันมีลุ้นอยู่ มีลุ้นจะได้นั่นได้น่ี รู้สึกว่า มีตัวเราจะได้ เป็นการคิดถึงอนาคต การคิดถึงอดีตทำให้รู้สึกว่า เราเป็นน่ัน เป็นน่ี มีตัวมีตนข้ึนมา การคิดถึงอนาคต ว่าเราจะได้นั่นได้น่ี ทำให้รู้สึกว่า ตัวเอง พออยไู่ ด้ ยงั มคี วามหวงั ทจี่ รงิ แลว้ ตวั ตน น้ีมันไม่มีจริงหรอก เราไปยึดถืออดีตมา เป็นตัวตน แล้วก็คาดหวังอนาคตให้มี 106

ความหวัง ทำให้เกิดตัณหาวนเวียน เท่านั้นเอง ท่านซ้ือลอตเตอร่ี ให้มันมี ความหวงั ลม ๆ แลง้ ๆ ไปวนั ๆ เหมอื นกบั พวกท่ีคิดเพ้อฝันเร่ืองในอนาคต ต่อไป จะดีขึ้น จะมีน่ัน จะมีนี่ อย่าไปบ่นเพ้อ มัวเมา หมกมุ่น เกินไปนะ มันจะกลาย เปน็ อบายมขุ ฉดุ ดงึ จติ ใหล้ งไปทางไมเ่ จรญิ การบรรยายในวันนี้ ก็สมควรแก่ เวลาเท่านี้นะครบั อนุโมทนาทุกทา่ น 107

รายชื่อผู้รว่ มบรจิ าค ท ี่ ชื่อ - นามสกลุ จำนวนเงนิ ๑. เงินบริจาคจาก ฐณิชาฌ์รสี อรท์ ๑,๖๗๐ ๑๕ เม.ย. ๕๕ ๒. พ.ญ. เรวดี กนกวุฒ ิ ๑,๐๐๐ ๓. คุณวนั ชืน่ คณุ จินตนา ธรรมไพโรจน์ ๑,๐๐๐ ๔. คณุ บญุ ชยั แซเ่ ล้า ๑๐๐ ๕. คุณทักษพร อ่อมเรียบร้อย ๕๐๐ ๖. คณุ ธีญชนก สดุ จติ ร ๑๐๐ ๗. คุณรวชิ ญ์ เทดิ วงศ ์ ๑,๐๐๐ ๘. คุณรวสิ ตุ ไกรรวี ๕๐๐ ๙. คณุ กาญจนาวรรณ แก่นทองแดง ๑๖๐ ๑๐. คุณรัตตกิ าล ศรยี าภยั ๑๐๐ ๑๑. พ.ต.อ.จงรกั ษ์ ศรียาภัย ๑๐๐ ๑๒. คณุ จุฑามาส ช่นื ตา ๑๐๐ ๑๓. คุณศศินาฏ แสงแก้ว ๕๐๐ ๑๔. ผศ.ดร.ฉลองขวญั ตง้ั บรรลอื กาล ๕๐๐ ๑๕. คุณสมบรู ณ์ - คุณศศธิ ร - ๒,๐๐๐ คณุ ปรญิ ญ์ - คุณปราชญ์ ศรบี ศุ กรณ ์

๑๖. ไมอ่ อกนาม ๓,๐๐๐ ๑๗. ทพ. สารชา เชอ้ื สำราญ และครอบครวั ๒,๐๐๐ ๑๘. นพ. อนนท์ ปรณิ ายกานนท ์ ๑,๐๐๐ ๑๙. คุณชลธชิ า แซ่เตีย ๕๐๐ คณุ ขนษิ ฐา หลอ่ ลกั ษณ์ ๒๐. คณุ สุวิมล อศั วไชยชาญ ๒,๐๐๐ ๒๑. ผฟู้ งั ธรรม บมจ.มหพนั ธไ์ ฟเบอรซ์ เี มนต ์ ๙๐๐ ๑๐ เม.ย. ๕๕ ๒๒. ผู้ฟังธรรมสถาบันวจิ ยั ๑,๔๖๐ และประเมนิ เทคโนโลยีทางการแพทย์ ๒๓ เม.ย. ๕๕ ๒๓. ผฟู้ งั ธรรม ชมรมคนรู้ใจ ๔,๒๒๐ ๒๔ เม.ย. ๕๕ ๒๔. คณุ อรรตั น์ เชยี รจรัสวงศ ์ ๒๐๐ ๒๕. ไม่ออกนาม ๒๐๐ ๒๖. คุณถกล คณุ มณีโชค ตติยไตรรงค์ ๘๐๐ คุณสุดา นารี คณุ เกตุนภสั สารกอง ๒๗. คุณนโิ ลยล ธรรมขนั ตพิ งศ์ ๔๐ ๒๘. ผฟู้ ังธรรมบจก.เครอ่ื งดื่มกระทงิ แดง ๒,๒๐๐ ๒๕ เม.ย. ๕๕

๒๙. ไมอ่ อกนาม ๖๐๐ ๓๐. คุณจงกล ดษิ ยวิภาส ๓๐๐ ๓๑. คณุ นฤมล บชู า ๑๕๐ ๓๒. คณุ บารมี คณุ สิรนชุ ๑,๐๐๐ ๓๓. คุณพรี กติ ติ กจิ สบุ รรณ ๒,๐๐๐ ๓๔. คณุ ศรณั ยาพร ภาวนาสวัสด์บิ ุญ ๓๗๐ ๓๕. คุณนดิ า ขำขุนทด ๒๐๐ ๓๖. คณุ ภคั วดี เสริมธรรมสขุ ๑,๐๐๐ ๓๗. คุณอทุ ัย จงใคร่กลาง ๑๕๐ ๓๘. คณุ กุง้ ๕๐๐ ๓๙. คณุ แมบ่ งั อร แมช่ วี ราภรณ์ วาจาสตั ย ์ ๑,๕๐๐ ๔๐. ผูเ้ ข้าปฏบิ ัตธิ รรมอาศรมมาตา ๘,๔๔๐ ๕-๙ พ.ค. ๕๕ ๔๑. คุณสุภาพ ทพิ ยทัศน์ ๕,๐๐๐ ๔๒. บรษิ ทั เจเน็ท คอร์ปอรเ์ รช่นั จำกัด ๕,๐๐๐ ๔๓. คณุ เบญจวรรณ ตงั้ ทีฆะรักษ์ ๕๐๐ ๔๔. คณุ ยงยทุ ธ พัฒนพงศ์พรชัย ๒๐,๐๐๐ คณุ ประไพพศิ สุปรารภ ๔๕. คณุ อรวรรณ ๓,๐๐๐

๔๖. ไมอ่ อกนาม ๖๐๐ ๔๗. คณุ ชาติ คุณจันทนา ศิรจิ ีระชยั ๕๐๐ ๔๘. ไมอ่ อกนาม ๑,๐๐๐ ๔๙. คุณอรุณศรี พพิ ิธพฒั นากร ๕๐๐ ๕๐. ผู้ฟงั ธรรมสโมสรพทุ ธธรรมนำทอง ๓๕,๐๐๐ บ.AIA ๑๖ พ.ค. ๕๕ ๕๑. ผฟู้ งั ธรรมบา้ นจติ สบาย ๒๐ พ.ค. ๕๕ ๓,๔๑๐ ๕๒. ไม่ออกนาม ๓,๐๐๐ ๕๓. คณุ วรานันทน์ ตรีวฒั นา ๕๐๐ ๕๔. คณุ ภัทริน ซอโสตถกิ ุล ๑๐,๐๐๐ ๕๕. ผฟู้ งั ธรรม บ.เครอื่ งดมื่ กระทงิ แดง จก. ๑,๕๙๒ ๒๓ พ.ค. ๕๕ ๕๖. ทพ. ปิยวัฒน์ ๕,๐๐๐ ทญ. กมลพรรณ พันธ์ุโกศล ๕๗. คณุ สวุ ิมล ธนั วารธร ๕,๐๐๐ ๕๘. คณุ กร คุณศรีวิมล เตชาหวั สงิ ห ์ ๕,๐๐๐ ๕๙. ผเู้ ขา้ ปฏบิ ตั ิธรรมหมบู่ า้ นวินด์มิลล์ ๖,๗๐๐ ๒๕-๒๗ พ.ค. ๕๕ ๑๕๕,๓๖๒

ประวัต ิ อาจารย์สภุ ีร์ ทุมทอง วันเดือนปเี กิด - ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๕ - บา้ นหนองฮะ ต. หนองฮะ อ. สำโรงทาบ จ. สุรนิ ทร ์ การศกึ ษา - เปรยี ญธรรม ๔ ประโยค - ประกาศนยี บตั รบาลใี หญ่ วดั ทา่ มะโอ จ. ลำปาง - ปรญิ ญาตรี วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ - ปรญิ ญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาพระพทุ ธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั งานปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๕) - วิปสั สนาจารย์ยุวพุทธิกสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ - อาจารยส์ อนพเิ ศษวชิ าพระอภธิ รรมปฎิ ก และวชิ าปรมตั ถธรรม มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศกึ ษาพุทธโฆส จ. นครปฐม - บรรยายธรรมะตามสถานท่ีต่าง ๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และ ตา่ งจังหวดั - เผยแผ่ธรรมะทางเว็บไซด์ www.ajsupee.com




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook