21 บทท่ี 2 การกาหนดปัญหาและกรอบแนวคิดในการวิจัย 1.การกาหนดปัญหา ปัญหาการวิจัยคือ ส่ิงท่ีนักวิจัยยังไม่ทราบ ก่อให้เกิดความสงสัยอยากทราบคาตอบ และ ตอ้ งการค้นหาคาตอบ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสทุ ธ,์ิ 2540; สิน พันธุ์พินิจ, 2549) ดังนั้น ปญั หา วจิ ยั ในทางการพยาบาลจึงหมายถึง ประเด็นและปญั หาทางการพยาบาลทีอ่ ยู่ในความสนใจและเปน็ สิ่ง ท่ียังมีความรู้ในเร่ืองนั้นๆ ไม่มากพอจาเป็นต้องมีการค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การกาหนดปัญหา อาจทาไดโ้ ดยการต้ังคาถามเช่น อะไรเป็นส่ิงทไ่ี ม่ถูกตอ้ งหรืออยู่ในความสนใจในคลีนิค? ข้อมูลหรือ ความรู้ใดบางที่ยังต้องการความสมบูรณ์? การปฏิบัติการพยาบาลแต่ละอย่างจะสามารถให้ผลดีใน หน่วยงานของเราหรอื ไม่? มีเทคนิคการพยาบาลอื่นๆ ท่สี ามารถใช้ได้ผลดีและได้ผลรับที่พึงประสงค์ หรือไม่ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่ต้องการทาการวิจัยอาจได้ปัญหาการวิจัยจากแหล่งต่อไปนี้ (สุชาติ ประสิทธ์ิรฐั สนิ ธ์ุ, 2538 และ Burns & Grove, 2005) 1. ประสบการณ์จากการทางานการพยาบาล (nursing practice) ปัญหาการวิจัยอาจมา จากการท่ีผู้วิจัยประสบปัญหาในการทางานด้วยตนเอง หรือจากสภาพแวดล้อมท่ีเป็นปัญหาอุปสรรค ในการทางานของจึงทาให้ผู้วิจัยต้องการหาแนวทางแก้ปัญหาจึงนามาเป็นปัญหาการวิจัยเช่น การ ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยหลังผ่าตัดและพบว่าผู้ป่วยมีอาการปวดแผลผ่าตัดหน้าท้องทุกคนในระดับท่ี ต่างกันทาให้ผู้ป่วยต้องใช้ยาลดอาการปวดจานวนมาก จึงต้องการทาการวิจัยเพื่อหาวิธีการพยาบาล เพอ่ื ลดความเจบ็ ปวดของแผลผ่าตัดหนา้ ท้องทีเ่ หมาะสมทสี่ ุด เป็นต้น 2. นักวิจัยและผู้ร่วมงาน (researcher and peer) โดยเฉพาะอย่างย่ิงนักวิจัยที่มี ประสบการณ์น้ันจะเป็นท้ังต้นแบบในการทาวิจัยและเป็นผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิ จัยแก่ นักวิจัยหน้าใหม่อีกด้วย สาหรับผู้ร่วมงานในท่ีทางานน้ัน มักจะเป็นผู้ท่ีประสบกับปัญหาน้ันๆ โดยตรง และเมอื่ มีการนาปัญหามาพูดคุยกันในระหว่างเพ่ือนร่วมงานและผู้ท่ีเคยทาการวิจัยมาก่อน กอ็ าจจะไดป้ ระเด็นที่นามาเปน็ ปัญหาในการทาวจิ ยั ได้ 3. ผู้เชี่ยวชาญและผู้นาทางวิชาการ (expertise and academic leader) เนื่องจาก ผู้เช่ียวชาญและผู้นาทางวิชาการในสาขาต่างๆ น้ันได้คลุกคลีกับงานวิชาการและการทางานในด้านที่ ตนเชี่ยวชาญมาเป็นเวลานาน จึงทราบรายละเอียดและความก้าวหนา้ ในสาขาน้ันๆ เปน็ อย่างดี จึง สามารถช่วยชีน้ าหัวข้อการวิจยั ได้ 4. การทบทวนวรรณกรรม (literature review) เช่น การอ่านหนังสือ วารสาร บทความ ส่ิงพิมพ์ทางวิชาการต่างๆ ซ่ึงจากการอ่านทบทวนและวิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์วรรณกรรมเหล่านี้ จะทาให้ผู้วิจัยได้พบช่องว่าง และจุดอ่อนของงานวิจัย หรืออาจได้เรื่องท่ีควรศึกษาต่อเน่ืองจาก งานวจิ ยั เร่ืองท่อี ่านนั้นๆ ได้ 5. แนวคิด และทฤษฎีต่างๆ (concept and theory) เป็นแหล่งที่จะได้ปัญหาวิจัยแหล่ง หนึ่ง เน่ืองจากนักวิจัยอาจสงสัยว่า แนวคิดหรือทฤษฎีน้ันๆ สามารถนามาใช้ในสถานการณ์จริงได้ หรือไม่ หรือนักวิจัยบางคนอาจจะอยากทดสอบว่าทฤษฎีท่ีอธิบายได้ในเหตุการณ์ในท่ีเกิดขึ้น ต่างประเทศ จะสามารถนามาใชก้ ับสภาพสังคมหรอื คนในประเทศไทยได้หรอื ไม่
22 6. แหล่งทุนวิจัย (research grant providers) ซึ่งอาจเป็นท้ังแหล่งทุนภายในประเทศและ จากต่างประเทศ โดยส่วนใหญ่องค์กรท่ีให้ทุนจะกาหนดหัวข้อหรือประเด็นท่ีต้องการให้ทาวิจัยไว้ กว้างๆ เพ่อื ใหท้ ราบว่าในขณะนน้ั ผใู้ หท้ นุ กาลังสนใจในเร่ืองอะไรบา้ ง 7. หน่วยงานท่ีผู้วิจัยกาลังทางานอยู่ (researcher organization) เช่น หน่วยงานต้องการ หาข้อมูลเชิงประจักษ์หรือต้องการได้แนวปฏิบัติท่ีอิงหลัการอย่างเป็นเหตุเป็นผลและนามาใช้ได้จริง จงึ กาหนดหัวขอ้ ใหผ้ ้ทู ่ปี ฏิบัตงิ านอยทู่ างานวจิ ัยเรอ่ื งนน้ั ๆ 1.1 หลักเกณฑ์การเลอื กหัวขอ้ การวิจยั (selecting a research topic) จากท่ีกล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าผู้ที่ต้องการจะทาการวิจัยอาจจะได้ปัญหาและหัวข้อการ ทาการวิจัยหลายๆ หัวข้อ ดังน้ัน ผู้วิจัยจะต้องตัดสินใจให้ดีว่าจะเลือกทางานวิจัยในหัวข้อใดจึงจะ เป็นประโยชน์สูงสุดและสามารถทางานวิจัยให้สาเร็จลุล่วงไปได้ เพ่ือกาหนดขอบเขตของปัญหาที่ เลือกศึกษา ได้เหมาสมจงึ ได้มีนักวิชาการได้ให้ข้อเสนอแนะเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกปัญหาการวิจัย ว่าจะต้องพจิ ารณาเรือ่ ง ความสาคญั ของปัญหาการวิจยั ความเปน็ ไปไดใ้ นการทาวิจัย ความน่าสนใจ และการทันเหตุการณ์ ความสนใจของผู้วิจัย และความเชี่ยวชาญและสามารถของผู้วิจัยในประเด็น วิจยั นัน้ ๆ (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสนิ ธ์ุ, 2538 และ Burns & Grove, 2005) 1. ความสาคัญของปัญหาการวิจัย สามารถพิจารณาได้จากจานวนผู้เกี่ยวข้องหรือ ได้รับผลกระทบจากเร่ืองหรือปัญหานั้นๆ ถ้ามีบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์จากผลลัพธ์การวิจัยหรือ ปัญหาท่ีจะทาการวิจัยจานวนมากก็แสดงว่าปัญหาการวิจัยน้ันมีความสาคัญมาก นอกจากนี้ การ พิจารณาความสาคัญของปัญหาการวิจัยยังสามารถพิจารณาได้จากความถ่ีของการเกิดขึ้นของปัญหา และความกว้างของการเกิดเหตุการณ์น้ันได้ด้วยเช่น ปัญหาไข้เลือดออกระบาดเป็นประจาทุกปีและมี การเพิ่มบรเิ วณพ้ืนทท่ี ี่เกดิ โรคไข้เลือดออกมากขน้ึ เปน็ ตน้ 2. ความเป็นไปได้ในการทาการวิจัย บางคร้ัง เม่ือผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทาการวิจัย ในประเด็นใดประเด็นหน่ึง ก็อาจไม่สามรถทาการวิจัยได้ด้วยเหตุผลหลายประการเช่น ผู้วิจัยมี ข้อจากัดในความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยท่ีเหมาะสมท่ีจะได้คาตอบการวิจัยท่ีถูกต้อง เช่น ประเด็น ปัญหาวิจัยเรื่องนั้น ต้องทางานวิจัยเชิงคุณภาพจึงจะได้คาตอบที่ตรงกับปัญหา แต่ผู้วิจัยไม่มีความรู้ ความสามารถในเร่ืองระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพเลย ก็อาจไม่สามารถทาวิจัยเร่ืองน้ันได้ นอกจากนี้ ขอ้ จากัดในเรื่องเวลา ความร่วมมอื ของกลุ่มตวั อยา่ ง สิ่งอานวยความสะดวกหรืออปุ กรณ์ท่ีจาเปน็ ต้อง ใช้ในการทาวิจัย และงบประมาณค่าใช้จ่ายในการทาวิจัย ก็เป็นอุปสรรคที่ทาให้ผู้วิจัยอาจไม่สามารถ ทาการวจิ ยั ได้ 3. ความนา่ สนใจและทันต่อเหตุการณ์ เป็นเรอ่ื งที่ผวู้ ิจัยตอ้ งนามาพจิ ารณาเนือ่ งจากถ้า เป็นปัญหาหรือหัวข้อการวิจัยท่ีอยู่ในความสนใจของคนจานวนมากและเป็นปัญหาที่ยังไม่มีทางแก้ใน ปัจจุบัน มีผลกระทบสูง และปัญหาวิจัยเป็นเรื่องที่เก่ียวข้องหรืออยู่ในกรอบประเด็นสาคัญของ ประเทศก็จะมคี วามนา่ สนใจสูงและมกั จะมีแหล่งทนุ สนบั สนนุ การทาวจิ ยั หลายแห่ง 4. ความสนใจของผู้วิจัย มีผลต่อความสาเร็จของการทางานวิจัยอยู่มากพอควร เพราะ ไม่ว่าปัญหาวิจัยจะมีความสาคัญมากน้อยเพียงใด หากผู้ที่ทาการวิจยั ไม่มีความสนในในประเด็นปญั หา นัน้ อย่างแท้จริงแล้ว ก็จะขาดแรงจูงใจที่จะช่วยผลักดันให้ผู้วิจัยมีความกระตือรือร้นและอดทนในการ ค้นคว้าหาคาตอบและอดทนตอ่ การแกป้ ัญหาตา่ งๆ ท่อี าจพบในระหวา่ งการทาวิจยั ได้ 5. ความเชี่ยวชาญและสามารถของผู้วิจัย ทั้งความสามารถในกระบวนการทาการวิจัย แบบน้ันๆ และความเช่ียวชาญในเชิงวิชาการที่เกี่ยวขอ้ งกับเรอื่ งท่ีจะทาการวิจัย เน่ืองจากถ้าผู้วจิ ัยมี
23 ความสามารถท้ังสองด้านน้ีก็จะช่วยให้การทางานวิจัยประสบความสาเร็จได้ง่าย อย่างไรก็ตาม ประเด็นความสามารถส่วนตัวของผู้วิจัยน้ีก็อาจจะเป็นข้อยกเว้นได้ ถ้าผู้วิจัยสามารถหาผู้ร่วมวิจัยท่ีมี ความสามารถเหมาะสมกับงานวิจัยท่ีต้องการทาและได้ที่ปรึกษางานวิจัยที่ดี ก็จะช่วยให้การทางาน วจิ ัยประสบความสาเรจ็ ได้ นอกจากประเด็นต่าง ๆ ท่ีกล่าวข้างต้นแล้ว ส่ิงที่ผู้วิจัยจะต้องคานึงถึงด้วยคือ ความ คมุ้ ค่าของผลลัพธก์ ารวิจัยกับคา่ ใชจ่ายท่ตี ้องลงทนุ ผลประโยชน์ตอ่ ตนเองและส่วนรวม เป็นงานวจิ ัย ที่ไม่มีผู้ใดทามาก่อน เป็นงานวิจัยเก่ียวกับส่ิงใหม่ ๆ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2539) และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทางานวิจัยทางการปฏิบัติการพยาบาลซ่ึงส่วนใหญ่จะใช้ผู้ป่วย ผู้รับริการ หรือ คนเป็นตัวอยา่ งในการทาวิจยั จะต้องคานึงถงึ ประเด็นทเ่ี ก่ียวข้องกับจริยธรรมในการทางานวิจัยด้วย 1.2 การตงั้ ช่ือเร่อื งการวิจัย ชื่อเรื่องการวิจัย (research title) มีความสาคัญในการที่จะเป็นส่ิงที่ดึงดูดความสนใจของ ผู้อ่านให้อยากติดตามเน้ือหางานวิจัย นอกจากน้ี ชื่อเร่ืองวิจยั ยังเป็นสื่อให้ผู้อ่านงานวิจัยเข้าใจได้ว่า ผู้วิจัยต้องการค้นคว้าวิจัยอะไร หรือต้องการหาคาตอบในเรื่องอะไรบ้าง ซึ่งประเด็นสาคัญที่อาจ ปรากฏในช่ือเรอ่ื งการวจิ ยั คือ ตัวแปรสาคัญท่ีต้องการจะศึกษา ความเกย่ี วขอ้ งของตัวแปรที่จะศกึ ษา และขอบเขตการศึกษาวิจัย สาหรับเทคนิคในการเขียนชื่อเร่ืองวิจัยนั้น ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว เป็น ศิลปะของบุคคลท่ีจะต้องฝึกฝน แต่พอมีหลักเกณฑ์ท่ีใช้เป็นแนวทางในการต้ังช่ือเร่ืองการวิจัยดังนี้ (ธวชั ชยั วรพงศธร, 2540) 1. ชือ่ เร่ืองต้องบอกได้วา่ เปน็ การศึกษาอะไร (what) กบั ใคร (who) หรือของใคร (for whom) และถ้าช่ือเร่ืองมีสถานที่หรือเวลาเกี่ยวข้อง ต้องระบุสถานท่ี (where) และเวลา (time) ดว้ ย 2. ชื่อเรื่องมักต้องข้ึนต้นด้วยนาม มากกว่าคากริยาหรือคาคุณศัพท์เช่น ข้ึนต้นคาว่า การศกึ ษา การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ เปน็ ต้น 3. ชอ่ื เร่อื งตอ้ งใช้ภาษาท่ีงา่ ย กะทัดรัด ชดั เจน และครอบคลมุ ปัญหาท่ีศกึ ษาทั้งหมด 4. ช่ือเรื่องไม่ควรมีคาย่อ ต้องเขียนช่ือเร่ืองวิจัยด้วยคาเต็มท้ังหมด เช่น ช.ม. ให้เขียน ว่า “เชียงใหม่” ม.ช. ให้เขียนคาวา่ “มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่” 5. ช่ือเรอ่ื งวิจัยท่ีเป็นภาษาไทย ควรเขยี นด้วยภาษาไทยทงั้ หมด ยกเว้นคาภาษาองั กฤษ ยงั ไมม่ ีคาแปลหรอื คาเฉพาะ อาจเขียนเป็นภาษาองั กฤษหรือเขยี นทับศัพทไ์ ด้ 1.3 การเขยี นความสาคญั ของปญั หา (significance of the problem) ความสาคัญของปัญหาหรือในบางงานวิจัยอาจจะเรียกว่า ความเป็นมาและความสาคัญของ ปัญหา บทนา ภูมิหลัง หลักการและเหตุผลการวิจัย ซึ่งการเขียนความสาคัญของปัญหา เป็นการ เกริ่นให้ผู้อ่านงานวิจัยทราบว่า ปัญหาที่จะศึกษาน้ันมีความสาคัญอยา่ งไร มีความเป็นมาของปัญหา น้นั อย่างไร มีขอบเขตของปัญหาแค่ไหน ลักษณะการเขียนจะเน้นให้เห็นความรุนแรงของปัญหาที่ ต่อเนื่องต้ังแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน และอาจจะคงอยู่ต่อไปในอนาคตถ้าไม่เร่ิมมองหาทางที่จะศึกษา ปัญหาหรือศึกษาวิธีแก้ไขเสียต้ังแต่ตอนนี้ หลักเกณฑ์ที่สาคัญในการเขียนความสาคัญของปัญหา มี ดังน้ี (ธวชั ชยั วรพงศธร, 2540) 1. พยายามเขียนให้ตรงประเด็นปัญหาและครอบคลุมประเด็นท่ีจะศึกษาทั้งหมด แต่ไม่ ควรเขียนเยยิ่ เย้อ วกวน ไมส่ ามารถทราบได้วา่ ปัญหาที่แทจ้ รงิ คอื อไร 2. อยา่ นาตัวเลขหรอื ตารางยาวๆ หรอื ขอ้ มลู อ่นื ๆ ทีไ่ มเ่ กี่ยวข้องกบั ปัญหาการวิจยั มาอ้างอิง
24 3. ถ้านาผลงานวิจัย เอาตัวเลข ข้อมูล หรือนาแนวคิด ทฤษฎีของผู้อ่ืนมากล่าวถึง ต้องมี การอา้ งองิ ทุกครั้ง 4. การเขียนต้องมีการแบ่งตอนข้ึนย่อหน้าใหม่ให้เหมาะสม โดยในหน่ึงย่อหน้าควร ประกอบด้วยประเดน็ สาคัญเพียงหนึ่งประเด็น 5. การเขียนต้องให้เน้ือเร่ืองมีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการข้ึนย่อหน้า ใหมใ่ นแตล่ ะตอน ตอ้ งมีความเช่อื มโยงกบั เรื่องในสว่ นท้ายของย่อหน้าเกา่ ดว้ ย 6. ในส่วนท้ายสุดของส่วนความสาคัญของปัญหา ควรเขียนสรุปเพ่ือให้เชื่อมโยงกับ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัยด้วย ๒ วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั (objective of the problem) การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัยเป็นการแจกแจงแยกแยะรายละเอียดของ หัวข้อการวิจัย ออกเป็นหวั ข้อย่อยๆ ลักษณะสาคญั ของวตั ถปุ ระสงค์การวิจัยคอื จะต้องมีความสอดคล้องกับเร่อื งท่ี ตอ้ งการศกึ ษา มคี วามชัดเจนและสัมพันธ์กบั ขอบเขตปญั หาท่ีกาลังศึกษา ผู้ท่ีเริ่มทาการวจิ ัยใหมๆ่ มัก ประสบปัญหากับการเขียนวตั ถุประสงค์การวิจยั บ้าง แต่ถ้าได้รับการฝึกฝนและอาศัยการสังเกตจาก การเขยี นวัตถปุ ระสงค์ทดี่ จี ากการอา่ นงานวิจยั ท่ผี อู้ ื่นทามาแล้ว กจ็ ะช่วยแกไ้ ขข้อบกพร่องได้มาก หลักการเขยี นวตั ถุประสงค์การวิจยั โดยท่ัวไป การกาหนดวัตถุประสงค์จะต้องให้สอดคล้องกับเรื่องที่จะศึกษา ซ่ึง ธวัชชัย วรพงศธร (2540) ได้กล่าวถงึ หลกั การเขยี นวตั ถปุ ระสงค์การวิจัยทสี่ าคญั มดี งั นี้ 1. วัตถุประสงค์ควรเขียนอยู่ในรูปประโยคบอกเล่า และสามารถเขียนในรูปการ เปรยี บเทยี บ เพื่อเน้นความแตกต่าง หรอื เขยี นในรูปของความสัมพันธ์ ท้ังนี้ขึ้นอยกู่ ับสง่ิ ท่ตี ้องการศกึ ษา ตัวอย่างคาทีน่ ิยมใชข้ ้นึ ตน้ วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั - เพ่อื ศกึ ษาปญั หา - เพื่อศกึ ษาแนวโน้ม - เพ่ือศกึ ษาปจั จยั ทีส่ ่งผลต่อ - เพอ่ื เปรยี บเทยี บ - เพ่อื ทดสอบ - เพอ่ื หาความสัมพันธ์ 2. วตั ถุประสงค์สามารถเขยี นรวมเป็นขอ้ ความเดียว หรอื อาจแยกเป็นข้อๆ กไ็ ด้ ซง่ึ ถ้า เขียนวัตถุประสงค์แยกออกเป็นข้อๆ วัตถุประสงค์แต่ละข้อจะระบุปัญหาท่ีต้องการศึกษาเพียง ประเดน็ เดยี วเท่าน้ัน 3. จานวนข้อของวัตถุประสงค์จะมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับขอบเขตของปัญหาที่จะทา วจิ ยั โดยหลักการแลว้ ควรกาหนดวัตถุประสงคก์ ารวิจัยประมาณ 2 – 5 หวั ขอ้ พอแลว้ สาหรับงานวิจัย หนง่ึ เรือ่ ง 4. ระวังอย่าเอาประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมาเขียนเป็นวัตถุประสงค์การวิจัย เพราะ ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั เปน็ ผลท่ีคาดว่าจะเกิดขน้ึ หลังจากการส้ินสุดการวจิ ัยแลว้ ตวั อยา่ งเชน่ การศึกษาวิจัยเร่ือง “ผลของการให้การพยาบาลอยา่ งมีแบบแผนต่อการลดความเจ็บปวดใน ผู้ปว่ ยหลังการผ่าตดั ชอ่ งท้อง” วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัยน้ีไดแ้ ก่ 1. เพื่อศกึ ษาระดับความเจ็บปวดแผลการผ่าตดั ช่องท้องของผ้ปู ่วย
25 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความเจ็บปวดแผลผ่าตัดช่องท้องของผู้ป่วยที่ได้รับการพยาบาล อย่างมีแบบแผนและได้รับการพยาบาลตามปกติ การเขยี นประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับของงานวจิ ยั น้ี อาจเขยี นได้วา่ 1. ได้แนวทางในการใหก้ ารพยาบาลเพ่ือลดความเจบ็ ปวดแผลการผ่าตัดชอ่ งท้องแกผ่ ู้ปว่ ย 2. ไดแ้ นวทางท่ีสามารถประยุกตใ์ ช้การให้การพยาบาลผู้ปว่ ยทป่ี วดแผลจากการผ่าตดั ที่อน่ื ๆ ข้อผิดพลาดในการเขียนวัตถปุ ระสงค์การวิจัย การเขียนวัตถปุ ระสงค์อาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นหลายประการ ซึ่งผวู้ จิ ัยจะตอ้ งระมัดระวงั ใน การเขียนวตั ถุประสงคก์ ารวิจัย ขอ้ ผิดพลาดท่พี บได้บ่อยๆ ได้แก่ 1. การเขยี นวัตถปุ ระสงคไ์ มช่ ดั เจน 2. การเขียนวัตถุประสงค์โดยไม่คานึงถึงความเป็นไปได้ในการทาวิจัยว่าสามารถทา หรือ เก็บข้อมูลไดห้ รอื ไม่ 3. เขยี นวัตถปุ ระสงค์ไมค่ รอบคลุมทกุ ประเดน็ ทีศ่ ึกษา หรอื เกนิ ขอบเขตท่ีจะศกึ ษา 4. เอาประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับมาเขยี นในวตั ถุประสงค์การวิจยั การเขียนคาถามการวจิ ัยที่สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย การเขียนคาถามการวิจัย เป็นการกาหนดปัญหาหรือคาถามการวิจัยท่ีแน่นอนและบ่งช้ี แนวทางที่จะต้องตอบคาถาม หรือต้องวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างชัดเจน ในการเขียนคาถามการวิจัยมี หลกั การดังน้ีคือ 1. คาถามการวจิ ัยตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์การวิจยั 2. ต้องเขียนเปน็ ประโยคคาถามทีส่ ้นั กระทดั รัดและชดั เจน 3. คาถามการวจิ ยั 1 คาถาม ควรบ่งชถี้ ึงการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเพียงหนึ่งประเดน็ สาคญั 4. ในกรณีที่เป็นคาถามการวิจัยท่ีต้องการคาตอบมากกว่า 1 คาตอบ ควรตั้งเป็นคาถาม ยอ่ ย ๆ ให้ชัดเจน ตวั อย่าง การเขยี นคาถามการวจิ ัยทส่ี อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์การวจิ ัย การวิจัยเร่ือง “ผลของการให้การพยาบาลอย่างมีแบบแผนต่อการลดอาการปวดแผลผ่าตัด ในผู้ป่วยผ่าตัดช่องทอ้ ง” วตั ถุประสงค์ คาถามการวจิ ัย 1. เพอ่ื ศึกษาระดบั ความปวดแผลผา่ ตัดของผูป้ ่วย 1. ผปู้ ่วยผ่าตัดชอ่ งท้องมีความปวดแผลผ่าตัดอย่ใู น ผ่าตัดชอ่ งท้อง ระดับใด 2. เพ่ือเปรยี บเทยี บระดับความปวดแผลผา่ ตดั ของ 2. ผู้ป่วยผา่ ตดั ชอ่ งทอ้ งท่ีได้รบั การพยาบาลอย่างมี ผ้ปู ว่ ยผ่าตดั ช่องท้องทไี่ ดร้ ับการพยาบาลอย่างมี แบบแผนและผปู้ ว่ ยผา่ ตดั ช่องท้อง ที่ได้รบั การ แบบแผนกับผู้ป่วยท่ีไดร้ ับการพยาบาลตามปกติ พยาบาลตามปกติมีระดบั ความปวดแผลผา่ ตัด แตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร .
26 ๓ การกาหนดสมมติฐานการวิจัย (research hypothesis) สมมติฐาน (Hypothesis) คือข้อความที่ระบุความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัวหรือ มากกว่าสองตัวแปรข้ึนไป เป็นการคาดคะเนความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่จะทาการศึกษา อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยทฤษฎีหรือผลการวิจัยท่ีผ่านมาเป็นแนวทางในการตั้งสมมติฐาน (Burns & Grove, 2005) ซงึ่ สมมติฐานแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทคือ 1. สมมติฐานการวิจัย (research hypothesis) เป็นข้อความท่ีเป็นการคาดการณ์ หรือ อธิบายปรากฎการณ์ที่เกิดข้ึนโดยแสดงความสมั พันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวขึ้นไป เชน่ “พยาบาล ท่มี วี ุฒิการศึกษาต่างกัน จะมีสรรถนะในการทางานแตกตา่ งกัน” “พยาบาลวิชาชพี เพศชายและ เพศหญิงมคี วามสามารถในการปฏิบัติการพยาบาล ไม่แตกตา่ งกัน” เปน็ ตน้ สมมติฐานการวิจัยมีอยู่หลายแบบ ทั้งที่เป็นสมมติฐานอย่างง่ายและสมมติฐานท่ียาก ซับซอ้ น อยา่ งไรกต็ าม สามารถแบง่ รปู แบบสมมตฐิ านการวจิ ัยได้เป็น 2 ลกั ษณะดงั น้ี 1.1 สมมติฐานเชิงพรรณนา (descriptive hypothesis) เป็นข้อความที่กล่าวถึง เหตุการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงหรือปรากฎการณ์ใดปรากฎการณ์หน่ึงอย่างสม่าเสมอ ซ่ึงเป็น สมมติฐานที่ตั้งข้ึนสาหรับงานวิจัยที่ต้องการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงเก่ียวกับเหตุการณ์บางอย่าง ที่ไม่มีการพิสูจน์หรือทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร การกาหนดสมมติฐานโดยอาศัย ข้อเท็จจริง ประสบการณื หรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนมา เช่น “นักศึกษาใหม่ทุกคนจะปฏิบัติ ตามระเบยี บมหาวิทยาลยั อย่างเคร่งครัด” “คนจนใช้บรกิ ารสาธารณสุขของรฐั มากกวา่ คนรวย” เปน็ ต้น 1.2 สมมติฐานเชิงวิเคราะห์ (analytic hypothesis) เป็ นสมมติฐาน ท่ี แสดง ความสัมพันธ์หรือเปรียบเทียบระหวา่ งตวั แปร 2 ตัวขึ้นไป ซึ่งสมมติฐานในลักษณะนี้สามารถ นาเอาวธิ ีการทางสถติ ิมาพิสูจน์หรือทดสอบได้ ลักษณะของสมมติฐานเชงิ วิเคราะหม์ ีหลายแบบ ไดแ้ ก่ 1.2.1 สมมติฐานแบบเปรยี บเทียบ เป็นสมมติฐานท่ีแสดงการเปรียบเทียบตัว แปรในลักษณะของคาว่า แตกต่าง ไม่แตกต่าง ดีกว่า น้อยกว่า มากกว่า รุนแรงกว่า สูงกว่า ต่ากว่า มีประสิทธิภาพมากกว่า เป็นต้น ตัวอย่างเช่น “นักศึกษาพยาบาลเพศหญิงมี ความสามารถการปฏิบัติการพยาบาลมากกว่านักศึกษาพยาบาลเพศชาย” “อัตราการตายของ ทารกเพศชายสูงกวา่ อัตราการตายของทารกเพศหญิง” เปน็ ต้น 1.2.2 สมมติฐานแบบความสัมพันธ์ เป็นสมมติฐานท่ีแสดงความสัมพันธ์ของ ตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า ซ่ึงสมมติฐานแบบความสัมพันธ์นี้สามารถระบุความสัมพันธ์ได้ 2 ลกั ษณะคอื ก) แบบความสัมพันธ์ที่ไม่ระบุทิศทาง เช่น “การขาดความอบอุ่น จากบิดามารดามีความสัมพันธ์กับการเริ่มสูบบุหรี่คร้ังแรกของวัยรุ่น” “รูปแบบการเรียนมี ความสัมพนั ธ์กับผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักศึกษาพยาบาล” เป็นต้น ข) แบบความสัมพันธ์ท่ีระบุทิศทาง เช่น “อัตราการสูบบุหรี่ของ มารดามีความสัมพันธ์เชิงลบกับน้าหนักทารกแรกเกิด” “นักศึกษาพยาบาลท่ีใช้รูปแบบการ เรียนแบบความร่วมมือมีผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงกว่านักศึกษาท่ีใช้รูปแบบการเรียนแบบแข่งขัน” เป็นตน้
27 2. สมมติฐานทางสถิติ (statistical hypothesis) เป็นข้อความท่ีเขียนโดยใช้สัญญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์แทนคาพูด เพ่ือให้สามารถทดสอบสมมติฐานด้วยวิธีการทางสถิติได้ สมมตฐิ านทางสถติ แิ บ่งออกไดเ้ ป็น 2 ลักษณะคอื 2.1 สมมติฐานเป็นกลางหรือสมมติฐานศนู ย์ (null hypothesis) เป็นสมมตฐิ านทเี่ ขียน อธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรในลักษณะ ไม่มีความแตกต่างกัน หรือไม่ความสัมพันธ์กัน ระหวา่ งกล่มุ ต่างๆ ทผ่ี ู้วิจยั นามาพิสจู น์ ซึง่ จะเขยี นแทนด้วยสญั ญลักษณ์ H0 2.2 สมมติฐานทางเลือก (alternative hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนอธิบาย ความสัมพันธ์ในลักษณะ มีความสัมพันธ์กัน หรือมีความแตกต่างกัน ซ่ึงเขียนแทนด้วย สญั ญลกั ษณ์ H1 ตวั อย่างการเขียนสมมตฐิ านทางสถิตเิ ชน่ H0 : 1 = 2 H1 : 1 > 2 เมอ่ื 1 = ค่าเฉล่ียของคะแนนความสามารถการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาล ชาย 2 = ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาล หญิง H0 อาจเขียนเป็นสมมติฐานการวิจัยได้ว่า “ความสามารถการปฏิบัติการพยาบาลของ พยาบาลชายไม่แตกต่างจากความสามารถการปฏิบตั ิการพยาบาลของพยาบาลหญิง” H1 อาจเขียนเป็นสมมติฐานการวจิ ัยไดว้ ่าว่า “ความสามารถการปฏิบตั ิการพยาบาลของ พยาบาลชายสูงกว่าความสามารถการปฏบิ ัติการพยาบาลของพยาบาลหญงิ ” หลักการต้ังสมมติฐานการวจิ ัย การตั้งสมมติฐานการวิจัยจะต้องทาอย่างมีเหตุผล ดังนั้นการต้ังสมมติฐานที่ดีและ เหมาะสมจึงมีความยุ่งยากและต้องการแนวทางที่จะช่วยให้สามารถต้ังสมมติฐานได้ง่ายข้ึน ซึ่ง ขอ้ พิจารณาท่ีใชใ้ นการตั้งสมมตฐิ านการวจิ ัยมีดังนี้ (ธวัชชยั วรพงศธร, 2540 และ ชุตมิ า รักษ์ บางแหลม, 2548) 1. สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย (relevance) สมมติฐานการวิจัยควรสอดคล้องกับปัญหา และวัตถุประสงค์ของการวิจัย หากสมมติฐานการวิจัยมีหลายประเด็นควรแยกสมมติฐานเป็น ขอ้ ๆ โดยเรียงใหส้ อดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย 2. ขอบเขตของสมมติฐาน (scope) สมมติฐานการวิจัยต้องมีความรัดกุมอยู่ในขอบเขตที่ เหมาะสม ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป เพราะถ้าสมมติฐานแคบเกินไปก็จะทาให้ไม่สามารถ อธบิ ายตัวแปรอ่นื ท่เี ก่ียวข้องไดห้ มด แต่ถ้าสมมติฐานกว้างเกินไป อาจทาให้ไม่สามารถนาข้อมูล มาทดสอบได้ 3. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปร (relationship) สมมติฐานการวิจัยควรแสดงความสัมพันธ์ ระหวา่ งตัวแปรไดอ้ ยา่ งชัดเจนในแงค่ วามเป็นเหตุและผล ไมใ่ ชใ่ นแงส่ ามัญสานึก
28 4. การทดสอบ (testability) สมมติฐานที่ตั้งข้นึ ควรสามารถทดสอบได้ทุกข้อ ตัวแปรท่ีอยู่ ในสมมติฐานสามารถวัดได้และสามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตวั แปรเหล่านั้นด้วยวิธีการทาง สถิติและหาข้อมูลมาสนับสนนุ ได้ 5. การทดสอบซ้า (repeatability) สมมติฐานท่ตี ้งั ขึ้นต้องสามารถทดสอบได้หลายๆ ครงั้ ไม่ วา่ จะใช้ข้อมลู ในปัจจุบันหรืออนาคตกต็ าม 6. การสรุปอ้างอิง (generalization) สมมติฐานท่ีตั้งข้ึนเมื่อทาการทดสอบแล้วสามารถ นาไปใช้อธบิ ายปรากฎการณ์หรอื สภาพการณท์ เี่ ป็นปัญหา หรือสภาพการณ์ทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั ได้ ขอ้ เสนอแนะในการเขยี นสมมตฐิ านการวจิ ัย ในการเขียนสมมติฐานการวิจัยที่ดีน้ัน ธวัชชัย วรพงศธร (2540) ได้เสนอว่าผวู้ ิจัยควร ปฏิบัติดงั นี้ 1. เขียนสมมติฐานการวิจัยเป็นประโยคบอกเล่าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรต้นและตัวแปรตาม พร้อมทั้งระบุทิศทางความสัมพันธ์ หรือทิศทางของความแตกต่างใน ลักษณะการเปรียบเทียบไดช้ ัดเจน 2. ประโยคของสมมติฐานควรเป็นข้อความที่ส้ัน ใช้ภาษาท่ีอ่านเข้าใจง่าย ไม่ กากวม 3. หากมีส่ิงที่ต้องพิสูจน์ในหลายประเด็น ควรแยกเขียนสมมติฐานเป็นข้อๆเพื่อให้ สะดวกในการทดสอบ 4. สมมติฐานที่ตั้งขึ้น ควรเรียงลาดับข้อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยท่ีต้ัง ไว้ เพ่ือจะเป็นแนวทางทด่ี ีสาหรับการวางแผนการทดสอบสมมตฐิ านในภายหลงั 5. สมมติฐานที่ตั้งต้องเป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องและอยู่ในกรอบของปัญหาการวิจัย เทา่ น้นั 6. ภายหลังจากการเขยี นสมมติฐานแล้ว ควรพิจารณาว่าทุกสมมตฐิ านนั้นสามารถ ทดสอบได้ ประโยชน์ของสมมตฐิ านการวิจยั ได้มีผู้กล่าวถึงประโยชน์ของการต้ังสมมติฐานไว้หลากหลาย (เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, ศิริพร ขัมภลิขิต และทัศนีย์ นะแส, 2539;ธวัชชัย วรพงศธร, 2540; สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ ,2538). ซ่งึ พอสรปุ ไดด้ ังน้ี 1. ช่วยให้ผู้วิจัยมองเห็นขอบเขตของตัวแปรท่ีสาคัญ ข้อมูลท่ีจะเก็บรวบรวม รวมท้ังช่วยในการหาเคร่ืองมือท่ีเหมาะสมในการวัด วิธีการเก็บข้อมูลและเลือกสถิติมาใช้ได้ อย่างเหมาะสม 2. ช่วยให้ผู้วิจยั สามารถเชื่อมโยงแนวความคิดและตัวแปรในสมมติฐานกับแนวคิด ทางทฤษฎีทเี่ กี่ยวขอ้ งได้ชัดเจนทาใหง้ า่ ยในการอธบิ ายผลการวิจยั 3. ทาให้ผู้วิจัยสามารถสร้างทฤษฎีใหม่ได้ รวมท้ังสามารถทดสอบทฤษฎีเก่าเพ่ือ ยนื ยันความถกู ตอ้ งและความทนั สมยั ของทฤษฎที ี่มอี ยู่ได้ 4. ช่วยให้ประหยัดเวลาและแรงงาน เพราะสมมติฐานช่วยกาหนดขอบเขตและ ชีใ้ ห้เหน็ ปัญหาทแี่ ท้จรงิ จึงทาใหก้ าจัดตัวแปรท่ไี ม่เกยี่ วขอ้ งออกไปจากเรอ่ื งทก่ี าลงั ศกึ ษา
29 อย่างไรก็ตาม แม้ว่าสมมติฐานในการวจิ ัยจะมีความสาคัญและเป็นประโยชน์ในการวิจัย แต่การวิจัยบางลักษณะเช่น การวิจัยแบบสารวจ ผู้วิจัยไม่จาเป็นต้องตั้งสมมติฐานก็ได้ หรือถ้า งานวิจัยเร่ืองนั้นยังไม่มีความรู้ทางทฤษฎีหรือมีงานวิจัยท่ีศึกษาในเร่ืองนั้นมาก่อน จาเป็นต้อง อาศัยการสารวจจากงานวิจัยนี้เพื่อให้ได้แนวความคิดหรือข้อเท็จจริง ก็ไม่จาเป็นต้อง ต้ังสมมติฐานในงานวิจยั นน้ั อาจเขยี นเพียงคาถามการวจิ ัยก็เพยี งพอแลว้ การกาหนดขอบเขตการวจิ ยั การกาหนดขอบเขตการวจิ ัยเป็นการระบใุ ห้ทราบว่าหวั ข้อปญั หาท่ีวจิ ยั นี้ มี ขอบขา่ ยของการศกึ ษากวา้ งมากน้อยเพยี งใด เนอื่ งจากผ้วู ิจัยไมส่ ามารถทาการศึกษา ค้นควา้ ไดค้ รบถ้วนทกุ แงท่ ุกมุมของปญั หานน้ั และไมส่ ามารถศึกษากับประชากรที่ ครอบคลุมทั้งหมด จงึ ตอ้ งกาหนดขอบเขตให้ชดั เจน เพื่อให้สามารถมองปญั หาให้ แจม่ ชัดขน้ึ ทาใหม้ องแนวทางในการศึกษาได้ตรงจดุ การเขยี นขอบเขตการวจิ ัย จากดั ในดา้ นตอ่ ไปน้ี 1. ประชากร โดยระบุวา่ ประชากรเปน็ ใคร มีจานวนเท่าใด ทีใ่ ด 2. กลุ่มตัวอยา่ ง ระบวุ ่ามีจานวนเทา่ ใด 3. ตัวแปร ระบตุ วั แปรอสิ ระและตวั แปรตามอะไรบ้าง ตัวอยา่ ง ในการวิจัยคร้งั น้ี ผ้วู จิ ยั กาหนดขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้ ดงั น้ี 1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ต่อเน่ือง) ที่ศึกษาในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ปี การศึกษา 2562 จานวน 1,500 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี เป็นท่ีศกึ ษานักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ต่อเน่ือง) ในวิทยาลัยพยาบาล สังกดั สถาบันพระบรมราชชนก ปี การศกึ ษา 2562 จานวน 500 คน 3. ตวั แปร ตวั แปรทีใ่ ช้ในการศกึ ษา มดี ังน้ี ตัวแปรอสิ ระ ไดแ้ ก่ วิธีการจดั กิจกรรมนักศึกษา ตวั แปรตาม ได้แก่ เจตคตติ ่อการจดั กิจกรรมนักศกึ ษา การกาหนดข้อตกลงเบื้องต้น การกาหนดข้อตกลงเบ้ืองต้น หมายถึง ข้อตกลงบางประการท่ีเกี่ยวกับเรื่องท่ีวิจัย ที่ผู้วิจัย เขียนข้ึน เพ่ือใหผ้ ู้อ่านเกิดความเข้าใจตรงกันร่วมกบั ผู้วิจัย และยอมรับข้อตกลง ท้ังนี้ผู้วจิ ัยไม่สามารถ ล่วงรู้ หรือไม่สามารถควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนให้หมดไปได้ ในบางกรณี ทั้ง ๆ ที่พยายามควบคุมอยู่ แล้ว หัวขอ้ นอี้ าจมีหรือไม่มีกไ็ ด้
30 ตวั อยา่ ง การทานายผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท กาหนดขอ้ ตกลง ดงั นี้ 1. หลักการวัดผลของอาจารย์ผสู้ อนทกุ ทา่ นเป็นมาตรฐานเดียวกนั เชื่อถอื ได้ 2. แต้มเฉลย่ี ในวิชาทเี่ ปน็ วชิ าชีพพยาบาล เป็นคะแนนทีใ่ ชว้ ดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นวิชาพยาบาลได้จรงิ 3. นักศึกษาที่เขา้ ศกึ ษาในปีการศกึ ษา 2560, 2561, และ 2562 ๔ การกาหนดตวั แปร ตัวแปร (Variables) หมายถึง คณุ ลักษณะหรอื คุณสมบัตขิ องส่ิงต่างๆ ที่มีชีวิตหรือไม่มี ชีวิต สามารถนามาศึกษา วัดได้ นับได้ แจกแจงได้ เปล่ียนแปลงได้หรือเปล่ียนค่าได้ (ธวัชชัย วรพงศธร, 2540) ซึ่งสามารถจาแนกประเภทของตัวแปรได้หลายลกั ษณะได้แก่ 1) ตัวแปรต้นและ ตวั แปรตาม 2) ตัวแปรเชงิ ปริมาณและตัวแปรเชิงคณุ ลกั ษณะ 3) ตัวแปรชนิดอ่นื ๆ ตวั แปรต้นและตัวแปรตาม ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ(Independent variables) หมายถึงตัวแปรที่ทาให้ส่ิงท่ี เก่ียวข้องอยูด่ ว้ ยแปรเปล่ยี นคา่ หรอื คณุ ลกั ษณะไป ตัวแปรตาม (Dependent variable) หมายถึงตัวแปรท่ีต้องข้ึนอยู่กับส่ิงใดส่ิงหนึ่ง หรือตัว แปรท่ีต้องแปรเปลีย่ นคา่ ไปตามอทิ ธิพลของตัวแปรอิสระหรือตวั แปรตน้ ถ้าจะให้ความหมายตัวแปรต้นและตัวแปรตาม ตามความหมายเชิงเหตุและผล อาจกล่าวได้ ว่า ตัวแปรต้นคือตัวแปรเหตุและตัวแปรตามคือตัวแปรผล ตัวอย่างเช่น การศกึ ษาว่าการสูบบหุ รี่ทา ให้เป็นมะเร็งท่ีปอดหรือไม่ ตวั แปรการสูบบุหร่ี (คา่ ของตัวแปรที่เป็นไปได้ คือ สบู หรือ ไมส่ บู ) จะเปน็ ตัวแปรเหตุ ตัวแปรการเป็นมะเร็งปอด (ค่าของตัวแปรที่เป็นไปได้คือ เกิดโรคมะเร็งปอด หรือ ไม่เกิด โรคมะเร็งปอด) เปน็ ตวั แปรผลหรอื ตวั แปรตาม ในงานวิจยั เชิงทดลอง สิ่งที่ผูว้ ิจัยจัดกระทาเพ่ือการทดลองเป็นตวั แปรอิสระ เชน่ ถ้าตอ้ งการ ทดลองวา่ การใหส้ ารไอโอดีนเพมิ่ ขึ้นในเด็กประถมสามารถลดการเกิดโรคคอพอกของเด็กในภาคอีสาน ได้หรือไม่ การจัดการทดลองโดยให้มกี ารเติมสารไอโอดีนในน้าด่ืมที่เราจดั ขึ้นเป็นตัวแปรอิสระ และ ผลทีเ่ กิดขึ้นจากการเตมิ สารไอโอดนี ในนา้ ดืม่ เป็นตัวแปรตาม จากคุณลักษณะของตัวแปรต้นและตัวแปรตาม เราสามารถสรุปความแตกต่างระหว่างตัว แปรตน้ และตวั แปรตามได้ดงั นี้ ลกั ษณะตัวแปรต้น ลกั ษณะตวั แปรตาม - เป็นตวั แปรเหตุ - เปน็ ตวั แปรผล - เป็นตวั แปรท่ีมาก่อน - เปน็ ตัวแปรทีเ่ ป็นผลตามมา - เปน็ ตวั แปรจัดกระทา - เป็นตัวแปรท่วี ัดไดจ้ ากการ ทดลอง - เปน็ ตวั ทานาย - เปน็ ตวั แปรที่ถกู ทานาย
31 1. ตวั แปรเชงิ ปริมาณและตัวแปรเชงิ คณุ ลักษณะ ตัวแปรเชิงปริมาณ (Quantitative variables) หมายถึง ตัวแปรที่สามารถเก็บข้อมูลออกมาเป็น จานวน หรือตวั เลขท่ีนบั ได้ ตัวแปรเชิงคุณลักษณะ (Qualitative variables) หมายถึง ตัวแปรตัวแปรทไี่ ม่สามารถเก็บข้อมูล ออกมาเป็นจานวน แต่เก็บข้อมูลออกมาได้ในเชิงคุณลักษณะแล้วกาหนดรหัสเป็นตัวเลขแทน คุณลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกันได้เช่น เพศ กาหนดให้ เพศชาย = 0 เพศหญงิ = 1 ตัวอยา่ งเชน่ ตัวแปรเชิงปริมาณ ตัวแปรเชิงคณุ ลักษณะ อายุ นา้ หนัก เพศ เชือ้ ชาติ ส่วนสงู ศาสนา อาชีพ ระดบั ความดนั โลหิต ชื่อโรค 2. ตัวแปรอื่นๆ ประกอบด้วย ตัวแปรแทรก (intervening variables) หมายถึง ตัวแปรท่ีอยู่ระหว่างความสัมพันธ์ของตัว แปรตน้ และตวั แปรตาม ซ่ึงมีส่วนชว่ ยทาให้ตัวแปรต้นมีความสมั พันธก์ บั ตัวแปรตาม ตวั อย่างเชน่ ถ้า ต้องการศึกษาว่าการสูบบุหรี่ทาให้เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือไม่น้ัน จะเห็นได้ว่าการดื่มสุรา มี ความสัมพันธก์ ับการเกิดโรคกล้ามเน้ือหัวใจตาย โดยคนทดี่ ่ืมสุราร่วมกับการสูบบุหรี่ยอ่ มมีความเสี่ยง ท่เี กิดโรคกลา้ มเนื้อหัวใจตายมากกว่าคนท่ไี ม่ด่ืมสุรา ดังนัน้ การด่มื สรุ าเป็นตัวแปรแทรก ตวั แปรควบคุม (control variables) หมายถึง ตวั แปรท่ีนกั วิจัยนาเข้ามาศกึ ษา แต่ได้จัดการ ควบคุมมิให้มีผลต่อตัวแปรตาม การท่ีต้องนาเอาตัวแปรควบคุมเข้ามาศึกษาด้วยเพราะว่าต้องการ ตรวจสอบวา่ ตวั แปรตน้ และตวั แปรตามทีศ่ กึ ษาอยู่มีความสมั พันธก์ ันอยา่ งแทจ้ รงิ หรือไม่ ในการทาวิจัย ผู้วจิ ัยควรระบุประเภทของตัวแปรให้ได้อย่างชัดเจนเพ่ือให้สามารถคาดการณ์ ความสัมพันธข์ องตวั แปรตา่ งๆและไดแ้ นวทางท่จี ะดาเนนิ การวจิ ัยเพอื่ หาคาตอบตอ่ ไป การให้คานิยามตวั แปร (definition of terms) การกาหนดตัวแปรให้ชัดเจนทาให้ง่ายต่อการสร้างเครื่องมือวัดและกาหนดวิธีการวัดตัวแปร ได้ อย่างไรก็ตาม ในการนิยามตัวแปรจะต้องไม่ให้ขัดกับแนวคิดทฤษฎีที่นามาเป็นกรอบแนวคิดใน การทาวิจัย ดังนั้น การนิยามตัวแปรในการวิจัยต้องพิจารณาประเด็น 2 ประการคือ ประเภท คาศัพท์ท่ตี ้องใหน้ ยิ ามและวธิ กี ารใหค้ านิยาม 1. ประเภทคาศพั ท์ท่ีตอ้ งใหน้ ิยาม คาหรอื ข้อความท่คี วรให้คานิยามแบ่งออกได้ 4 กลมุ่ คือ 1.1 คาศัพท์ทางวิชาการ หมายถึงคาหรือข้อความท่ีรู้เฉพาะสาขาวิชา รวมทั้งคาศัพท์ที่รู้ เฉพาะนกั วิชาการเทา่ นน้ั เช่น ภาวะเจรญิ พนั ธ์ุ การพยาบาล เปน็ ตน้ 1.2 คาศัพท์ที่มีหลายความหมาย หมายถึง คาหรือข้อความท่ีมีความหมายแตกต่างตาม สาขาวิชาหรือตามเหตกุ ารณ์ เชน่ หน่วยงาน ผ้บู งั คับบัญชา เปน็ ต้น 1.3 คาศัพท์ท่มี ีความหมายไมแ่ นน่ อน คือคาศัพท์ทย่ี ังไม่เข้าใจหรือเข้าใจไม่ตรงกัน ต่างคน ต่างให้ความหมาย แล้วแต่จะยึดทฤษฎแี ละหลกั เกณฑ์อย่างไร เช่น ความเครียด ความพึงพอใจ เป็น ตน้ 1.4 คาหรือข้อความที่เป็นวลียาว ๆ เช่น งานวิจัยเร่ือง “ความคิดเห็นต่อระบบการรักษา ฟรีของนักศึกษาแพทย์” การนิยามศัพท์ก็จะใช้คาหลัก คือ นักศึกษาแพทย์ และนิยามว่าหมายถึง
32 นักศึกษาที่กาลังศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 5 ในโรงเรียนแพทย์ท้ังหมดในประเทศ ไทย 2. วิธีการใหค้ านิยาม การใหค้ านิยามตวั แปรอาจทาได้ 2 ลกั ษณะคอื 2.1 การให้คานิยามเชิงแนวคิด (Conceptual definition) เป็นการกาหนดความหมาย ของตัวแปรตามแนวคิดทฤษฎีท่ีนามาใช้ในการวิจัย ซ่ึงเหมือนกับการให้ความหมายในหนังสือ ปทานุกรม 2.2 การให้คานิยามเชิงปฏิบัติการ (Operational definition) เป็นการให้คานิยามหรือ ความหมายท้ังในแง่ความสมบูรณ์ถูกต้องตามเน้ือหา บ่งบอกอาการ ระบุกิจกรรม หรอื พฤติกรรม ซึ่ง สามารถวัดและสังเกตได้ เช่น การวิจัยเรื่อง “คุณภาพชีวิตนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์ มิคมหาวิทยาลัยพายพั ” (พิมพ์จันทร์ ไชยกณั ฑา, 2540) ได้ให้นิยามของคาว่า คุณภาพชีวิต ถ้า ให้คานิยามเชงิ แนวคดิ ต่าง ๆ สามารถนิยามไดด้ ังน้ี คณุ ภาพชีวิต หมายถึงความพึงพอใจในชีวิต การกินดีอยู่ดี มีสุขภาพแข็งแรง การมีเศรษฐกิจ ดี มีชีวิตท่กี ลมกลืนกับครอบครัว ชุมชนและส่ิงแวดล้อม (อัญชลี ตรติ ระการ, 2540 อ้างใน พิมพ์ จนั ทร์ ไชยกัณฑา, 2540) คุณภาพชีวิต หมายถึง องค์ประกอบทั้งหลายท่ีให้ความพึงพอใจแก่บุคคลทั้งทางร่างกาย และจิตใจในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ (Wallace, 1974 อา้ งใน พิมพ์จนั ทร์ ไชยกัณฑา, 2540) คุณภาพชีวิต หมายถึง ระดบั บุคคลมีความพึงพอใจในชีวิต ท่ีเกิดข้ึนในแต่ละบุคคล อันเป็น ผลจาก ปัจจัยพื้นฐานบุคคล สภาวะสังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและอายุ มีอิทธิพลต่อการรับรู้ จากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสิ่งแวดล้อม ซึ่งประเมินได้ท้ังด้านวัตถุวิสัยและจิตวิสัย ประกอบด้วย 4 ด้านได้แก่ด้านความพึงพอใจ ด้านอัตมโนทัศน์ ด้านสุขภาพและการทางานของ รา่ งกาย และดา้ นสงั คมเศรษฐกจิ (Zhan, 1992 อ้างใน พิมพจ์ ันทร์ ไชยกณั ฑา, 2540) จะเห็นได้ว่าการให้คานิยามเชิงแนวคิด ผู้วิจัยอาจได้ข้อสรุปว่า คุณภาพชีวิตเป็นการรับรู้ ความพึงพอใจในตัวบุคคลและส่ิงแวดล้อม แต่ยังไม่สามารถที่จะระบุได้ว่าจะวัดและสังเกตได้ว่า นกั ศึกษาพยาบาลมีคุณภาพชวี ิตท่ีดหี รอื ไมอ่ ย่างไร ดังนนั้ ผ้วู จิ ัยจะต้องใช้แนวคดิ เหล่านี้ช่วยกาหนด คานิยามเชิงปฏิบัติการของ คุณภาพชีวิตของนักศึกษาพยาบาล ซึ่งอาจสามารถให้คานิยามเชิง ปฏบิ ัตกิ ารที่ใช้ในการศึกษาไดว้ า่ “คุณภาพชีวติ ของนักศึกษาพยาบาลหมายถึง ความรสู้ ึกพอใจของนักศึกษาพยาบาลที่มตี ่อ ความเป็นอยูห่ รือการดาเนินชวี ิตของตนเองในระหว่างศึกษาในคณะพยาบาลศาสตร์แมคคอรม์ ิค มหาวทิ ยาลยั พายัพ โดยผ่านการรบั รู้และประเมนิ ด้วยตนเอง ซึง่ สามารถวดั ได้ดว้ ยแบบวดั คุณภาพ ชีวิตทผี่ ู้ศกึ ษาสรา้ งขน้ึ โดยประยกุ ตจ์ ากแนวคิดของ ชาน (Zhan, 1992)” ๕ การทบทวนวรรณกรรม การทบทวนวรรณคดีที่เกี่ยวข้อง (the review of the related literature) เป็นส่วนหนึ่ง ของการศึกษาข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพราะการทบทวนวรรณคดีท่ีเกี่ยวข้องในการวิจัยเป็นการศึกษาเชิง ทฤษฎี ผลงานวิจัย หรือรายงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับแนวคิดทฤษฎีในการทาวิจัย โดยศึกษาจาก วารสาร หนังสือตารา รายงานการวิจัย จดหมายเหตุ หรือแหล่งความรู้อื่น ๆ การทบทวน วรรณคดีท่ี เก่ียวข้องจึงเป็นการศึกษาค้นคว้าข้อเท็จจริง แนวคิด ทฤษฎี ผลงานวิจัย แบบจาลองความคดิ (model) กรอบแนวคิดทสี่ นบั สนนุ หรอื เกี่ยวข้องกับการวิจยั (วิจิตร ศรีสุพรรณ,
33 2545) วัตถุประสงค์หลักของการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้องคือ เพ่ือท่ีจะศึกษาว่าประเด็นท่ี ผู้วิจัยสนใจศึกษานั้นมีผู้เคยศึกษาหรือเขียนแนวคิด ทฤษฎีไว้บ้างหรือไม่ ซึ่งนักวิจัยอาจศึกษาจาก บทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ วิทยานิพนธ์ หนังสือตารา หรือเอกสารอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ต่างๆ แนวปฏิบตั ิ มาตรฐานต่างๆ เป็นตน้ ประโยชน์ของการทบทวนวรรณคดีท่เี กย่ี วข้อง การทบทวนวรรณคดที ีเ่ กี่ยวขอ้ งมปี ระโยชนอ์ ย่างมากสาหรับนกั วจิ ัย เพราะการทา วจิ ยั จะต้องยึดหลักความมีเหตุผลในทกุ ขั้นตอนของการดาเนนิ การ เหตุผลท่ีนามาใช้ในแตล่ ะข้ันตอน ของการทาวิจัยได้มาจากการทบทวนวรรณคดีท่ีเกี่ยวข้องนั้นเอง ประโยชน์ของการทบทวนวรรณคดี ท่ีเกี่ยวข้องมีหลายด้าน ซ่ึงสามารถสรุปได้ดังน้ี (ภัทรา นิมาคม, 2539 และ สิน พันธ์ุพินิจ, 2549) 1. ชว่ ยกาหนดปัญหาการวิจัยและได้ข้อมูลท่ีจะชว่ ยให้ปัญหาการวิจัยน้ันมีความชัดเจนข้ึน การทบทวนวรรณคดีที่เก่ียวข้องเป็นการรวบรวมความรู้และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งสามารถนามาเป็น เหตุผลในการพิจารณาเลือกปัญหาในการวิจัย และการตั้งปัญหาในการวิจัยได้ ตลอดจน ช่วยให้ ผู้วิจัยมีข้อมูลประกอบในการท่ีจะปรับเปลี่ยนปัญหาให้มีความชัดเจน และเป็นปัญหาท่ีจะนามาทา การวจิ ยั ได้จรงิ 2. ช่วยให้ผู้วิจัยสามารถกาหนดกรอบทฤษฎีสาหรับปัญหาที่นามาทาการวิจัยได้ เพราะ การศึกษากรอบแนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ และผลการวิจัยที่เก่ียวข้องอย่างละเอียด จะช่วยทาให้สามารถ พิจารณากาหนดกรอบของทฤษฎีได้อย่างชัดเจนว่าจะต้องใช้ทฤษฎีใดมาประกอบกัน หรือจะยึดตาม ทฤษฎใี ดทฤษฎีหน่ึง 3. ช่วยให้ผู้วิจัยทราบว่า เคยมีใครทาการวิจัยในขอบเขตของปัญหานี้มาบ้างเพื่อท่ีจะได้ไม่ ทาการวิจัยซ้าในปัญหาเดียวกัน เป็นการลดการทาวิจัยซ้าซ่ึงจะเป็นการช่วยป้องกันการสูญเสียเวลา และงบประมาณคา่ ใช้จา่ ยในการทางานวจิ ยั 4. ชว่ ยช้ีให้เห็นความเป็นไปได้ในการทาวิจัย เนอื่ งจากการทบทวนวรรณคดที ี่เกยี่ วข้องอาจ ทาให้ผู้วจิ ัยได้พบข้อบกพรอ่ งหรืออุปสรรคในการทางานวจิ ัยท่มี ีลักษณะการออกแบบวิจัยท่ีคล้ายคลึง กบั การวิจัยที่จะทา ซ่ึงจะช่วยในการตัดสินใจของผ้วู ิจัยวา่ จะทาการวิจัยในปัญหาน้ันหรอื ไม่ หรือจะ ป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ ปัญหานัน้ อย่างไร 5. ช่วยให้ผู้วิจัยได้ทราบถึงวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่ได้มีผู้ทาการวิจัยไว้แล้ว อนั จะเปน็ แนวทางในการวางแผนดาเนินการวิจัย และการเลือกหรอื การสร้างเครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการเก็บ รวบรวม ขอ้ มลู รวมทง้ั ยงั เปน็ แนวทางในการวิเคราะห์ข้อมลู ดว้ ย 6. ช่วยทาให้ผู้วิจัยสามารถเชื่องโยงผลการวิจัยท่ีจะทาออกมากับแนวคิดทฤษฎีหรือ ผลงานวิจัยท่ีได้เคยมีผู้ทาการศึกษาไว้แล้ว ซ่ึงจะเป็นแนวทางในการสร้างทฤษฎีขึ้นมาใหม่หรือการ ทดสอบทฤษฎที ีม่ อี ยูไ่ ด้
34 วรรณกรรมทนี่ ักวจิ ัยควรเลือกทบทวน บทประพันธ์ต่าง ๆ ที่มีการตีพิมพ์ มีความแตกต่างท้ังในด้านคุณภาพและเป้าหมายผู้อ่าน นักวิจัยจึงควรเลือกวรรณกรรมท่ีเหมาะสม โดยทั่วไปวรรณกรรมทางวิชาการจาแนกออกเป็น 5 ประเภท (Polit & Hungler, 1999) คือ 1. รายงาน ผลการวิจัย (research findings) ข้อเท็ จจริง (facts) และสถิติต่าง ๆ (statistics) รายงานวิจัยเป็นแหล่งสาคัญท่ีช่วยให้ผู้วิจัยทราบว่าองค์ความรู้เร่ืองนั้นเป็นอย่างไร มา จากแหลง่ ใด ใช้กรอบแนวคดิ ใด รวมทั้งวธิ กี ารวจิ ยั 2. ทฤษฎี (theory) งานวรรณกรรมประเภทน้ีมีประโยชน์มากต่อผู้วจิ ัยในด้านการให้กรอบ แนวคดิ และการชนี้ าปัญหาการวจิ ัย 3. ระเบียบวิธีการ (methodology) นอกจากบริบทเกี่ยวกับเร่ืองที่ผู้วิจัยสนใจแล้ว การท่ี จะได้มาซึ่งความรู้นั้นๆ ก็เป็นสิ่งสาคัญท่ีผู้วิจัยควรให้ความสาคัญด้วยเช่นกัน เช่นระเบียบวิธีการวิจัย ตา่ งๆ เคร่ืองมอื วดั ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 4. ความคิดเห็นและทัศนคติ (opinion and viewpoints) วรรณ กรรมเหล่านี้จะมี ประโยชน์ในด้านการกาหนดแนวคดิ และปญั หาการวิจัย 5. รายงานกรณีศึกษา (case reports) บทความเกี่ยวกับสถานการณ์ทางคลีนิก (clinical descriptions) และบันทึกประสบการณ์ (anecdotes) วรรณ กรรมประเภทน้ีมักมาจาก ประสบการณข์ องผู้เขียน ซึง่ เป็นส่วนสะทอ้ นปัญหาทางคลินิกท่เี กิดข้ึน งานวรรณกรรมประเภทน้ีจะ ชว่ ยจุดประกายความคดิ ในการหาปัญหา และแนวทางในการทาวิจัยใหแ้ กผ่ วู้ ิจยั ได้ วธิ ีการทบทวนวรรณคดที ี่เกี่ยวขอ้ ง การทบทวนวรรณคดที เ่ี กยี่ วขอ้ งในการวจิ ัยเป็นการศกึ ษาขอ้ เทจ็ จรงิ แนวคิด ทฤษฎีและผลการวจิ ัย ดงั นัน้ จะเหน็ วา่ มสี ง่ิ ท่ตี ้องศกึ ษาเปน็ จานวนมาก โดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งในปจั จบุ ันนีไ้ ดม้ ีการทาวิจยั กันมาก ผลการวจิ ยั บางเรอื่ งก็มคี วามเกีย่ วขอ้ งกบั งานของผวู้ ิจยั มาก แตบ่ างเรื่องก็มคี วามเกย่ี วขอ้ งเพียงเล็กน้อย ดงั นัน้ ผู้วิจยั จงึ จาเปน็ ตอ้ งเลือกทบทวนวรรณคดีทเี่ กย่ี วข้องในการวิจัยทมี่ คี วามเกย่ี วข้องมากท่ีสุด วธิ ีการทบทวนวรรณคดีท่ี เกีย่ วขอ้ งประกอบด้วย 5 ข้ันตอนดงั น้ี (Carnwall & Daly, 2001) 1. กาหนดเร่ืองและขอบเขตเรื่องที่จะทบทวน ผู้ที่เร่ิมทางานวิจัยใหม่ๆ อาจมีความ ยากลาบากในการกาหนดเร่ืองที่จะศึกษาให้ชัดเจน ซ่ึงการอ่านวรรณกรรมประเภททฤษฎีจะช่วยให้ นกั วจิ ัยสามารถกาหนดเรื่องท่ีจะวิจัยได้ชัดเจนยิ่งข้ึน สาหรับขอบเขตเรื่องที่จะค้นนั้น ข้ึนกับปัจจัยที่ เก่ียวข้องกับเรื่องที่สนใจศึกษา และพ้ืนฐานความรู้ของนักวิจัยเอง ถ้าเป็นเรื่องท่ีมีปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง จานวนมากผู้วิจัยจะต้องกาหนดขอบเขตการสืบค้นให้กว้างขวางและครอบคลุมทุกปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง ผู้วจิ ัยมือใหม่อาจต้องกาหนดขอบเขตการสืบค้นในช่วงเริม่ ต้นไว้กว้างและครอบคลุมสาระท่ีจะเป็นพ้ืน ฐานความรู้ในเรื่องท่ีจะศึกษามากกว่านักวิจัยท่ีมีประสบการณ์มาแล้ว เพ่ือให้ได้สารสนเทศท่ีสะท้อน องค์ความรู้ในเร่ืองที่เกี่ยวข้องให้มากที่สุด อย่างไรก็ตาม คุณภาพของการทบทวนวรรณกรรมท่ี
35 เกยี่ วข้องไมไ่ ด้ขึ้นอยูก่ ับจานวนวรรณกรรม แตข่ ึ้นกับสาระทเ่ี ก่ียวข้องกับเร่อื งที่นักวจิ ัยสนใจจะศกึ ษา และคุณภาพของวรรณกรรมทนี่ ักวจิ ยั ได้นามาทบทวน 2. กาหนดแหล่งสารสนเทศท่ีจะสืบค้น เนื่องจากความก้าวหน้าในด้านวิทยาการ คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ การสืบค้นในปัจจุบันจึงนิยมสืบค้นทางระบบฐานข้อมูล อิเล็คโทรนิค ซ่ึงสะดวก รวดเร็วและสามารถสืบค้นได้ลึกซึ้งมากกว่าการสบื ค้นด้วยมือ อย่างไรก็ตาม สาหรบั ผลงานวจิ ยั ท่ดี าเนินการโดยนักวิจยั ไทย และวารสารที่ตพี มิ พใ์ นประเทศไทยหลายฉบับยังไมไ่ ด้ นาเขา้ ส่รู ะบบฐานขอ้ มลู อิเลค็ โทรนิค ดังนั้น การสืบค้นด้วยมือจากตู้บัตรรายการหนังสอื ในห้องสมุด และมุมดัชนีวารสารภาษาไทยในห้องสมดุ ทีผ่ ูว้ ิจัยไปใช้บรกิ ารยงั เป็นสง่ิ ทยี่ งั ต้องทาอยู่ ฐานข้อมูลอิเล็คโทรนิคท่ีสาคัญสาหรับนักวิจัยทางการพยาบาลคือ CINAHL (Cumulative Index to Nursing and Allied Health Literature) แ ล ะ MEDLINE (Medical Literature On Line) ผู้วิจัยจะสามารถสืบค้นฐานข้อมูล MEDLINE ได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่จะเข้าถึงได้เฉพาะ หัวเรื่องและบทคัดย่อเท่านั้น หากต้องการบทความเต็มฉบับ (full text) จะต้องส่ังซื้อภายหลัง โดยทัว่ ไปสถานศกึ ษาและสถาบันวิจยั หลายแหง่ ได้จัดทาฐานข้อมูลงานวิจยั ของสถาบันขึ้น และยังได้ เป็นสมาชิกฐานข้อมูลอิเล็คโทรนิคเพ่ืออานวยความสะดวกแก่นักวิจัยในสังกัดได้สืบค้นด้วยด้วย ซ่ึง ในลักษณะน้ี ผู้วิจัยสามารถอ่านบทความเต็มฉบับได้ ได้เป็นสมาชิกฐานข้อมูลหลายฐานข้อมูล รวมท้ังฐานข้อมูลหนังสืออิเล็คโทรนิค (e-book) ด้วย นอกจากน้ี สามารถใช้ฐานข้อมูลของสถาบัน อ่นื ๆ ทงั้ ในและนอกประเทศได้อกี ดว้ ย แหลง่ 1. ฐานข้อมลู สาหรับสืบคน้ รายชื่อ หนงั สือและส่งิ พิมพ์ในห้องสมุดของวทิ ยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท 2. Electronic Databases เป็นฐานขอ้ มูลวารสาร หนงั สือ และวิทยานพิ นธอ์ อนไลน์ สาหรบั ฐานข้อมลู ท่เี ก่ียวขอ้ งกับทางการพยาบาลมีหลายฐาน เช่น CINAHL, Science Direct, H.W. Wilson, ProQuest Digital Dissertation, Wiley InterScience, Springer link และ ฐานขอ้ มลู วิทยานิพนธ์ไทย เป็นตน้ เทคนิคการสืบค้นน้ัน ผู้วจิ ัยจะต้องกาหนดคาสาคัญที่เกยี่ วขอ้ งกับเร่ืองท่ีตนเองจะศึกษา และ ใช้เครื่องหมายประกอบ เพื่อกาหนดขอบเขตการค้น เช่น “..”, and, or, not บางแห่งอาจสามารถ ใช้เครื่องหมาย “+” แทน คาว่า “and” ซ่ึงแต่ละฐานข้อมูลจะมีคาอธิบายวิธีใช้ เพ่ือให้ผู้ใช้ทาการ สืบค้นที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้อาจต้องกาหนดขอบเขตด้านเวลา เช่น บทความท่ีตีพิมพ์ในช่วง 5 ปีหลัง คือปี 2014 – 20219 เพื่อให้ได้บทความท่ีทันสมัย หากผู้วิจัยทราบช่ือนักวิชาการท่ีมี ความเชี่ยวชาญในเร่ืองที่จะศึกษา ก็สามารถท่ีจะสืบค้นจากฐานข้อมูลเหล่านี้โดยใช้ช่ือและเรื่องที่ ตอ้ งการสบื ค้นได้ การเลือกบทความท่ีเก่ียวข้องเป็นสิ่งจาเป็น เพื่อให้ได้บทความท่ีเกี่ยวข้องจริงๆ กับเรื่องที่ นักวิจัยสนใจและเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการพิมพ์สาเนาบทความ ผู้วิจัยควรอ่าน บทคัดย่อก่อนตัดสินใจสั่งซื้อหรือพิมพ์บทความน้ันออกมา ควรเลือกวรรณกรรมท่ีมาจากแหล่งปฐม ภูมิมากท่ีสุด ประการสาคัญคือ ผู้วิจัยไม่ควรรีบร้อน การรีบร้อนทาให้ไม่สามารถสืบค้นเอกสารได้ ลึกซ้ึงเพียงพอ และมีแนวโน้มที่จะเลือกใช้วรรณกรรมท่ีมาจากแหล่งทุติยภูมิ (Leedy, 1993) นอกจากนี้ ผู้วิจัยอาจได้ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะสะท้อนสภาวะท่ีแท้จริงขององค์ความรู้ที่เก่ียวกับการ วิจยั ของตน หรืออาจทาใหผ้ ูว้ ิจัยสรุปสาระสาคัญผิดเพ้ียนไปจากต้นฉบับ ทาใหง้ านวจิ ยั ที่จะทาซา้ ซ้อน กบั ผอู้ ่ืน หรอื ไม่ทันสมัย หรือขาดความเที่ยงตรง ไมเ่ ปน็ ทนี่ ่าเชอื่ ถอื
36 3. ทบทวนวรรณกรรม อา่ น วิเคราะห์ พิจารณาความน่าเช่ือถือ ในการอ่านรายงานวิจัย ผู้วิจัยจะต้องอ่านให้ละเอียด ตั้งแต่บทนา วิธีการศึกษา ผลการศึกษา การอภิปรายผล และ ขอ้ เสนอแนะ ไมค่ วรสนใจเฉพาะผลการวจิ ัยเท่านั้น เน่ืองจากรายงานการวิจยั ที่ผ่านมาจะใหข้ ้อคิด หลายอย่างแก่นักวิจัย ตั้งแต่เหตุผลการศึกษา การกาหนดปัญหา แหล่งสืบค้นรายงานการวิจัย วธิ ีการวิจัย เคร่ืองมือวิจัย ตลอดจนข้อจากัดต่าง ๆ ของการทางานวิจัย สิ่งเหล่าน้ีจะช่วยให้ผู้วิจัย สามารถทาการวิจัยที่ต่อเนื่องได้โดยไม่ต้องเร่ิมต้นจากศูนย์ และหลีกเล่ียงข้อผิดพลาดที่นักวิจัยอื่นได้ ประสบมาแล้ว ในขณะที่อ่าน จะต้องอ่านอย่างมีวิจารณญาน โดยมุ่งท่ีสาระสาคัญและความ นา่ เชอ่ื ถอื ของวรรณกรรมน้นั ประเด็นสาดัญอีกประเด็นหนึ่งคือ ผู้วิจัยควรบันทึกแหล่งที่มาของวรรณกรรมที่ เลือกทบทวนให้ถูกต้องและครบถ้วน เพ่ือความสะดวกในการเขียนอ้างอิงในภายหลัง นอกจากน้ี ขณะที่อ่านวรรณกรรมที่เลือกมาควรมีการจดสาระสาคัญ ที่เก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีต้องการจะศึกษา การจดข้อความในบัตรบันทึกมากไปหรือทาสีเน้นข้อความในวรรณกรรมที่อ่านมากจะเปรอะเตม็ หน้า จะทาใหผู้วิจัยจะมีข้อมูลมากเกินความจาเป็น ทาให้ไม่สามารถดึงแนวคิดท่ีจาเป็นจากวรรณกรรมชิ้น นัน้ ได้ 4. บันทึกการทบทวนวรรณกรรม ผลลัพธข์ องการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องก็คือ รายงานการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องที่เป็นลายลักษณ์อักษร การเรียบเรียงรายงานการ ทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้องเป็นงานที่ต้องอาศัยความละเอียดและความสามารถของผู้วิจัยในการ มองเห็นภาพรวมของสาระท่ไี ดจ้ ากการอ่านวรรณกรรมที่ตนเลือก ผู้เช่ียวชาญหลายท่านแนะนาการ ทาตารางบันทึก ที่สามารถบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียน จานวนตัวอย่างวิจัย แบบวิจัย เคร่ืองมือและ วิธีวัดตัวแปรที่ศึกษา และผลของการศึกษาหลัก ๆ (วิจิตร ศรีสุพรรณ, 2528, 2545; เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, ศิริพร ขัมภลิขิต, และทัศนีย์ นะแส, 2539; Polit & Hungler, 1999) ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้
ตัวอย่างแบบบนั ทกึ รายงานวจิ ยั ท่ีทบทวน นักวิจยั ปที ี่ เรอ่ื งและ สถานท่ีและ ประชากรวจิ ัย ตวั ตีพมิ พ์ ปัญหา ระยะเวลา การเลอื ก ตวั อยา่ ง และขนาด
37 ขอ้ จากัด วแปรต่างๆ ท่ี เครอ่ื งมอื ท่ี วธิ กี ารรวบรวม ผลการวิจยั และ เก่ยี วขอ้ ง ใช้ ขอ้ มูล ข้อเสนอแนะ 7
38 5. เขียนบททบทวนวรรณกรรม ในการทบทวนวรรณคดีที่เกี่ยวข้องจะมีเอกสารต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเอกสารเหล่านั้นถ้านามาใช้อ้างอิงในเนื้อหาจะยึดหลักเดียวกับการเขียนรายงานทั่วไป สาหรับ เอกสารอ้างอิงหรือบรรนานุกรมต้องเขียนโดยยึดตามรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง สาหรับในท่ีน้ีจะเสนอวิธีการ เขยี นเอกสารอ้างอิง ในการเรียบเรยี งเนื้อหา ผู้วิจัยควรทาเค้าโครงการเขียนเนื้อหาก่อนลงมือเขียน เค้าโครงเน้อื หาจะช่วย ให้ผู้วิจัยสามารถลาดับหัวข้อการนาเสนอท่ีเหมาะสม ในบางเรื่องท่ีเขียนเช่น สาระที่เก่ียวกับประวัติความ เปน็ มา ควรลาดับหัวข้อตามระยะเวลา โดยท่ัวไปแล้ว บททบทวนวรรณกรรมทีเ่ กย่ี วข้องควรครอบคลุมสาระ เก่ียวกับตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตาม ทั้งน้ีเมื่ออ่านรายงาน การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กย่ี วข้องแลว้ ผู้อ่านจะทราบวา่ องค์ความรูใ้ ดทเ่ี ปน็ ทีร่ ู้และยังไม่รู้บา้ ง สาหรับการอ้างอิงผลการวิจัยที่ผา่ นมา นักวิจัยจะต้องนาเสนอรายละเอียดที่เก่ียวกับงานวิจัยท่ีอ้างอิง พอสังเขป และสรุปภาพรวมของผลการวิจัยท่ีพบในรายงานวิจัยที่ทบทวน ในการนาเสนอเน้ือหาในรายงาน ทบทวนวรรณกรรมท่ีเกีย่ วข้อง ควรเขียนด้วยคาพูดของตนเอง ไม่ควรคัดลอกเน้ือหาจากวรรณกรรมที่ทบทวน ทุกคาพูด ในกรณีท่ีต้องการคัดลอกข้อความ หากพบว่ามีจานวนไม่เกิน 40 คา จะต้องใช้เขียนอัญประกาศคู่ กากับ หลกั แนวทางการเขยี นวรรณคดีที่เก่ียวข้อง ในการเขียนวรรณคดีที่เกยี่ วขอ้ ง ผู้วิจยั ควรยึดหลกั ปฏิบตั ดิ ังนี้ 1. สรุปเน้ือหาและแนวความคิดในทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องท้ังหมด โดยจัดเรียงลาดับ ทฤษฎีท่ีเป็นพ้ืนฐาน ของปัญหาในการวิจัย เร่ิมจากทฤษฎีหรือแนวคิดท่ีกล่าวกว้าง ๆ ทั่วไปก่อน แล้วจึงจะกล่าวถึงทฤษฎีเฉพาะ หรือแนวคดิ ท่ีตรงกบั ปัญหาในการวจิ ัย 2. สรุปผลงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับปัญหาในการวจิ ยั พิจารณาเขียนใหผ้ สมผสานกนั ท้งั ของในประเทศ และต่างประเทศ ผลการวิจัยน้ันเอาเฉพาะผลที่เก่ียวข้องเท่านั้น และเขียนตามลาดับเร่ืองที่อ้างอิงถึง โดย การเขยี นรายงานการวิจยั ท่ีเก่ยี วข้องควรระบุถึงสิง่ ต่าง ๆ ที่สาคัญดงั นี้ 2.1 ชอ่ื ของผ้วู จิ ัย 2.2 ชื่อของเรือ่ ง หรือปญั หาการวจิ ยั 2.3 วธิ ีการวิจยั ตลอดจนเครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวิจัย 2.4 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2.5 ผลการวิจยั จะตอ้ งสรุปประเด็นในเชิงเหตุผล 3. การเขียนควรใช้ภาษาที่แสดงให้เห็นว่า ผู้วิจัยได้ศึกษาและมีความเข้าใจในงานวิจัยน้ัน หรือมี ความเข้าใจในแนวคดิ ทฤษฎีท่ีนามาใชอ้ ยา่ งชดั เจน 4. การเขียนเอกสารอ้างอิงควรระบุทุกครั้งที่อ้างอิง และใช้วิธีการเขียนเอกสารอ้างอิงเหมือนกัน ตลอด การอ้างอิงน้ีจะช่วยให้ทราบว่าแหล่งท่ีมาของข้อความนั้นคืออะไร หากผู้ท่ีอ่านต้องการจะศึกษา เพ่ิมเติมก็สามารถที่จะไปหามาอ่านได้ และยังเป็นการแสดงให้เห็นว่าผู้วิจัยได้มีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ปัญหาในการวจิ ยั มาเป็นอย่างดี และยดึ หลักเหตผุ ลในการทาวจิ ยั
39 ๖ กรอบแนวคดิ การวิจยั ในการทาวิจัยทุกคร้ัง นักวิจัยจะต้องมีกรอบแนวคิดในการวิจัยที่สอดคล้องกับปัญหาและ วัตถุประสงค์ของการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัยได้มาจากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง และ สังเคราะห์ขึ้นมา กรอบแนวคิดในการวิจัยท่ีชัดเจนจะทาให้นักวิจัยได้แนวทางในการดาเนินการวิจัย ตั้งแต่ เคร่ืองมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล จนกระทั่งการอภิปรายผลการวิจัย เบิร์นส และ โกรฟ (Burns & Grove, 2005) ได้เสนอว่า กรอบแนวคิดการวิจัยเป็นส่วนท่ีนาเสนอการสรุปองค์ความรู้ท่ีมี อยู่ และการอธบิ ายความสัมพันธข์ องมโนทัศนต์ ่างๆ ในเชงิ ทฤษฎี ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของการพยากรณ์ผลลัพธ์หรือ การกาหนดสมมติฐาน นอกจากน้ี กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ยงั ชว่ ยให้ผวู้ ิจยั สามารถเข้าใจผลของการวิจยั หรือ ข้อค้นพบจากการวิจัยน้ัน ๆ ว่ามีความเช่ือมโยงกับกรอบแนวคิดอย่างไร และจะนาส่วนไหนไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ได้ ในการท่ีจะสามารถกาหนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัยท่ีดแี ละชัดเจนไดน้ ้ัน ตอ้ งอาศัยความสามารถ ในการสงั เคราะห์ความรู้ท่ไี ดจ้ ากการทบทวนวรรณกรรมทเี่ กี่ยวข้องของผ้วู จิ ยั เป็นหลัก ทีม่ าของกรอบแนวคิดการวิจัย 1. จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องท่ีสาคัญที่จะช่วยให้นักวิจัย สามารถพฒั นากรอบแนวคดิ การวิจัยของตนได้ คอื รายงานวิจัย ซ่ึงอาจเป็นรายงานวจิ ัยที่มาจากสาขาวิชาอ่ืนก็ ได้ ในการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องนักวิจัยจะได้ข้อมูลและสารสนเทศเก่ียวกับรายละเอียดแสดงคุณ ลักษณะเฉพาะของปรากฏการณ์ สภาวการณ์ และมโนทัศน์ (concept) ท่ีตนเองสนใจ ตลอดจนปัจจัยท่ี เก่ียวข้องหรือสัมพันธ์กับมโนทัศน์ท่ีกาลังศึกษาทบทวนอยู่ ซึ่งนักวิจัยจะสามารถประมวลสารสนเทศเหล่าน้ัน เข้าด้วยกนั และนามาสรุปแนวคิดรวบยอด เปน็ กรอบแนวคดิ การวจิ ัยของตนได้ ซ่ึงสามารถนาเสนอเป็นผังภาพ ได้ดงั น้ี ขขขข้้้อออ้อ**มมมมูููลลลูล 2431 กรอบแนวคิดการวจิ ัย ข้อมูล n 2. จากทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว ท้ังท่ีเป็นทฤษฎีที่มาจากสาขาวิชาอ่ืน หรือในสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ ทฤษฎีที่มาจากสาขาวิชาชีพอ่ืนที่พยาบาลนิยมนามาใช้เป็นกรอบแนวคิดการวิจัยของตน เช่น ทฤษฎีบทบาท (role theory) ทฤษฎีความเครียด (stress theory) ทฤษฎีสมรรถนะแห่งตน (self efficacy theory) ทฤษฎี ความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) เป็นต้น ส่วนทฤษฎีที่เป็นทฤษฎีในสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ เช่น ทฤษฎีการดูแลตนเองของ โดโรธี โอเร็ม (Dorothy Orem’s Self Care Theory) แม่แบบการปรับตัว ของคาลลิสตา รอย (Callista Roy’s Adaptation Model) ทฤษฎีการดูแลมนุษย์อย่างเอ้ืออาทรของจีน วัต สัน (Jean Watson’s Theory of Human Caring) แม่แบบพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนอรา เพนเดอร์ (Nola Pender’s Health Promotion Model) เปน็ ต้น ทฤษฎีที่มีอยู่จะช่วยช้ีแนะมโนทัศน์ท่ีสาคัญและความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์(concepts) ซ่ึง นักวิจัยจะเห็นเค้าโครงความคิดท่ีจะทาวิจัยของตนต่อไปได้ ทฤษฎีที่มีอยู่ในแต่ละสาขาวิชา จะมีความเป็น
40 นามธรรม (abstract) ต่างกัน ในกรณีท่ีมโนทัศน์ท่ีมีการอธิบายกว้างๆ หรือมีความเป็นนามธรรมมากๆ ซึ่ง ภาษาอังกฤษนิยมใช้คาว่า “construct” แทนคาว่า “concept” และมโนทัศน์ท่ีมีคาอธิบายที่ผู้อ่านสามารถ เห็นแนวทางการวัดหรือประเมินได้อย่างเป็นรูปธรรม นิยมเรียกว่า “ตัว แปร (variable)” ซึ่งความสัมพันธ์ ระหว่างมโนทัศนท์ ัง้ 3 ระดบั ดงั แสดงตามผังภาพดังน้ี Construct Emotional Responses Abstract Concept Anxiety เป็ นรปู ธรรม Variable Concrete Palmar sweating การพฒั นากรอบแนวคิดการวจิ ัย การพฒั นากรอบแนวคดิ การวิจยั ประกอบด้วย 3 ข้นั ตอน คือ การเลอื กและนิยามมโนทัศน์ การ เช่อื มโยงความสมั พนั ธร์ ะหว่างมโนทัศน์ และการนาเสนอกรอบแนวคิด (Burns & Grove, 2005) 1. การเลือกและนิยามมโนทัศน์(concept) มโนทัศน์เป็นแนวคิดที่ถูกนาเสนอในลักษณะ ภาพลกั ษณ์ สญั ลักษณ์ ทีป่ ระกอบด้วยคุณลักษณะเฉพาะ เช่น สขุ ภาพ (health) จดั ว่าเป็นมโนทัศนห์ นึง่ ที่มี คุณลักษณ์ท่ีประกอบข้ึนจากการมีพฤติกรรมเฉพาะ เช่นเคลื่อนไหวได้เอง อยู่ในภาวะท่ีปราศจากการติดเชื้อ และสามารถสื่อสารได้อย่างเหมาะสม มโนทัศน์ท่ีมักพบในสาขาพยาบาลศาสตร์เช่น ความเจ็บปวด (pain) ความฉลาด (intelligence) อัตมโนทัศน์ (self concept) ความเครียด (stress) ความวิตกกังวล (anxiety) ความหวัง (hope) เป็นต้น มโนทัศน์บางเรื่องสามารถสังเกตได้โดยตรง เช่น ฝนตก แต่มโนทัศน์บางเรื่อง ต้องใช้การสงั เกตโดยอ้อม เชน่ ความเครยี ด ความวติ กกงั วล อตั มโนทัศน์ เปน็ ตน้ 2. การเช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ต่างๆ ในระหว่างการทบทวนวรรณกรรมท่ี เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยจะพบว่ามีตัวแปรที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ตนเองสนใจศึกษาอยู่ เช่นการทบทวน วรรณกรรมเกี่ยวกับความเครียด มักจะพบตัวแปรที่สัมพันธ์กับความเครียด เช่น ภาวะความเจ็บป่วย การ ตอบสนองทางด้านสรีระ และความสามารถในการเรียนรู้ เป็นต้น ความสัมพันธ์เหล่าน้ีอาจสังเกตเห็นได้จาก วิธีการสังเกตอย่างเป็นระบบและจากประสบการณ์ของผู้สังเกต ความสัมพันธ์ท่ีพบ อาจเป็นสิ่งที่เกิดข้ึน แนน่ อน เชน่ กฎทางเรขาคณติ ที่เก่ยี วข้องกับเส้นและมุม ความสัมพันธน์ ้ันอาจเป็นแนวโนม้ ว่าจะเกิด หรือยัง หาข้อสรุปยังไม่ได้ ในกรณีที่ผู้วิจัยเร่ิมต้นทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง จากทฤษฎี อาจได้ข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างมโนทัศน์ ซ่ึงมีชื่อเรียกต่างกันตามระดับของมโนทัศน์หรือความเป็นนามธรรม โดย ถ้าเป็น ความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ระดับ “construct” ประโยคท่ีแสดงความสัมพันธ์นั้นเรียกว่า “ข้อความทั่วไป (general proposition)” ถ้าเป็นระดับ “concept” เรียกว่า “ข้อความเฉพาะ (specific proposition)” หรือ “ประโยค (statement)” และเรียก “สมมติฐาน (hypothesis)” เมื่อเป็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ดงั แสดงในภาพต่อไปน้ี
41 Construct A General Proposition Construct B Concept A Specificl Proposition Concept B Variable A Variable B Hypothesis 3. การนาเสนอกรอบแนวคิด เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริงในกรอบแนวคิดการวิจัย นักวิจัย ควรมีการลาดบั การปรากฏของมโนทศั น์ และแสดงทิศทางของความสมั พันธ์ระหว่างมโนทัศนใ์ หช้ ดั เจน การนาเสนอกรอบแนวคดิ การวจิ ยั การนาเสนอกรอบแนวคิดมีหลายวิธี ข้ึนอยู่กับความซับซ้อนของเรื่องท่ีวิจัย โดยท่ัวไปการนาเสนอ กรอบแนวคิดการวจิ ัยมีอยู่ 4 แบบ คอื แบบพรรณนาความ แบบจาลอง แบบแผนภาพ และแบบผสมผสาน (สุ ชาติ ประสิทธริ์ ัฐสินธุ์, 2538) 1. แบบพรรณนาความ การนาเสนอกรอบความคิดแบบนี้เป็นการเขียนบรรยายว่าตัวแปรที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยมีอะไรบ้าง ตัวแปรดังกล่าวสัมพันธ์กันอย่างไร มีเหตุผลหรือทฤษฎีใดบ้างที่สนับสนุน การนาเสนอกรอบแนวคิดแบบนี้มักนิยมในงานวิจัยท่ีมีตัวแปรน้อย และไม่ซับซ้อน เช่น งานวิจัยเรื่อง ความสามารถในการเป็นผู้นาของนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพของ อวยพร ตัณมุขยกุลและเรมวล นนั ท์ศภุ วัฒน์ (2543) “การศึกษาครั้งน้ีมุ่งศึกษาความสามารถในการเป็นผู้นาของนักศึกษาพยาบาลและพยาบาล วิชาชีพ ใช้กรอบแนวคิดความสามารถในการเป็นผู้นาจากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง โดย ความสามารถในการเป็นผู้นาเป็นการแสดงพฤติกรรมของบุคคลในขณะที่อยู่ในกลุ่ม โดยที่บุคคลนั้นจะรับรู้ถึง คุณลักษณะส่วนบุคคลของตนเองในแง่ท่ีดี การมีพละกาลังในการกระทา การมีทักษะและความสามารถท่ี เกี่ยวข้องกับงาน การมีคุณธรรม การรับรู้ถึงความสามารถในการติดต่อสื่อสารและการนาความคิดไปสู่การ ปฏบิ ตั ิ บุคคลทม่ี ีระดับการศึกษาและประสบการณ์ในสิ่งแวดลอ้ มที่ต่างกันอาจมีความสามารถในการเปน็ ผู้นาที่ ตา่ งกันได”้ 2. แบบจาลอง เป็นการนาเสนอในรูปสมการหรอื สญั ลักษณ์ และมคี าอธบิ ายสัญลกั ษณป์ ระกอบ นยิ มใช้ในงานวจิ ัยทีม่ ีตวั แปรหลายตัวแตไ่ ม่เปน็ ทน่ี ิยมในงานวจิ ัยทางการพยาบาล ดงั ตัวอย่าง Y = B1X1+ B2X2+ B3X3+ B4X4- e โดย Y = ประสิทธิผลของการพยาบาลประเมนิ โดยผ้ตู รวจการ X1 = ความรทู้ างการพยาบาลประเมนิ โดยแบบทดสอบมาตรฐาน X2 = ความสาเรจ็ ในอดีตวดั จากค่าคะแนนเฉลีย่ เม่ือสาเร็จการศึกษา X3 = ทักษะการตัดสินใจวดั จากจานวนข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล
42 X4 = ความเหน็ อกเก็นใจวัดจากระยะเวลาตั้งแต่ผู้ปว่ ยขอยาแกป้ วดจนถงึ เวลาทผ่ี ปู้ ว่ ยได้รบั ยาB1 B2 B3 และ B4 = น้าหนักแสดงความสาคัญของ X1 X2 X3 X4 ในการบง่ บอก ประสทิ ธผิ ลการพยาบาล e = ปจั จยั แฝงทีไ่ ม่สามารถอธบิ ายได้ 3. แบบแผนภาพ การนาเสนอแบบน้ีบางคร้ังเรียก “แผนผังแนวคิด (conceptual map)” “ผัง แนวคิด (conceptual scheme)” การนาเสนอโดยวิธีนี้นิยมใช้ในการนาเสนอกรอบแนวคิดในงานวิจัยท่ีมีตัว แปรตั้งแต่ 2 ตัวข้ึนไป มักพบการนาเสนอแบบนี้ในงานวิจัยทางการพยาบาล ดังตัวอย่างงานวิจัยของ พรรณ พิไล ศรีอาภรณ์ เร่ือง “ภาวะการมีประจาเดือนและความหนาแน่นของกระดูกของนักกีฬาสตรีไทย” (Sriareporn, 2003) ความเขม้ ขน้ มีการใช้ อารหอับาาปรรหแรับาคะปรทลแรอาคะนรลที่ตอา่านรีต่า ของการออก พลงั งาน กาลงั กาย ภาวะเครียด ปริมาณไขมนั ท่ี ทางดา้ นจิตใจ สะสมในร่างกาย ประวตั ิการมี ความสมดุลของการทางานต่อม ประจาเดือน ไฮโปธาลามสั ต่อมปิ ตุอิตารีและรังไข่ อายุ ภาวะการมี ประจาเดือน ปริมาณ ความหนาแน่นของมวลกระดูก แคลเซียมท่ีไดร้ ับ ปัจจยั ทางกรรมพนั ธ์ ในบางคร้งั การเขยี นผังความคิดอาจรวมเอาตัวแปรหรอื แนวคิดยอ่ ย (sub-concept) ไวใ้ นกรอบของ ตวั แปรหลักที่จะศึกษาเป็นหมวดหมู่ แลว้ โยงเส้นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกล่มุ ตวั แปรหลกั ดงั เช่นงานวจิ ัยของ พสิ มยั แจ้งสทุ ธิวรวัฒน์ และ ร.ต.อ. หญิง ยุพนิ องั สโุ รจน์ (2551) เร่ือง .สภาพแวดลอ้ มในการทางาน พฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม กับการทางานเป็นทีมของพยาบาลประจาการ โรงพยาบาลทัว่ ไป เขตภาค กลาง ซง่ึ ได้เขียนกรอบแนวคิดของการวจิ ัยดังนี้
43 นอกจากน้ี อาจมีการกาหนดสญั ลักษณ์ + หรือ – เพอ่ื บง่ บอกทิศทางของความสัมพันธ์ ดังเช่นงานวิจัยของ สายพนิ เกษมกจิ วัฒนา (2535) ปัจจัยการปรับตัว กระบวนการติดรู้ ผลลัพธ์ของการปรับตวั (การประเมนิ สถานการณ์ของการดแู ล) สมั พนั ธภาพ - คุกคาม + ระหวา่ งคู่สมรส -- ความเครียด + ก่อนเจ็บป่ วย + ความเครียดใน - บทบาทผดู้ ูแล + แรงสนบั สนุน - มีผลดี ทางสงั คม + - + ++ ความตอ้ งก+าร+- เศรษฐานะ - ในการดูแล ทางสงั คม + 4. แบบผสมผสาน การนาเสนอกรอบแนวคิดการวิจัยแบบผสมผสานเป็นการนาเสนอหลายๆ รปู แบบร่วมกัน เพ่ือให้การนาเสนอมีความชัดเจนยง่ิ ข้ึน ที่พบมากในรายงานวิจัยทางการพยาบาล มักเปน็ การ ผสมผสานแบบแผนภาพร่วมไปกับการบรรยาย ซ่ึงตัวอย่างของการเขียนกรอบแนวคิดของ ศรีสุดา โภคา
44 (2541) ในการศึกษาวิจยั เร่ือง “พฤตกิ รรมทางเพศและปัจจัยที่กาหนดความตงั้ ใจใช้ถงุ ยางอนามัยเพอ่ื ปอ้ งกัน การติดเชอ้ื เอดส์ของเด็กวัยรุน่ ชาย”ซง่ึ เขยี นไว้ดังน้ี “ในการศึกษาคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้นาทฤษฎีการกระทาด้วยเหตุผลของเอสเซนและฟิสบายน์ (Ajzen & Fishbiein, 1980) มาเป็นกรอบในการศึกษา เน่ืองจากทฤษฎีการกระทาด้วยเหตุผล ประกอบด้วยเจตนคติต่อ พฤติกรรม และบรรทัดฐานของกลุ่มผู้ใกล้ชิด เป็นตัวแปรในการทานายความต้ังใจที่กระทาพฤติกรรมของ บคุ คล ตามทฤษฎีการกระทาด้วยเหตุผล สามารถอธิบายได้ว่า ความเชอื่ เกี่ยวกับผลของการใช้ถงุ ยางอนามัย คูณกับการประเมินคุณค่าของการใช้ถุงยางอนามัยเป็นตังกาหนดให้เกิดเจตคติต่อการใช้ถุงยางอนามัย ส่วน ความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของบุคคลในกลุ่มผู้ใกล้ชิดคูณกับแรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามความคา ดหวังของ บุคคลในกลุ่มผู้ใกล้ชิดจะเป็นตวั กาหนดให้บุคคลปฏิบัติตามบรรทัดฐานของกลุ่มผู้ใกล้ชดิ เก่ียวกับการใชถ้ ุงยาง อนามัย ท้ังน้ีเจตคติต่อการใช้ถุงยางอนามัยร่มกับบรรทัดฐานของกลุ่มผู้ใกล้ชิดเกี่ยวกับการใช้ถุงยางอนามัย จะเป็นตัวกาหนดให้เกิดความตั้งใจที่จะใช้ถุงยางอนามัย โดยในเร่ืองความสาคัญของเจตคติต่อการใช้ถุงยาง อนามัยน้ัน เจตคติต่อการใช้ถุงยางอนามัยและบรรทัดฐานของกลุ่มผู้ใกล้ชิดเก่ียวกับการใช้ถุงยางอนามัยอาจ ร่วมกันเป็นตัวทานายความตง้ั ใจท่จี ะใชถ้ ุงยางอนามัย โดยมีน้าหนกั ในการทานายเท่าหรอื ไม่เท่ากัน ซึง่ เจตคติ ต่อการใช้ถุงยางอนามัยอาจมีน้าหนักในการทานายความตั้งใจที่จะใช้ถุงยางอนามัยมากกว่าบรรทัดฐานของ กลุม่ ผู้ใกล้ชิดเกยี่ วกับการใช้ถงุ ยางอนามัย หรือบรรทัดฐานของกลุ่มผู้ใกล้ชดิ เก่ียวกับการใช้ถุงยางอนามยั อาจ มนี ้าหนักในการทานายความตั้งใจที่จะใช้ถุงยางอนามยั มากกว่าเจตคตติ ่อการใชถ้ ุงยางอนามัยก็ได้ และอาจมี เพียงเจตคติต่อการใช้ถุงยางอนามัยหรือบรรทัดฐานของกลุ่มผู้ใกล้ชิดเกี่ยวกับการใช้ถุงยางอนามัยอย่างใด อย่างหนึ่งที่เป็นตัวกาหนดความตั้งใจที่จะใช้ถุงยางอนามัย ว่ึงสรุปเป็นโครงสร้างปัจจัยท่ีกาหนดความต้ังใจท่ี จะใชถ้ งุ ยางอนามัยของเด็กวยั รนุ่ ชายได้ดังน้ี” ความเชือ่ เกีย่ วกบั ผลของการ เจตคติต่อการใช้ ใชถ้ งุ ยางอนามัยร่วมกับการ ถุงยางอนามัย ประเมินคณุ ค่าของการใช้ ถุงยางอนามัย ความสาคญั ของเจตคติต่อการใช้ ความต้ังใจใช้ ถุงยางอนามยั และบรรทัดฐานของกลมุ่ ถงุ ยางอนามยั ผู้ใกล้ชิดเกี่ยวกบั การใชถ้ งุ ยางอนามยั ความเชือ่ เกี่ยวกบั ความ บรรทดั ฐานของกลุ่มผู้ใกล้ชดิ คาดหวงั ของบคุ คลในกลมุ่ ผู้ เกีย่ วกับการใชถ้ ุงยางอนามยั ใกล้ชิดเกี่ยวกบั การใชถ้ ุงยาง อนามยั ร่วมกีบแรงจงู ใจทีจ่ ะ ปฏิบตั ิตามความคาดหวงั ของ บคุ คลในกลุ่มผใู้ กล้ชิด
45 ลกั ษณะกรอบแนวคิดการวิจัยทด่ี ี 1. เนื้อหาสาระของกรอบแนวคิดตรงประเด็น กรอบแนวคิดจะต้องสะท้อนให้เห็นตัวแปรท่ีศึกษา และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาให้ชัดเจน รวมท้ังสะท้อนให้เห็นระเบียบวิธีการวิจัยเพื่อให้ได้คาตอบ การวจิ ยั ทีต่ ้องการ 2. การนาเสนอมีความเรียบง่าย ไม่สลับซับซ้อน กรอบแนวคิดการวิจัย ทาหน้าที่เช่นเดียวกันกับ แผนท่ี ดังน้ันการนาเสนอจะต้องกะทัดรัดและทาให้เห็นภาพชัดเจน ในกรณีท่ีกรอบแนวคิดการวิจัยมาจาก ทฤษฎีหลายๆ ทฤษฎี การนาเสนอจะต้องตัดทอน นาเสนอเฉพะส่วนที่สาคัญเท่าน้ัน หากผู้วิจัยพบว่าทฤษฎี ตน้ แบบ มีมากมาย ควรเลือกทฤษฎีตน้ แบบที่เข้าใจงา่ ย และช้ีแนะแนวคิดการทาวิจัยท่ีตนสนใจได้ครอบคลุม มากที่สุด ซ่ึงการนาเสนอกรอบแนวคิดการวิจัยที่มาจากทฤษฎีที่มีอยู่แลว้ นักวิจัยจะต้องนาเสนอให้ทราบว่า กรอบแนวคิดการวิจัยของตนมาจากทฤษฎีใดด้วย สรปุ การกาหนดปัญหาเป็นข้ันตอนแรกท่ีนาไปสู่ความสาเร็จของการวิจัย ในการกาหนดปัญหาน้ันผู้วิจัย สามารถค้นหาปัญหาการวิจัยได้จากแหล่งต่างๆ เช่น ประสบการณ์ของผู้ทาการวิจัย จากการทบทวน วรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี รวมท้ังความต้องการของหน่วยงานและแหล่งท่ีสนับสนุนทุนในการวิจัย เม่ือได้ ปัญหาการวิจัยมาแล้ว ก่อนที่จะตัดสินใจในการทาวิจัยเร่ืองนั้นๆ ผู้วิจัยต้องพิจารณาว่าผลการวิจัยท่ีได้มา จะต้องก่อให้เกิดประโยชน์แก่ท้ังตัวผู้วิจัยและบุคคลรอบข้างท่ีเก่ียวข้องมากน้อยเพียงใด ดังน้ันการตัดสินใจ เลือกปัญหา ผู้วิจัยต้องอาศัยหลักในการเลือกปัญหาได้แก่ ความสาคัญของปัญหาการวิจัย ความเป็นไปได้ใน การทาการวิจัย ความน่าสนใจและทันต่อเหตุการณ์ ความสนใจของผู้วิจัย ความเช่ียวชาญและสามารถ ของผู้วิจัย ความคุ้มค่าของผลลัพธ์การวิจัยกับค่าใชจ่ายที่ต้องลงทุน ผลประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม เป็นงานวิจัยท่ีไม่มีผู้ใดทามาก่อน การต้ังชื่อเรื่องวิจัยและการเขียนความสาคัญของปัญหาให้น่าสนใจจะช่วย ดึงดูดให้ผอู้ ่านสนใจอยากตดิ ตามงานวจิ ัยน้ัน ๆ นอกจากน้ี ในการทาวจิ ัยต้องมกี ารกาหนดวัตถุประสงคก์ ารวิจัย ซง่ึ วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัยนั้นต้อง บอกให้ทราบว่าผู้วิจัยต้องการคาตอบอะไรจากปัญหานั้นและจะหาคาตอบนั้นได้อย่างไร ดังน้ันวัตถุประสงค์ การวิจัยจึงต้องมีความสอดคล้องกับเร่ืองที่ต้องศึกษา มีความชัดเจนและสัมพันธ์กับขอบเขตปัญหาที่ศึกษา สามารถวดั และทดสอบได้ ตัวแปรในการวิจัยนั้นจาแนกได้หลายประเภทเช่น ตัวแปรต้นและตัวแปรตาม ตัวแปรแทรก ตัวแปรคุม ซึ่งการนิยามตัวแปรนั้น ผู้วิจัยควรเลือกนิยามเฉพาะตัวแปรที่สาคัญและเกี่ยวข้องกับการ วิจยั โดยตรง และต้องนิยามตวั แปรในลกั ษณะตวั แปรเชิงปฏิบัติการสาหรับงานวิจัยนั้น ๆ สาหรับงานวิจัยบางเรื่องอาจต้องต้ังสมมติฐานการวิจัย ซึง่ การตั้งสมมติฐานการวิจยั เป็นการ คาดเดาคาตอบของปัญหาการวิจัยไว้ล่วงหน้าโดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยที่เคยมีผู้ทา มาแล้ว ผู้วิจัยสามารถกาหนดสมมติฐานรูปแบบสมมติฐานเชิงพรรณนา หรือเชิงการวิเคราะห์ ขึน้ อยู่ กับวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัยและความสัมพนั ธ์ของตัวแปรทีศ่ ึกษา
46 ในปัจจุบัน ได้มีแหล่งที่ผู้วิจัยสามารถค้นคว้าวรรณกรรมท่ีหลากหลายทั้งที่เป็นเอกสารใน ห้องสมุดและในฐานข้อมูลอิเล็คโทรนิค ดังน้ัน การทบทวนวรรณคดีท่ีเกี่ยวข้องเป็นส่ิงที่นักวิจัยทุกคน จะต้องทาการค้นคว้าให้ละเอียดและครอบคลุม พร้อมทั้งจะต้องมีความเข้าใจในวรรณคดีที่เกี่ยวข้อง ทงั้ หมด เพราะส่ิงเหล่าน้ีเองที่ผู้วิจยั จะตอ้ งนามากาหนดเป็นกรอบแนวคดิ ในการวิจยั นอกจากน้ี เมื่อทา การทบทวนวรรณกรรมแลว้ ผวู้ จิ ัยจะต้องสามารถเรียบเรียงแนวคิดและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้องอยา่ งเป็นระบบ และถูกต้องตามหลักวิชาการอีกด้วย ในส่วนของเทคนิคการเขียงอ้างอิงนั้น ผู้วิจัยควรเลือกใช้รูปแบบท่ี เหมาะสมกับองค์กรท่ีผู้วิจัยเกี่ยวข้องเช่น วารสารที่ส่งตีพิมพ์ หน่วยงานท่ีให้ทุนสนันสนุน และ สถานศกึ ษาท่ตี นเองศกึ ษาอยู่ เปน็ ตน้ การกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยจะช่วยให้ผู้วิจัยได้แนวทางในการกาหนดตัวแปร กาหนด สมมติฐาน เลือกใช้หรือพัฒนาเคร่ืองมือวิจัย ตลอดจนได้แนวทางในวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล อีกด้วย ซึ่งที่มาของกรอบแนวคิดในการทาวิจัยน้ันอาจได้มาจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และจากแนวคิดและทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว และการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัยอาจนาเสนอได้หลาย รูปแบบได้แก่ แบบพรรณาความ แบบจาลอง แบบแผนภาพ และแบบผสมผสาน นอกจากนี้ กรอบ แนวคิดการวจิ ยั ทีด่ คี วรจะประกอบด้วยเนื้อหาสาระที่ตรงประเด็นและนาเสนอแบบเรียบงา่ ยไม่ซบั ซ้อน
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: