Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9 บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย

9 บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย

Published by chawanon, 2021-07-20 11:11:51

Description: 9 บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย

Search

Read the Text Version

บทท่ี 3 การออกแบบการวิจัย การออกแบบวิจัย เปน็ แผนการ โครงสรา้ ง และกลวธิ ี เพ่ือที่จะค้นหาคาตอบของคาถามหรือ ปัญหาการวิจัย แผนการน้ีเป็นแผนการวิจัยท่ีสมบูรณ์ซ่ึงประกอบไปด้วย แบบร่างตั้งแต่สมมติฐาน จนกระทง่ั ถึงวิธกี ารวิเคราะห์ข้อมูล (Kerlinger, 1986, cited in Kumar, 1999) การออกแบบวิจัย เป็นโครงการ หรือแผนแสดงรายการท่ีจะบอกว่าการศึกษาวิจัยนั้น ๆ จะ ทาให้สาเร็จได้อย่างไร ซ่ึงได้แก่ การนิยามตัวแปรเชิงปฏิบัติการ วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างจาก ประชากรทส่ี นใจจะศึกษา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู และวธิ กี ารวิเคราะหผ์ ลการวิจยั (Thyer, 1993, cited in Kumar, 1999) การออกแบบวิจัย เป็นกระบวนการที่กาหนดข้ึนโดยนักวิจัยเพื่อท่ีจะตอบคาถามการวิจัย อยา่ งถกู ตอ้ ง ตรงตามวัตถุประสงค์ แมน่ ยา และดว้ ยความประหยดั (Kumar, 1999) การออกแบบวิจัย เป็นแผนการที่สร้างข้ึนสาหรับการศึกษาวิจัยท่ีมีการควบคุมปัจจัยท่ีมี ผลกระทบต่อความถูกต้องของผลการวิจัย ซ่ึงแผนการวิจัยจะไปชี้แนวทางให้แก่ผู้ทาวิจัยในเร่ืองการ วางแผนการวจิ ัยและการนาแผนการวิจัยไปปฏิบัติเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์การวิจัยที่ได้ต้ังไว้ (Burns & Grove, 1997) นอกจากนี้ Burns & Grove (1997) ได้เสนอว่า คาว่า “Research design” นั้นได้ถูก นามาใช้ในความหมาย 2 ด้านคือ หมายถึง กลยุทธ์ท้ังหมดในการทาวิจัยต้ังแต่การกาหนดปัญหาจึง ถึงการวางแผนเพื่อที่จะเก็บรวบรวมข้อมูล และหมายถึงการกาหนดลักษณะท่ีชัดเจนที่จะกระทาใน การวิจยั นัน้ ๆ การออกแบบวิจัยหมายถึง การวางแผนและการจัดโครงการการวิจัย ต้ังแต่การกาหนด ปญั หาการวจิ ัยจนถงึ การทารายงานและการพิมพ์เผยแพร่ (สนิ พนั ธุ์พนิ ิจ, 2549) วัตถุประสงค์ของการออกแบบวจิ ัย 1. เพ่ือหาคาตอบของปัญหาการวิจัยได้อย่างถูกต้อง เที่ยงตรง (Validity) เป็น ปรนัย(Objectivity) และประหยัด (Economy) เพราะถ้าหากการออกแบบวิจัยได้กระทาโดยความ ระมัดระวังบนฐานของกฎ ทฤษฎี และประสบการณ์ รวมท้ังได้กาหนดแบบแผนการวิจัยอย่างรอบ ครอบตามวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ จะทาใหไ้ ดผ้ ลการวิจยั ท่ถี ูกต้อง มีความเป็นปรนัยและแมน่ ยาตาม ตอ้ งการ 2. เพอื่ ควบคุมความแปรปรวนในการวจิ ัยท่ีเป็นผลมาจากตัวแปรภายนอก 3. เพ่ือให้การวัดของตัวแปรถูกต้องแม่นยา เน่ืองจากว่าถ้าผู้วิจัยได้กาหนดตัว แปร ให้นิยามเชิงทฤษฎี นิยามเชิงปฏิบัติการ และเลือกวิธีการทางทางสถิติไว้อย่างเหมาะสมในขั้น ของการออกแบบวจิ ัยแลว้ ก็จะทาให้วัดตัวแปรแตล่ ะประเภทได้อยา่ งถกู ต้องแมน่ ยา 4. เพ่ือให้การวิจัยดาเนินการอย่างเป็นระบบอย่างต่อเน่ืองตามขั้นตอนของ กระบวนการวิจัย จึงได้กาหนดแผนไว้ล่วงหน้าว่า จะทาอะไร ที่ไหน อย่างไร และเม่ือใด นอกจากนยี้ งั สามารถตรวจสอบ ติดตามความก้าวหนา้ และปญั หาอุปสรรคของการวิจยั ได้

48 หลักการออกแบบวิจัย ในการออกแบบวิจัยทั่วไป จะยึดหลักการควบคุมตัวแปรภายนอกต่าง ๆ ไม่ให้มีผลต่อตัว แปรตาม โดยยึดหลัก Max.Min.Con.Principle ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ (ยุวดี ฦๅชา, มาลี เลิศมาลี วงศ์, เยาวลักษณ์ เลาหจินดา, วิไล ลีสุวรรณ, พรรณวดี พุธวัฒนะ และ รุจิเรศ ธนูรักษ์, 2532: ประกาย จโิ รจน์กุล, 2548) 1. Maximization of Systematic Valiance (Max.) เป็นการทาให้ความแปรปรวนอัน เนื่องมาจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทดลองมีค่าสูงที่สุด โดยพยายามทาให้คุณสมบัติของตัวแปร อิสระมีความแตกต่างกันมากๆ เพื่อท่ีจะให้ผลท่ีเกิดจากตัวแปรอิสระต่อตัวแปรตามที่ต้องการศึกษามี ค่าแตกตา่ งกันมากทสี่ ุดเช่น การศึกษาผลของการใหพ้ ยาบาล 2 วิธี ผู้วิจัยควรจะต้องออกแบบใหก้ าร พยาบาลท้ัง 2 วิธีนั้นแตกต่างกนั จรงิ อย่างชัดเจน 2. Minimization of Error Variance (Min.) เป็นการลดความแปรปรวน อันเน่ืองมาก จากความคลาดเคล่ือนให้มีค่าต่าสุด ซึ่งความคลาดเคลื่อนอาจมาจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่นามา ศึกษามีคุณสมบัติต่างกัน วิธีการดาเนินการวิจัยไม่เหมาะสม และเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลขาดคุณภาพก็ได้ ดังนัน้ ผู้วิจยั ควรเพิ่มความระมัดระวงั ในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้ 2.1 การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ควรใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างท่ีเหมาะสมกับลักษณะของกลุ่ม ประชากร เพือ่ ให้ได้ตวั แทนท่ีดขี องประชากรในการทาวิจัย 2.2 เครื่องมือที่ใชว้ ัด ควรมีความเท่ยี ง (reliability) สูง 2.3 การควบคุมสภาพแวดล้อมในการทดลองหรือการวัดให้เหมาะสม ปราศจาก ส่ิงรบกวน 3. Control of Extraneous Variables (Con.) เป็นการควบคุมอิทธิพลของตัวแปร ภายนอกอ่ืนๆ ทไี่ ม่ไดศ้ ึกษาแตต่ ัวแปรนน้ั อาจมีอทิ ธิพลต่อตัวแปรตาม เพื่อไม่ให้เกิดผลตอ่ ตัวแปรตาม ซง่ึ อาจทาได้โดยวธิ ตี า่ ง ๆ ดงั น้ี 3.1 การกาจัดตัวแปรภายนอก เช่น ถา้ ศึกษาผลการสอนผู้ปว่ ยโดยวิธีการสอน 2 วิธี ว่า จะให้ผลแตกต่างกันหรือไม่ ก็จะต้องจัดสภาพการณ์เพื่อจากัดตัวแปรอ่ืนๆ ท่ีอาจมีอิทธิพลต่อการ เรียนการสอนให้หมดไปเช่น ความสามารถของผู้สอน สภาพห้องท่ีใช้สอน เวลาท่ีใช้สอน และ เนื้อหาทใี่ ช้สอน ควรจะมีคุณสมบัตไิ ม่แตกตา่ งกัน 3.2 การทาให้ตัวแปรภายนอกทม่ี ีผลต่อตวั แปรตามมีจานวนเท่าๆ กัน และเหมอื นกนั ใน แต่ละกลุ่มตัวอย่างที่นามาศึกษาเช่น การจับคู่ (matching by pair) โดยจัดให้ท้ัง 2 กลุ่มท่ีทดลองมี คุณสมบัติเหมือนกันเป็นคู่ๆ เช่น มี IQ เท่ากัน มีอายุเท่ากัน เพศเดียวกัน เป็นต้น หรือถ้า แบง่ กลุม่ ตวั อย่างเปน็ กลุ่ม กจ็ ัดให้ 2 กลุ่มมลี ักษณะของตัวแปรภายนอกเทา่ กัน หรือ มีค่าเฉล่ียของตัว แปรภายนอกทเี่ ทา่ กัน 3.3 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยให้ประชากรทุกหน่วยมีโอกาสได้รับเลือกมาเป็นกลุ่ม ตัวอย่างเท่าเทียมกัน ซ่ึงจะช่วยให้กลุ่มตัวอย่างมีคุณสมบัติคละกัน ถือว่าเป็นไปตามทฤษฎีความ น่าจะเปน็ และจะสามารถชว่ ยควบคุมตวั แปรภายนอกได้ 3.4 การนาตัวแปรภายนอกมาเป็นตัวแปรอิสระตัวแปรหน่ึงในการศึกษา เช่น ใน การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยรุ่น ถ้าพบว่าฐานะทางเศรษฐกิจ ของครอบครัวจะมีผลต่อชนิดของอาหารที่เด็กวัยรุ่นเลือกรับประทานก็นาฐานะทางเศรษฐกิจของ ครอบครัวมาเป็นตวั แปรหนง่ึ ในการทาวิจยั ด้วย

49 3.5 การใช้สถิติควบคุม เป็นการนาตัวแปรภายนอกมาเป็นตัวแปรคุมโดยการใช้วิธีการ ทางสถิติมาช่วยเช่น ถ้าต้องการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิในการเรียนของนักศึกษาพยาบาลชาย และหญิง แต่ระดับ IQ เป็นตัวแปรภายนอกท่ีผู้วิจัยไม่สามารถควบคุมได้ ก็นาระดับ IQ ของ นกั ศึกษาแตล่ ะคนมาเป็นตวั แปรรว่ ม (covariate) ในการวเิ คราะห์ด้วย ลกั ษณะของแบบการวจิ ยั ท่ดี ี 1. เปน็ แบบวิจยั ทมี่ ุ่งตอบปัญหาของคาถามการวจิ ยั 2. เป็นแบบวจิ ยั ทส่ี ามารถควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรได้ 3. มคี วามตรงภายใน 4. มีความตรงภายนอก แบบการวจิ ัย แบบการวิจัยอาจแบง่ ได้หลายๆ แบบ แต่สามารถแบ่งได้เป็น 3 แบบหลักๆ ได้แก่ 1) การ วิจัยแบบไม่ทดลอง (non – experimental design) 2) การวิจัยแบบทดลอง (experimental design) และ 3)การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi – experimental design) (ยุวดี ฦๅชา, มาลี เลิศ มาลีวงศ์, เยาวลักษณ์ เลาหจินดา, วิไล ลีสุวรรณ, พรรณวดี พุธวัฒนะ และ รุจิเรศ ธนูรักษ์, 2532) ซึ่งรายละเอียดของการวจิ ยั แตล่ ะแบบมีดังน้ี 1. การวิจัยแบบไม่ทดลอง เป็นงานวิจัยท่ีมุ่งศึกษาค้นคว้าข้อเท็จจริงท่ีเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นท้ังในอดีตและปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์น้ันๆ อย่างชัดเจน ซึ่งในกระบวนการทาวิจัยจะไม่ได้มีการจัดกระทากับตัวแปรอิสระใดๆ เพียงแต่ทาการ เก็บรวบรวมข้อมูลตามสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติเท่าน้ัน ดังนั้น นักวิจัยบางคนจึงเรียกการ วิจัยแบบน้ีว่า การวิจัยคล้ายธรรมชาติหรือการวิจัยตามธรรมชาติ (Naturalistic research) (รัตน์ศิริ ทาโต, 2552) การวิจยั แบบไมท่ ดลองนีอ้ าจแบง่ ได้ดงั นี้ 1.1 การศึกษาเชิงสารวจ (survey study) เป็นการศึกษาถึงสภาพความเป็นจริงของ เหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นอยู่แล้วเช่น การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการ บริการของแผนกผปู้ ว่ ยนอก การสารวจคา่ ใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน 1.2 การศึกษาสัมพันธภาพ (relationship study) เป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ ระหวา่ งตวั แปรตา่ งๆ ซง่ึ อาจจะศึกษาได้ในลักษณะต่างๆ ดังน้ี 1.2.1 การศึกษาความสัมพันธ์แบบง่าย (simple correlation) เป็นการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างตวั แปรอิสระ 1 ตวั และตัวแปรตาม 1 ตัว ซึ่งในแต่งานวจิ ัยผู้วิจัยอาจสนใจท่ี จะศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรหลายคู่ก็สามารถวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของตัวแปรท่ีละคู่ เช่น งานวิจัยเร่ือง “ความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้นา รูปแบบการดาเนินชีวิต และความสามารถในการ เรียนรดู้ ้วยตนเอง กบั การมีจิตสานึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร” ก็จะหา ความสัมพันธ์ระหว่างคู่ของ ภาวะผู้นากับการมีจิตสาธารณะ รูปแบบการดาเนินชีวิตกับการมีจิต สาธารณะ และความสามารถในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองกับการมีจิตสาธารณะ 1.2.2 การศึกษ าความสัมพั น ธ์ใน เชิงท าน าย (predictive correlational research) หรืออาจเรียกว่าความสัมพันธ์พหุคูณ (multiple correlation) เป็นการศึกษา

50 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นมากกว่า 1 ตัว กับตัวแปรตาม 1 ตัว ในการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ในคราวเดียวกัน และศึกษาว่าตัวแปรต้นใดบ้างที่สามารถทานายการเปลี่ยนแปลงของ ตัวแปรตามได้ เช่น ในการวจิ ัยของตวั อยา่ งขอ้ 1.2.1 นักวิจยั อาจวิเคราะห์ข้อมลู เพ่ิมเติมเพ่อื ศกึ ษาว่า จากตัวแปรต้นทั้ง 3 ตัวมีตัวแปรใดสามารถร่วมกันทานายการมีจิตสาธารณะของนักศึกษาได้มาก นอ้ ยเทา่ ไหร่ 1.3การศึกษาเฉพาะกรณี (case study) เป็นการศึกษาท่ีมุ่งจะค้นคว้า หรือศึกษาเรื่อง ใดเร่อื งหนึง่ อยา่ งละเอยี ด เช่น การศกึ ษาวถิ ีการดาเนินชีวติ ของผูป้ ่วยท่ีตดิ เชื้อเอดส์ 1.4การศึกษาติดตามผล (follow – up study) เป็นการศึกษาเพื่อติดตามผลผู้ท่ีผ่าน การเตรยี มหรืออบรมโดยโปรแกรม หรือกิจกรรมหนึง่ ๆ วา่ ประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด มปี ัญหา หรืออุปสรรคใดบ้าง ซ่ึงสามารถนาผลการวิจัยมาใช้ในการปรับปรุงการทากิจกรรมคร้ังต่อไปได้เช่น การศกึ ษาการตดิ ตามมหาบัณฑิตสาขาบรหิ ารการพยาบาล เปน็ ตน้ 1.5การศึกษาเชิงเปรียบเทียบเหตุผล (causal – comparative study) เป็นการศึกษา ถึงความเป็นเหตุเป็นผลของเรื่องใดเรื่องหน่ึงเช่น การศึกษาสาเหตุของการไม่มาพบแพทย์ตามนัด ของผ้ปู ่วยเบาหวาน 1.6 การวิเคราะห์เอกสาร (documentary study) เป็นการวิจัยโดยการวิเคราะห์ ประเด็นที่สนใจจากเอกสารหรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบแล้วสรุปเป็นผลการศึกษา เช่น การ วเิ คราะหบ์ ันทึกทางการพยาบาล 1.7 การศึกษาพัฒนาการ (developmental study) เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์หรือสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งการศึกษาพัฒนาการมี 2 ลักษณะคือ 1.7.1 การศึกษาความเจริญเติบโต (growth study) เป็นการศึกษาเพ่ืออธิบาย ความเปล่ียนแปลงหรือความเจริญงอกงามของส่ิงใดส่ิงหนึ่ง หรือปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่งก็ ได้ เช่น การศึกษาการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กท่ีติดเชื้อเอดส์แต่กาเนิด ซ่ึงวิธีการวิจัยเพื่อ การศกึ ษาความเจรญิ เติบโตน้ันสามารถทาได้ 2 วิธคี อื ก. การศึกษาระยะยาว (longitudinal study) เป็นการศึกษาใน ลักษณะการติดตามดูความเปลี่ยนแปลงของส่ิงที่ต้องการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา การศกึ ษา โดยศกึ ษาจากแหลง่ ข้อมลู หรือกลมุ่ ตวั อยา่ งเดยี วกันตลอด ข. การศึกษาภาคตัดขวาง (cross – sectional study) เป็นการศึกษา ความเปลี่ยนแปลงตลอดช่วงเวลาระยะยาวโดยใช้เทคนิคการศึกษาระยะส้ันจากกลุ่มตัวอย่างหลาย กลุ่มที่มีคุณลักษณะท่ีเป็นตัวแทนของแต่ละช่วงเวลา แล้วนาผลการศึกษามาสรุปรวมกัน ซึ่งวิธีการ ศึกษาแบบนี้จะมีข้อดีคือ จะมีความสะดวกในการศึกษา ใช้เวลาสั้นในการศึกษา และประหยัด ค่าใชจ้ า่ ย แต่มขี อ้ เสียคอื ผลของการศึกษาไมน่ า่ เช่ือถือเทา่ กับการศกึ ษาในกลมุ่ ตวั อยา่ งกลุม่ เดียว 1.7.2 การศึกษาแนวโน้ม (trend study) เป็นการศึกษาสภาพหรือปรากฏการณ์ท่ี เกิดขึ้นในอดีตและเป็นอยู่ในปัจจุบัน เพ่ือคาดการณ์หรือทานายสภาพการณ์ต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนใน อนาคต เช่น การศกึ ษาแนวโนม้ ของการวิจยั ทางการพยาบาลในทศวรรษหนา้ 2. การวิจัยแบบทดลอง เป็นการวิจัยที่มีการจัดกระทากับตัวแปรอิสระแล้วสังเกตผลที่ เกิดขึ้นจากการจัดกระทานั้น ๆ ภายใต้สถานการณ์กาหนด แลว้ จึงสรุปผลเปรยี บเทยี บกับกลุ่มท่ีไมไ่ ด้

51 รับการจัดกระทา (กลุ่มควบคุม) ซ่ึงการวิจัยที่ถือว่าเป็นการวิจัยแบบทดลองที่แท้จริงจะต้อง ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการดังน้ี 1. มี ก ารจั ด ก ระท า (manipulation) คื อ มี ก ารให้ สิ่ งท ด ล อ ง (experimental treatment หรือ intervention) กับกลุ่มทดลอง เพ่ือวัดผลการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากการให้สิ่ง ทดลองนน้ั ซึ่งสง่ิ ทดลองนนั้ อาจเปน็ ยา สารเคมี สภาพการณ์ หรือวธิ ีการ กไ็ ด้ 2. มีการควบคุม (control) คือจะต้องมีการควบคุมสภาพการณ์ และปัจจัยภายนอก อื่น ๆ ท่ีอาจมีผลอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของผลการทดลองทั้งหมด นอกจากน้ียังต้องมีการ ควบคุมคุณลักษณะของตัวอย่างบางอย่างที่อาจมีผลต่อการศึกษาด้วย เพ่ือที่จะสามารถสรุปได้ว่า ผลการวิจัยทเี่ กดิ ข้นึ เป็นผลจากการทดลองอย่างแท้จริง 3. มีการสุ่ม (randomization) เป็นวิธีการป้องกันการลาเอียงของผู้วิจัยในการเลือก ตัวอยา่ งมาทาการทดลอง ซ่งึ นอกจากจะมีการสุ่มเลือกตัวอย่างแลว้ ยังต้องมีการสุ่มแบ่งกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองด้วย หรือแม้กระทั่งถ้ามีวิธีการทดลองที่จะต้องเปรียบเทียบกันหลายวิธี หรือมีผู้ที่ จะตอ้ งทาการทดลองรว่ มกนั หลายคน ก็ควรจะส่มุ วิธกี ารทดลองและผู้ทาการทดลองด้วย ในการออกแบบวิจัยแบบทดลอง สิ่งที่ผู้วจิ ัยจะต้องคานึงถึงอยู่เสมอคือ งานวิจัยน้ันๆ จะต้อง มที ้งั ความตรงภายในและความตรงภายนอกของการวจิ ยั นั้นๆ ความตรงภายใน (internal validity) เป็นคุณลักษณะท่ีสามารถสรุปได้ว่าผลการทดลองท่ี เกิดข้ึนกับตัวแปรตาม เป็นผลของการจัดกระทาหรือตัวแปรต้นอย่างแท้จริง ไม่ใช่เกิดจากปัจจัย ภายนอกอืน่ ๆ ร่วมด้วย ซ่ึงปัจจัยที่มีอิทธพิ ลต่อความตรงภายในมีหลายปัจจัยดังน้ี ดงั น้ี (ยุวดี ฦๅชา, มาลี เลิศมาลีวงศ์, เยาวลักษณ์ เลาหจินดา, วิไล ลีสุวรรณ, พรรณวดี พุธวัฒนะ และ รุจิเรศ ธนู รักษ,์ 2532) 1. เหตุการณ์ฟ้อง (history) ได้แก่เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นช่ัวคราวหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นโดย ธรรมชาติอยู่แล้วไปร่วมมีผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อตัวแปรตาม โดยที่ผู้วิจัยไม่ทราบหรือไม่ได้ คาดคิดมาก่อนเช่น การศึกษาผลการสอนเร่ืองการรับประทานอาหารต่อการรับประทานอาหารที่มี ไขมันสูง ถ้าในช่วงระยะเวลาเดียวกันได้มีการรณรงค์เร่ืองวิธีการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด การรณรงคน์ ี้ ก็อาจมอี ิทธิพลต่อการรบั ประทานอาหารประเภทไขมันของกลมุ่ ตวั อยา่ งได้ 2. วุฒิภาวะ (maturation) เป็นปัจจัยทีเ่ กดิ ขึน้ กับกลุ่มตัวอย่างที่นามาทดลองในแงข่ องการ เปล่ียนแปลงทางด้านชีววิทยา สรีรวิทยา หรือจิตวิทยา ตามระยะเวลาท่ีผ่านไปนานในการทาวิจัย เช่น กลุ่มตัวอย่างมีพัฒนาการตามอายุที่เพิ่มข้ึน มีความชานาญเพ่ิมข้ึน ความสนใจลดลง เกิด ความ เบอ่ื หน่าย ฯลฯ 3. การวัดหรือการทดสอบ (testing) ในการวัดเพ่ือทราบข้อมูลพ้ืนฐานของกลุ่มตัวอย่าง ก่อนการทดลอง เพ่ือใช้เปรียบเทียบกับข้อมูลท่ีได้จากการวัดภายหลังจากทดลอง อาจมีผลให้กลุ่ม ตัวอยา่ งเกิดความคุน้ เคย ความชานาญในเน้อื หาหรือข้อคาถาม หรอื วธิ ีการวัด จึงทาใหผ้ ลการวัดครั้ง หลังดีขึ้นก็ได้ แสดงว่าผลของการทดลองก็จะไม่ได้เกิดจากการจัดกระทาหรือการทดลองแต่อย่าง เดยี ว 4. เคร่ืองมือวิจัย (instruments) ผลของการวิจัยจะเชื่อถือได้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จะต้องมีความตรง (validity) และความเท่ียง (reliability) สูง นอกจากน้ีการเปลี่ยนเคร่ืองมือใน ระหว่างการทดลอง การเปล่ียนบุคคลผู้ใช้เครื่องมือ การเปล่ียนหลักเกณฑ์ในการจด นับ วัด สังเกต ย่อมมีผลต่อการทดลองด้วยทง้ั ส้นิ

52 5. การถดถอยทางสถิติ (statistical regression) เป็นผลท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติของการ คานวณทุก ๆ คร้ัง มักจะมีแนวโน้มท่ีจะเบี่ยงเบนเขา้ สู่ค่าเฉลี่ยของกลุ่มเสมอ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ วิจัยท่ีเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกัน 2 คร้ังหรือมากกว่า แล้วนาผลการศึกษามาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ซ่ึงถ้าผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นตัวแทนที่ดี เชน่ ได้คนที่ออ่ นมาก หรือไดค้ นที่เก่ง มาก จะทาให้คะแนนที่วัดได้ในครั้งที่ 2 มีแนวโน้มจะเข้าใกล้ค่าเฉลี่ยมาก ซึ่งผลการวิจัยท่ีได้อาจ ไมใ่ ช่เป็นผลท่ีเกดิ ขนึ้ จากการทดลองจริงๆ ก็ได้ 6. ความลาเอียงในการเลือกตัวอย่าง (selection bias) ในการเลือกตัวอย่าง บางครั้งถ้า ผวู้ ิจัยเลือกใช้เทคนิคการเลอื กตัวอยา่ งที่ไม่เหมาะสมทาให้ได้ตวั อยา่ งท่ีไม่เป็นตัวแทนทด่ี ขี องประชากร หรอื ตัวผวู้ จิ ัยมคี วามลาเอยี งเลือกตัวอยา่ ง หรอื เครอื่ งมอื วิจัยตามลักษณะที่ตนเองชอบเข้าไปไวใ้ นกลุ่ม ทดลอง ซึ่งในกลมุ่ ควบคุมก็อาจได้ลักษณะที่ไม่ดี ก็อาจทาให้ผลการวิจัยที่ได้แตกตา่ งกันอย่างชัดเจน ซ่ึงตามความจริงแล้วความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นอาจไม่ได้เกิดจากอิทธิพลของวิธีการทดลองก็ได้ แต่ เกิดจากคณุ ลักษณะทไ่ี ดเ้ ปรยี บของกลุ่มตวั อย่างและเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการทาการทดลอง 7. การลดน้อยลงของตัวอย่าง (mortality) ในการวิจัยบางครั้งเมื่อทาการทดลองไประยะ หน่ึงกลุ่มตัวอย่างอาจเกิดความเบื่อหน่าย หรือเปล่ียนใจถอนตัวจากการทดลอง หรือบางคร้ังกลุ่ม ตัวอยา่ งอาจย้ายภูมิลาเนา หรืออาจมีการเจบ็ ป่วยหรือตายไป ก็อาจทาให้กลุ่มตัวอย่างท่ีเหลือในการ ทดลองในขั้นตอนสุดท้ายเหลือน้อยเกินไปจนไม่สามารถเป็นตัวแทนท่ีดีของประชากรได้ ก็จะส่งผล ทาใหผ้ ลการวิจัยขาดความเทย่ี งตรงได้ 8. อิทธิพลร่วมขององค์ประกอบ (interaction effect) เป็นผลจากการเกิดปัจจัยร่วม ระหว่างความลาเอียงในการเลือกตัวอย่างกับปัจจัยตัวอ่ืน ๆ ที่กล่าวมาแล้ว เช่น ความลาเอียงในการ เลือกตัวอย่างกับวุฒิภาวะ ดังเช่นในการทดสอบวิธีการสอน 2 วิธี ถ้าผู้วิจัยเลือกเด็กหรือผู้ที่จะเรียน ในวิธีการทดลองเป็นกลุ่มที่มีความพร้อมทางด้านร่างกายและสมอง มีการเรียนรู้เร็วกว่าและมีอายุ มากกว่าอีกกลุ่มหน่ึงท่ีเป็นกลุ่มควบคุม ก็จะทาให้ผลการทดลองได้ผลดีกว่าวิธีท่ีใช้เป็นวิธีควบคุมแต่ โดยแทจ้ รงิ แลว้ ผลทีเ่ กิดข้ึนอาจไม่ได้เป็นผลจากวิธีการสอนอยา่ งเดยี วก็ได้ ความตรงภายนอก (external validity) เป็นคุณสมบัติท่ีผลการวิจัยนั้นสามารถขยายการ สรุปผลไปใช้กับประชากรที่มขี นาดใหญ่กว่าได้ และสามารถนาวิธกี ารทดลอง วิธีการวัด และเครอ่ื งมือ ต่าง ๆ ไปใช้กับกลุ่มประชากรอ่ืนได้ ซ่ึงปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความตรงภายนอกของการวิจัยมีดังน้ี ดังนี้ (ยุวดี ฦๅชา, มาลี เลิศมาลวี งศ์, เยาวลักษณ์ เลาหจินดา, วไิ ล ลีสุวรรณ, พรรณวดี พุธวัฒนะ และ รุจิเรศ ธนรู ักษ,์ 2532) 1. อิทธิพลร่วมของความลาเอียงของการเลือกตัวอย่างกับการทดลอง (interaction effect of selection biases and treatment) ซ่ึงความลาเอียงในการเลือกตัวอย่างที่มีคุณลักษณะพิเศษ อาจมีส่วนในการส่งเสริมวิธีการทดลองแล้วทาให้ผลการทดลองไม่สามารถขยายผลไปสรุปให้ ครอบคลมุ ประชากรส่วนใหญไ่ ด้ 2. ปฏิกิริยาหรืออิทธิพลร่วมของการทดสอบก่อนการทดลอง (reactive or interaction effects of pre-testing) การทดสอบก่อนการทดลองในบางครั้งอาจทาให้ผู้ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมี ความรู้สึกท้ังในด้านบวกและลบต่อการทดลอง และยังทาให้รู้สึกตื่นตัว ตระหนักหรือสนใจเป็นพิเศษ ทาให้พฤติกรรมเปลี่ยนไปจากที่เป็นอยู่ตามปกติซึ่งเป็นพฤติกรรมของประชากรกลุ่มใหญ่ได้ ทาให้ ผลการวิจัยไมส่ ามารถสรุปไปถึงประชากรกลุ่มใหญ่ได้

53 3. ปฏิกิริยาของผู้ถูกทดลองต่อวิธีการทดลอง (reactive effects of experimental procedures) โดยที่งานวิจัยบางอย่างถา้ กลุ่มตวั อย่างรูต้ ัวว่ากาลังถกู ทดลองหรือถูกสังเกตในเรื่องใดก็ จะทาให้มีปฏิกิริยาตอบสนองในทางที่ดีมากข้ึน หรือบิดเบือนไปในทางที่ไม่ดีมากขึ้น จึงทาให้ไม่ สามารถนาผลการวจิ ัยไปขยายใชก้ ับประชากรกลมุ่ ใหญ่ได้ 4. อิทธิพลของการทดลองหลายวิธี หรือการทดลองซ้า (reactive effects of multiple treatments) โดยท่ีการให้การทดลองหลายๆ วิธี หรือการทดลองวิธีการเดิมซ้าๆ ในกลุ่มตัวอย่าง กลมุ่ เดิม อาจเกดิ ผลไดว้ า่ ผลการทดลองสดุ ท้ายอาจเป็นผลเน่อื งมาจากการสะสมของอิทธพิ ลของการ ทดลองก่อนหน้าน้ีเร่ือยมา จึงไม่สามารถนาวิธีการทดลองนั้นไปใช้กับกลุ่มประชากรท่ัวไปได้เพราะ ในสภาพการณ์จรงิ จะไม่มกี ารให้สิ่งทดลองซา้ ๆ กัน แบบของการวจิ ัยทดลอง ในการวิจัยแบบทดลองมวี ธิ ีการทาได้อยู่หลายแบบดงั นี้ (เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, ศิริพร ขมั ภ ลขิ ิต และทศั นีย์ นะแส, 2539) ถ้าให้ R = การสุม่ ตัวอย่าง O = การวัดค่าตัวแปร X = การจัดกระทาหรอื การทาการทดลอง 1. แบบมีการควบคุมแบบสมุ่ และมกี ารทดสอบก่อนและหลงั (pretest - posttest control group design) ซ่ึงสามารถเขยี นเปน็ ผงั การวิจยั ไดด้ งั น้ี กลุ่มทดลอง R O1 X O2 กลมุ่ ควบคุม R O1 O2 วิธกี าร 1. สมุ่ ตวั อยา่ งจากประชากรตามจานวนที่ตอ้ งการ 2. ส่มุ ตัวอยา่ งเข้าในกลุ่มควบคมุ และกลุ่มทดลอง 3. ทาการทดสอบก่อนการจดั กระทากับกล่มุ ตวั อยา่ งทั้งสองกลุ่ม 4. จัดกระทากบั กลุ่มทดลอง 5. ทาการทดสอบหลังการจัดกระทาในกลมุ่ ตวั อย่างทงั้ สองกลมุ่ 6. เปรยี บเทยี บคา่ ทวี่ ดั ได้จากกลุ่มทง้ั สอง ข้อดี 1. เป็นแบบการวจิ ยั ท่ไี ม่ซบั ซอ้ น 2. สามารถควบคุมตัวแปรภายนอกท่ีอาจจะมีอิทธิพลต่อความตรงภายในได้หมด ทาให้มั่นใจได้ว่าผลทเ่ี กดิ ข้ึนมาจากการทดลองจริง ๆ ขอ้ เสยี อาจมีความคลาดเคล่ือนที่เกิดข้ึนจากปฏิกริยาร่วมระหว่างการทดลองกับการ ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง เช่น ในกรณีตัวอย่างการวิจัยเป็นมนุษย์อาจประสบปัญหากับการ ทดสอบก่อนการทดลอง ที่อาจมีส่วนกระตุ้นให้ตัวอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤกรรมบางอย่างต่อส่ิง ทดลอง

54 1. แบบท่ีมีการควบคุมแบบสุ่มและมีการทดสอบหลังการทดลอง (posttest – only control group design) สามารถเขียนผงั การวจิ ยั ไดด้ งั น้ี กลุม่ ทดลอง R X O2 กลุ่มควบคมุ R O2 วิธกี าร 1. สุ่มตัวอย่างจากประชากร 2. สมุ่ ตวั อยา่ งเขา้ ในกลมุ่ ควบคมุ และกลมุ่ ทดลอง 3. จดั กระทากบั กลมุ่ ทดลอง 4. ทาการทดสอบหลงั การจัดกระทากบั กลุ่มตัวอย่างท้งั สองกลมุ่ 5. เปรยี บเทยี บคา่ ทีว่ ัดไดข้ องท้งั สองกลุม่ ข้อดี 1. ง่ายและประหยดั เพราะไมต่ ้องทาการทดสอบก่อนการทดลอง 2. ผลจากการทดลองไม่มีอิทธิพลจากปฏิกริยาร่วมระหว่างการทดลองกับการ ทดสอบกอ่ นและหลังการทดลอง ข้อเสีย กลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคุมอาจมคี วามไมเ่ ท่าเทยี มกนั ก่อนการทดลอง 3. แบบสก่ี ลุม่ ทดลองของโซโลมอน (Solomon four – group design) สามารถเขยี น เป็นผงั การวิจัยไดด้ ังนี้ กลมุ่ ทดลอง R O1 X O2 กลุ่มควบคมุ R O1 O2 กลมุ่ ทดลอง R X O2 กลุ่มควบคมุ R O2 วธิ กี าร 1. สุม่ ตัวอย่างจากประชากร 2. ทาการสุม่ กลมุ่ ตวั อยา่ งเขา้ กล่มุ โดยแบ่งเป็น 4 กล่มุ 3. สมุ่ กลมุ่ ทีจ่ ะต้องได้รับการทดลอง 2 กลุ่ม และกล่มุ ควบคุม 2 กลุม่ 4. สุ่มกลุ่มตัวอย่างท่ีจะได้รับการทดสอบก่อนและหลังจากกลุ่มท่ีจะได้รับการ ทดลอง 1 กลุม่ และกลมุ่ ควบคมุ 1 กลมุ่ และทาการวัด 5. จัดกระทากบั กลุม่ ทดลองท้งั 2 กลุม่ 6. ทาการทดสอบหลังการจัดกระทากับกลมุ่ ตัวอย่างท้งั 4 กลมุ่ 7. หาความแตกต่างของคา่ ทว่ี ัดไดจ้ ากการทดสอบหลงั และก่อนการทดลอง 8. พิจารณาดูว่าคา่ O2 ของกลุ่มที่ 1 กับ O2 ของกล่มุ ที่ 3 และ O2 ของกลุ่มท่ี 2 กับ O2 ของกลุ่มท่ี 4 มีความแตกต่างกันหรือไม่ ถ้าไม่แตกต่างกันแสดงว่าไม่มี อิทธิพลของการทดสอบก่อนการทดลอง ในกรณีสามารถหาความแตกต่างของ ผลการทดลองได้จากการพิจารณาความแตกต่างของ O2 ของกลุ่มที่ 3 และ O2 ของกลุ่มท่ี 4

55 ข้อดี 1. สามารถควบคุมแหล่งท่ีทาใหข้ าดความตรงภายในไดห้ มด 2. สามารถควบคุมปฏิกริยาร่วมระหว่างวิธีการทดลองกบั การทดสอบก่อนและหลัง การทดลองได้ ข้อเสีย หาหนว่ ยตวั อยา่ งค่อนขา้ งมาก ยงุ่ ยากในการสมุ่ และเสยี ค่าใช้จ่ายมาก 3. การวิจัยแบบกึ่งทดลอง เป็นการวิจัยท่ีมีวิธีการคล้ายกับการวิจยั แบบทดลอง แต่ในการ ทาวิจัยนั้นไม่ได้มีการควบคุมและ/หรือการสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง ซึ่งสามารถเปรียบเทียบลักษณะของ การวิจยั กึ่งทดลองกับการวิจัยแบบทดลองไดด้ งั น้ี ลักษณะ การวิจยั แบบทดลอง การวิจัยแบบกึ่งทดลอง การจัดกระทา มี มี การควบคมุ มี มีหรือไม่มี การสมุ่ เขา้ กลุ่ม มี มีหรอื ไมม่ ี แบบของการวิจัยกึ่งทดลอง มีได้หลายแบบแต่ท่ีนิยมใช้ในการวิจัยทางการพยาบาลมี ดังน้ี 1. แบบมกี ล่มุ ควบคมุ ไม่ไดส้ ุ่มและมกี ารทดสอบกอ่ นและหลงั การทดลอง (non – randomized control – group pretest – posttest design) สามารถเขียนเป็นแผนผัง การออกแบบวิจัย ไดด้ งั นี้ กลุ่มทดลอง O1 X O2 กลมุ่ ควบคมุ O1 O2 วิธกี าร 1. เลือกกลมุ่ ตัวอย่าง 2 กลมุ่ เป็นกลมุ่ ทดลอง 1 กลมุ่ และกลมุ่ ควบคมุ 1 กลมุ่ 2. ทดสอบกอ่ นการทดลองในกล่มุ ตวั อยา่ งทัง้ 2 กลุ่ม 3. ทาการจัดกระทาหรือทาการทดลองกับกลุ่มทดลอง 4. ทาการทดสอบหลังการทดลองกบั กลุ่มตัวอยา่ งท้ัง 2 กลุ่ม 5. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลการทดสอบก่อนและหลังการทดลองของ กลมุ่ ตัวอย่างทงั้ 2 กลมุ่ ข้อดี สะดวก และประหยัด ข้อเสยี 1. กลุ่มตวั อย่างท้ัง 2 อาจมีคุณสมบตั ิท่ีไมเ่ ท่าเทียมกัน 2. ไม่สามารถควบคุมปฏิกริยาระหว่างการจัดกระทากับการทดสอบก่อนการ ทดลองได้ 2. แบบมีกลุ่มควบคุมและมีการทดสอบหลังการทดลอง (non – randomized control – group posttest only design) สามารถเขยี นเป็นแผนผังการออกแบบวิจัย ได้ดังนี้ กลุ่มทดลอง X O2

56 กลุ่มควบคุม O2 วิธกี าร 1. เลือกกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2 กลุ่ม เปน็ กลมุ่ ทดลอง 1 กลมุ่ และกลมุ่ ควบคมุ 1 กลุ่ม 2. ทาการจดั กระทาหรอื ทาการทดลองกับกล่มุ ทดลอง 3. ทาการทดสอบหลังการทดลองกบั กลุ่มตวั อย่างทั้ง 2 กลมุ่ 4. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลการทดสอบก่อนและหลังการทดลองของ กลุ่มตวั อย่างท้งั 2 กลมุ่ ขอ้ ดี สะดวก และประหยดั ขอ้ เสีย กลุ่มตวั อยา่ งท้งั 2 อาจมคี ุณสมบัตทิ ีไ่ มเ่ ทา่ เทยี มกนั 3. แบบกลุ่มเดียวมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (one group pretest – posttest design) สามารถเขยี นเปน็ แผนผงั การออกแบบวิจยั ไดด้ ังน้ี กลมุ่ ทดลอง O1 X O2 วธิ ีการ 1. เลือกกล่มุ ตัวอย่างเปน็ กลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม 2. ทดสอบกอ่ นการทดลอง 3. ทาการจดั กระทาหรือทาการทดลองกบั กลุม่ ทดลอง 4. ทาการทดสอบหลังการทดลอง 5. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลการทดสอบก่อนและหลังการทดลองของ กลมุ่ ตัวอยา่ ง ข้อดี สะดวก และประหยัด ขอ้ เสีย ไม่สามารถควบคมุ ปฏิกริยาระหว่างการจัดกระทากับการทดสอบก่อนการทดลองได้ 4. แบบอนกุ รมเวลา (Time series design) สามารถเขียนเป็นแผนผังการออกแบบวิจยั ได้ดังน้ี O1 O2 O3 O4 X O5 O6 O7 O8 วิธกี าร 1. เลือกกลมุ่ ตัวอยา่ ง 1 กลมุ่ 2. ทาการวัดหรอื ทดสอบหลายครัง้ ก่อนการทดลอง โดยเว้นระยะเวลาระหว่างการ ทดสอบแตล่ ะครั้งให้ห่างกันพอสมควร 3. ทาการจดั กระทาหรือทาการทดลอง 4. ทาการทดสอบหลงั การจัดกระทาหลายครง้ั โดยใหแ้ ต่ละครงั้ หา่ งกันพอควร 5. พิจารณาการเปล่ียนแปลงของผลการทดสอบจาก O4 กับ O5 ว่าต่างจาก O1 กับ O5 เพียงใด และพิจารณาค่าความแตกต่างระหว่าง O1 O2 O3 กับ O6 O7 O8 ถ้ามีความแตกต่างกันมากผิดปกติ สรุปได้ว่าน่าจะเป็นผลมาจาก การทดลอง

57 ขอ้ ดี 1. สามารถเห็นพฒั นาการของตัวแปร 2. สะดวก ไมต่ อ้ งใช้กลุ่มตวั อย่างหลายกลุ่ม ข้อเสีย 1. ไมม่ กี ลุ่มควบคมุ และเปรยี บเทียบ 2. ต้องใชเ้ วลาตดิ ตามผลนาน 3.2 ลักษณะของการวิจัย การวจิ ยั ที่ดีควรมีลักษณะ ดงั นี้ 1. การวิจัยเป็นการคานวณท่ีตอ้ งอาศัยความรู้ ความชานาญ และความมรี ะบบ 2. การวิจยั เปน็ งานทมี่ เี หตุผลและเปา้ หมาย 3. การวิจัยจะต้องมเี คร่ืองมือ หรือเทคนิคในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ที่มีความ เท่ียงตรงและ เชื่อถือได้ 4. การวจิ ยั จะต้องมีการรวบรวมข้อมูลใหม่และได้ความร้ใู หม่ กรณีทใี่ ชข้ ้อมูลเดมิ จุดประสงค์ ตอ้ งแตกต่างไปจากจุดประสงค์เดมิ ความรู้ทอี่ าจได้จากความรเู้ ดมิ ในกรณที ี่มุ่งวจิ ัยเพ่ือตรวจสอบซ้า 5. การวจิ ัยมักเปน็ การศึกษาคน้ ควา้ ท่มี งุ่ ข้อเท็จจรงิ เพื่อให้อธิบายรูปปรากฎการณ์หรือพฒั นา กฎเกณฑ์ ทฤษฎี หรือตรวจสอบทฤษฎี หรือพยากรณป์ รากฎการณ์ตา่ ง ๆ หรอื เพ่ือวางนยั ทวั่ ไป (Generalization) หรอื เพ่ือแก้ปญั หาต่าง ๆ 6. การวิจยั ต้องอาศยั ความเพยี รพยายาม ความซ่อื สัตย์ กล้าหาญ บางครงั้ ต้องเฝ้าติดตามและ บนั ทึกผลอยา่ งละเอียด ใชเ้ วลานาน บางครง้ั ผลการวจิ ัยคัดแยง้ กับความเชื่อของบุคคลอ่นื อันอาจจะ ให้ได้รับการโจมตี ผ้วู ิจยั จาตอ้ งใช้ความกล้าหาญเสนอผลการวิจัยตามความเปน็ จรงิ ที่ค้นพบ 7 การวิจัยจะต้องมีการบันทึก และเขยี นรายงานการวจิ ัยอยา่ งระมัดระวัง ๓.๓ ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากร ประชากร(Population) หมายถึง กลุ่มของสิ่งต่างๆท้ังหมดทีผ่ ู้วจิ ัยสนใจ ซึ่งอาจเป็นกลุ่มของ ส่ิงของ คน หรือเหตกุ ารณต์ ่างๆ กล่มุ ตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่างกลุ่ม(Sample)หมายถึง เป็นส่วนหนึ่งของประชากรท่ีผู้วิจัยสนใจ กลุ่มตัวอย่าง ที่ดีหมายถึงกลุ่มตัวอย่างท่ีมีลักษณะต่างๆที่สาคัญครบถ้วนเหมือนกับกลุ่มประชากร เป็นตัวแทนท่ีดี ของกลุ่มประชากรได้ การใช้กลุ่มตัวอย่างมาศึกษาค่าสถิติ(statistics) ซ่ึงเป็นลักษณะที่ได้จากการวิเคราะห์กับกลุ่ม ตัวอย่าง อาจจะมีความผิดพลาดได้เม่ือนาไปใช้ประมาณค่าพารามิเตอร์ (parameter) หรือลักษณะ ของประชากร (characteristics of population) บางครั้งค่าสถิติที่ได้อาจประมาณต่ากว่า ค่าพารามิเตอร์ (underestimation) หรือประมาณเกินกว่าความเป็นจริงของลักษณะประชากร (overestimation) ซ่ึงถา้ ทาการศกึ ษาโดยการเลอื กกลุม่ ตวั อย่างประชากรจากประชากรเดิม (parent population) ด้วยขนาดของกลุ่มตัวอย่างเท่าเดิมโดยวิธีการสุ่ม(random) และใช้หลักการสุ่มโดย อาศัยความน่าจะเป็น (probability sampling) ความแปรผันของการประมาณค่าพารามิเตอร์จาก

58 การแจกแจงค่าสถิติท่ีนามาใช้ในการประมาณจะแปรผันตามขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยการแจกแจง ของค่าสถิติน้ีจะมีลกั ษณะการแจกแจงเข้าสู่การแจกแจงปกติ (normal distribution) ซง่ึ เรยี กวา่ การ แจกแจงเชิงสุ่ม (sampling distribution) โดยค่าคาดหวังของค่าสถิติตจะมีค่าเท่ากับค่าพารามิเตอร์ ความแปรผันหรือความคลาดเคล่ือนในการประมาณค่า ให้เป็นความเคล่ือนแบบสุ่ม (random error) หรือเรียกว่าเป็นความคลาดเคลื่อนเน่ืองจากการเลือกตัวอย่าง (sampling error) หรือเรียกว่าเป็น ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (standard error) (เชดิ ศกั ดิ์ โฆวาสินธ์. 2545 : 52) ในการวิจัย นักวิจัยไม่ได้ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างหลายๆกลุ่มจากประชากรเดียวกันเพ่ือหาการ แจกแจงเชิงสุ่ม แต่จะศึกษากับกลุ่มตัวอย่างเพียงกลุ่มเดียว เพ่ือหาการการแจกแจงของกลุ่มตัวอย่าง และให้ใช้ ทฤษฎี central limit theorem เช่ือมโยงความสัมพันธ์ของการแจกแจงเชิงสุ่ม และการ แจงแจงของประชากร ประมาณคา่ พารามิเตอร์และค่าความคลาดมาตรฐานโดยระบุความม่ันใจหรือ ความคลาดเคล่ือนในการประมาณค่า ดังนั้นในการใช้กลุ่มตัวอย่างศึกษาแทนประชากรจาเป็นต้อง คานึงถึง ความถูกต้อง (accuracy) ในการเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร ซึ่งหมายถึง การไม่มีอคติ (bias)ในตัวอย่างท่ีถูกเลือก หรือกล่าวได้ว่าโอกาสของการเลือกตัวอย่างมาศึกษาเพ่ือประมาณ ค่าพารามิเตอร์สูงหรือต่ากว่าความเป็นจริงมีพอๆกัน นอกจากนี้ยังต้องคานึงถึงความแม่นยาในการ ประมาณค่าพารามิเตอร์ (precision of estimate) ซึง่ ความแม่นยาน้ีสามารถวดั ไดจ้ ากคา่ ความคลาด เลอ่ื นในการประมาณคา่ โดยคา่ ความคลาดเลอื่ นตา่ จะใหค้ วามแมน่ ยาในการประมาณคา่ สงู การเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทนของประชากรน้ันมีอยู่สองหลักการใหญ่คือ 1) หลักการอาศัยความน่าจะเป็น (probability sampling) หรือการเลือกอย่างสุ่ม (random selection) ซึ่งเป็นหลักการที่สมาชิกของประชากรแต่ละหน่วยมีความน่าจะเป็นในการถูกเลือก เท่าๆกันและทราบความน่าจะเป็นน้ัน 2) ไม่ใช้หลักการความน่าจะเป็น (nonprobability sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างท่ีความน่าจะเป็นในการถูกเลือกของแต่ละหน่วยตัวอย่างไม่ เท่ากนั หรอื บางหน่วยมโี อกาสทีจ่ ะไม่ถกู เลอื ก ขนั้ ตอนการเลือกกลุ่มตวั อย่าง กาหนด/นิยามประชากรเป้าหมาย รวบรวมสมาชกิ ทั้งหมดของประชากร กาหนดหน่วยของการสุม่ ตัวอย่าง วางแผนการเลือกกลุ่มตวั อย่าง ทาการเลอื กกล่มุ ตวั อยา่ ง การกาหนดขนาดกลมุ่ ตวั อย่าง 1. กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ จานวนประชากรหลักร้อยใชก้ ลมุ่ ตัวอย่าง 15 – 30% จานวนประชากรหลักพนั ใช้กลมุ่ ตัวอยา่ ง 10 – 15% จานวนประชากรหลกั หมื่นใช้กลุ่มตัวอยา่ ง 5 – 10 % 2.ใช้สูตรคานวณ 2.1 กรณีไม่ทราบค่าพารามิเตอร์ ไม่ทราบจานวนประชากร ทราบเพียงแต่ว่ามี จานวนมาก 2.2 กรณีทที่ ราบจานวนประชากรและมจี านวนไม่มาก 3.กาหนดขนาดกลุ่มตวั อย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan

59 ตารางแสดงจานวนประชากรและจานวนกล่มุ ตัวอยา่ ง ของ Krejcie and Morgan จานวน จานวนกลุ่ม จานวน จานวนกลุ่ม จานวน จาน ว น ก ลุ่ ม ตัวอย่าง ประชากร ตัวอย่าง ประชากร ตวั อยา่ ง ประชากร 291 10 10 220 140 1200 297 302 15 14 230 144 1300 306 310 20 19 240 148 1400 313 317 25 24 250 152 1500 320 322 30 28 260 155 1600 327 331 35 32 270 159 1700 335 338 40 36 280 162 1800 341 346 45 40 290 165 1900 351 354 50 44 300 169 2000 357 361 55 48 320 175 2200 364 367 60 52 340 181 2400 368 370 65 56 360 186 2600 375 377 70 59 380 191 2800 379 380 75 63 400 196 3000 381 382 80 66 420 201 3500 384 85 70 440 205 4000 90 73 460 210 4500 95 76 480 214 5000 100 80 500 217 6000 110 86 550 226 7000 120 92 600 234 8000 130 97 650 242 9000 140 103 700 248 10000 150 108 750 254 15000 160 113 800 260 20000 170 118 850 265 30000 180 123 900 269 40000 190 127 950 274 50000 200 132 1000 278 75000 210 136 1100 285 100000

60 3.เทคนิคการสุ่มกลุ่มตวั อยา่ ง 3.1 การส่มุ โดยไมค่ านึงถงึ ความน่าจะเป็น ในบางครั้งการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น โดยวิธีการสุ่มอาจจะไม่ สามารถทาได้หรือทาได้ยาก การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็นจึงถูกนามาใช้ซ่ึงการ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้จะมีลักษณะเป็นอัตวิสัย (subjective) ซ่ึงมักจะทาให้การประมาณ ค่าพารามิเตอร์ขาดความแม่นยา ดังนั้นในการเลือกกลลุ่มตัวอย่างแบบน้ีมักจะใช้เมื่อไม่ต้องการ อ้างอิงถึงลักษณะประชากร ส่วนใหญ่จะใช้กับงานวิจัยสารวจข้อเท้จจริง (Exploration research) กับกลุ่มที่มีลักษณะเฉพาะและไม่ต้องการเปรียบเทียบกับกลุ่มอ่ืนๆ นอกจากน้ียังมีเหตุผลทางด้าน ค่าใช้จ่ายและเวลา เพราะการเลือกตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าเป็นจะมีค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยกว่า อาศัยความนา่ จะเป็น 1.1 การสุ่มโดยบงั เอญิ (Accidental sampling) เป็นการสุ่มจาก สมาชิกของประชากรเป้าหมายทเี่ ปน็ ใครก็ได้ท่ีสามารถให้ขอ้ มูลไดค้ รบถว้ น การส่มุ โดยวธิ ีนไ้ี ม่สามารถ รบั ประกนั ความแม่นยาได้ ซ่งึ การเลือกวิธีน้ีเป็นวิธที ี่ด้อยที่สดุ เพราะเป็นการเลือกตัวอยา่ งท่ีมีลักษณะ สอดคลอ้ งกับนยิ ามของประชากรทสี่ ามารถพบได้และใช้เปน็ อย่างได้ทนั ที 1.2 การส่มุ แบบโควตา (Quota sampling) เปน็ การสมุ ตัวอย่างโดยจาแนก ประชากรออกเป็นส่วนๆก่อน (strata)โดยมีหลักจาแนกว่าตัวแปรท่ีใช้ในการจาแนกน้ันควรจะมี ความสัมพันธ์กับตัวแปรที่จะรวบรวม หรือตัวแปรที่สนใจ และสมาชิกท่ีอยู่แต่ละส่วนมีความเป็นเอก พนั ธ์ ในการสุ่มแบบโควตา น้มี ขี ั้นตอนการดาเนนิ การดังนี้ 1.2.1 พิจารณาตัวแปรที่สัมพันธ์กับลักษณะของประชากรท่ีคาถามการ วิจยั ตอ้ งการท่ีจะศกึ ษา เช่น เพศ ระดับการศึกษา 1.2.2 พิจารณาขนาดของแต่ละส่วน(segment)ของประชากรตามตามตัว แปร 1.2.3 คานวณค่าอัตราส่วนของแต่ละส่วนของประชากร กาหนดเป็น โควตาของตวั อย่างแตล่ ะกลมุ่ ท่จี ะเลือก 4. เลือกตวั อยา่ งในแต่ละส่วนของประชากรให้ไดจ้ านวนตามโควตา 1.3 การสุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) หรอื บางครง้ั เรียกว่าการสุ่มแบบพิจารณา (judgment sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ดุลพินิจของผู้วิจัยใน การกาหนดสมาชิกของประชากรที่จะมาเป็นสมาชิกในกลุ่มตัวอย่าง ว่ามีลักษณะสอดคล้องหรือเป็น ตัวแทนท่ีจะศึกษาหรือไม่ ข้อจากัดของการสุ่มตัวอย่างแบบน้ีคือไม่สามารถระบุได้ว่าตัวอย่างที่เลือก จะยังคงลักษณะดังกลา่ วหรอื ไม่เม่ือเวลาเปลีย่ นไป 1.4 การสมุ กลุ่มตวั อย่างตามสะดวก (convenience sampling) การเลอื กกล่มุ ตัวอย่างโดยถือเอาความสะดวกหรือความง่ายต่อการรวบรวมข้อมูล ข้อจากัดของการสุ่มแบบน้ีจะมี ลกั ษณะเหมือนกบั การสุ่มโดยบังเอิญ 1.5 การสุมตัวอย่างแบบสโนว์บอลล์ (snowball sampling) เป็นการเลือก ตัวอย่างในลักษณะการสร้างเครือข่ายข้อมูล เรียกว่า snowball sampling โดยเลือกจากหน่วย ตัวอย่างกลุ่มแรก (จะใช้หรือไม่ใช้ความน่าจะเป็นก็ได้) และตัวอย่างกลุ่มน้ีเสนอบุคคลอ่ืนท่ีมีลักษณะ ใกล้เคียงตอ่ ๆไป

61 ขอ้ จากดั ของการสุ่มโดยไม่อาศยั ความน่าจะเปน็ 1. ผลการวิจัยไม่สามารถอ้างอิงไปสู่ประชากรทงั้ หมดได้ จะสรปุ อยู่ในขอบเขตของกลุ่มตัวอย่าง เท่านั้น ข้อสรุปนั้นจะสรุปไปหาประชากรได้ต่อเมื่อกลุ่มตัวอย่างมีลักษณะต่างๆที่สาคัญๆ เหมือนกับประชากร 2. กลุ่มตัวอย่างที่ได้น้ันข้ึนอยู่กับการตัดสินใจของผู้วิจัยและองค์ประกอบบางตัวท่ีไม่สามารถ ควบคุมได้ และไม่มีวธิ ีการทางสถติ ิอยา่ งไรท่ีจะมาคานวณความคลาดเคลื่อนที่เกดิ จากการสุ่ม (sampling error) 3.2 การสุม่ โดยการคานึงถึงความน่าจะเป็น(probability sampling) 3.2.1 การสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) สมาชิกท้ังหมดของประชากรเป็นอิสระซึ่งกันและกัน แล้วสุ่มหน่วยของการสุ่ม (Sampling unit) จนกว่าจะได้จานวนตามที่ต้องการ โดยแต่คร้ังท่ีสุ่ม สมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรมีโอกาส ถูกเลือกเท่าเทียมกัน ซ่ึงก่อนที่จะทาการสุ่มนั้น จะต้องนิยามประชากรให้ชัดเจน ทารายการสมาชิก ทงั้ หมดของประชากร สุ่มตวั อย่างโดยใชว้ ิธีท่ีทาให้โอกาสในการของสมาชกิ แต่ละหนว่ ยในการถกู เลอื ก มีค่าเทา่ กัน ซึ่งสามารถทาได้ 2 วิธี คือ 2.1.1 การจับฉลาก 2.1.2 การใช้ตารางเลขสุ่ม (table of random number) ซ่ึงตัวเลขในตาราง ได้มาจากการอาศัยคอมพิวเตอร์กาหนดค่า หรือบางครั้งสามารถใช้วิธีการดึงตัวอย่างโดยอาศัย โปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการสุ่มอย่างง่าย มีข้อจากัดคือ ประชากรต้องนับได้ครบถ้วน (finite population) ซึ่ง บางครง้ั อาจสรา้ งปัญหาใหก้ ับนักวิจยั 3.2.2 การส่มุ แบบเปน็ ระบบ (systematic sampling) ใชใ้ นกรณที ่ปี ระชากรมกี ารจัดเรยี งอยา่ งไม่ลาเอยี ง 1) ประชากรหารด้วยจานวนกลุม่ ตวั อย่าง (K = N/n) 2) สมุ่ หมายเลข 1 ถึง K (กาหนดสุ่มไดห้ มายเลข r ) 3) r จะเป็นหมายเลขเร่ิมต้น ลาดับตอ่ ไป r + K, r +2K, r + 3K, ….. การสุ่มแบบเป็นระบบ โอกาสถูกเลือกของตัวอย่างไม่เป็นอิสระจากกัน เพราะเม่ือ ตวั อย่างแรกถูกสุ่มแล้ว ตัวอย่างหน่วยอน่ื ก็จะถูกกาหนดให้เลือกตามมาโดยอัตโนมตั ิ โดยไม่ มกี ารส่มุ 3.3 การสมุ่ แบบแบ่งชั้น (stratified random sampling) เปน็ การสุ่มกลมุ่ ตวั อยา่ งทแี่ บ่งกลุ่มประชากรออกเปน็ กล่มุ ย่อย (subgroup or strata) เสียก่อนบน พื้นฐานของตัวแปรท่ีสาคัญท่ีส่งผลกระทบต่อตัวแปรตาม โดยมีหลักในการจัด แบ่งกลุ่มแต่ละกลุ่มมีความเป็นเอกพันธ์ (Homogeneous) หรือกล่าวได้ว่า ในกลุ่มเดียวกันจะมี ลักษณะคล้ายคลึงกันตามกลุ่มย่อยของตวั แปร แตจ่ ะมคี วามแตกตา่ งระหว่างกลุ่ม จานวนสมาชิกใน กลมุ่ ย่อยจะถูกกาหนดให้เป็นสัดส่วน (proportion) ตามสดั ส่วนท่ปี รากฏในประชากร ซ่ึงเรียกวา่ การ สุ่มแบบแบ่งชัดโดยใช้สัดสัด (proportion stratified sampling) การสุ่มแบบแบ่งช้ันจะมีความ เหมาะสมกบั งานวิจัยที่สนใจความแตกตา่ งของลกั ษณะประชากรในระหว่างกลมุ่ ย่อย

62 3.4การสุ่มตวั อยา่ งแบบกลุ่ม (cluster sampling) ในกรณีที่ประชากรมีขนาดใหญ่ การสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยจัดกระทากับรายการสมาชิกทุกๆหน่วยของ ประชากรอาจทาได้ยากหรือทาไม่ได้เลย ดงั น้นั แทนทจ่ี ะใช้วิธีการสุมจากทกุ หน่วย นักวจิ ัยสามารถสุ่ม จากกลุ่มที่ถูกจัดแบ่งไว้อยู่แล้ว ซึ่งวิธีการแบบนี้เรียกว่าการสุ่มแบบกลุ่ม (cluster sampling) สิ่งท่ี ควรคานึงถึงการสุ่มแบบกลมุ่ มดี งั น้ี (เชดิ ศกั ด์ โฆวาสนิ ธ.์ 2545 : 62) 3.4.1ความแตกต่างของลักษณะที่จะศึกษาระหว่างกลุ่ม (cluster) มีไม่มาก หรือเรียกว่ามี ความเป็นเอกพันธ์ (homogeneous) 3.4.2 ขนาดของแตล่ ะกลมุ่ เทา่ กันหรือแตกตา่ งกันไม่มากนกั เพราะเมอื่ เลอื กกลุ่มมา เป็นตัวอย่างแล้ว การประมาณค่าพารามิเตอร์ จะมีลักษณะไม่อคติ (unbias estimation) มากกว่า กรณที ีก่ ลุ่มตัวอยา่ งในแตก่ ลุม่ มีขนาดแตกตา่ งกนั มาก 3.4.3 ขนาดของกลุ่ม (cluster) ไม่มีคาตอบแน่นอนวาจานวนหน่วยตัวอย่างที่ศึกษาในแต่ ละกลุ่ม จะเปน็ เท่าใด ขน้ึ อย่กู ับคาถามการวจิ ยั และความยากง่ายในการเกบ็ ข้อมลู 3.4.4การใช้วิธีการสุมแบบ multistage cluster sampling แท่นการใช้ single – stage มี เหตผุ ลดงั นี้  ขนาดของแต่ละกลุ่ม ท่ีมีอยู่มีขนาดใหญ่เกินไปเกินกว่าขนาดตามกาหลังทาง เศรษฐกจิ  สามารถหลกี เลีย่ งคา่ ใช้จา่ ยทีเ่ กิดข้ึนจากการแบ่งกลมุ่ ให้มีขนาดเล็กลงในแต่ละกลุม่  ผลของการแบ่งกลุ่ม (clustering) แม้จะมีขนาดเล็กลงแต่ในระหว่างกลุ่มท่ีจะศึกษา ยังมีความแตกต่างกนั ไม่มากนกั  การเลือกตัวอย่างของ compact cluster ให้ความยุ่งยากในกาเกบ็ รวบรมข้อมูล

63 3.5 ขนาดขอกลุ่มตัวอย่างหรือจานวนกลุ่ม (cluster) ท่ีต้องการในการเทียบเคียงจากการ เลือกแบบการสุ่มอย่างงา่ น (simple random sampling) ในการคานวณขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง โดยใช้จานวนทง้ั หมดของกลุ่ม ที่จัดแบง่ เปน็ ประชาการทีน่ ามาใช้ในการคานวณ 5. การส่มุ แบบหลายข้นั ตอน (multi-stage sampling) เป็นกระบวนการสุม่ กลุ่มตวั อย่างจากประชากรซึ่งดาเนินการสุ่มตัง้ แต่ 3 ขน้ั ข้นึ ไป

64 สรปุ การออกแบบวิจัยเป็นการออกแบบแผนการดาเนินงานวจิ ัย เพื่อที่จะได้วธิ กี ารดาเนินงานวิจัย ทส่ี ามารถให้คาตอบของการวิจัยทถ่ี ูกต้อง แม่นยา และประหยัดซึ่งส่ิงสาคัญที่ผู้วิจัยควรจะคานึงถึงใน การออกแบบวจิ ัยคอื ควรจะใหม้ ีทัง้ ความตรงภายใน และความตรงภายนอก ซ่ึงแบบวิจยั สามารถแบ่ง ออกเปน็ กล่มุ ใหญ่ๆ ได้ 3 กลมุ่ คือ การวิจัยแบบไม่ทดลอง การวิจัยแบบทดลอง และการวิจัยแบบกึ่ง ทดลอง สาหรบั การท่จี ะเลือกใชแ้ บบการวิจัยแบบใดในการทาวิจยั น้นั ขึ้นอยู่กบั เรื่องท่ผี วู้ ิจัยสนใจจะ ศกึ ษาว่าเป็นเร่ืองท่ีมลี ักษณะอย่างไร กลุ่มตัวอย่างคือใครหรืออะไร มีข้อจากัดในด้านใดบ้างในการทา วจิ ัยน้ันๆ อย่างไรกต็ ามผู้วจิ ยั ควรเลอื กแบบวจิ ัยทม่ี ีขอ้ บกพรอ่ งนอ้ ยที่สุดและเหมาะสมกับสถานการณ์ การทาวจิ ยั เรื่องนัน้ ๆ มากทีส่ ุดเปน็ หลกั ลักษณะงานวจิ ยั ที่ดีต้องอาศัยความรู้ ความชานาญ และความมีระบบ เป็นงานทม่ี เี หตุผล และเปา้ หมายมีเครื่องมือ เทคนคิ ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท่ีมีความ เทยี่ งตรงและเช่ือถือการรวบรวม ขอ้ มลู ใหม่และไดค้ วามรู้ใหม่ มุง่ ข้อเท็จจรงิ การวิจัยต้องอาศยั ความเพียรพยายาม ความ ซ่อื สตั ย์ กล้าหาญ บางครั้งต้องเฝา้ ตดิ ตามและบันทึกผลอย่างและจะต้องมกี ารบนั ทึก และเขยี น รายงานการวจิ ยั อยา่ งระมัดระวงั การทาวิจัยจาเป็นจะต้องเลือกให้ได้ตัวอย่างที่ดีพอ โดยให้มีความเอนเอียงน้อยที่สุด และมี ขนาดเหมาะสม รวมขจัดความคลาดเคลื่อนดังกล่าวมาแล้วโดยคานึงถึงสาเหตุจึงจะทาให้ผลของการ วิจัยมคี วามถูกต้องเช่อื ถือไดม้ ากที่สุด