Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความโดดเด่น

ความโดดเด่น

Published by samai.c, 2020-01-02 01:37:47

Description: ความโดดเด่น

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบ 4 นอกจากการประเมินตามมาตรฐานทั้ง 3 มาตรฐานแล้วยังมี การประเมินความโดดเด่นเฉพาะทาง (Challenging Standards) ซึ่งการประเมินความโดดเด่นเฉพาะทาง เป็นทางเลือกให้สถานศึกษาได้แสดงผลการดำเนินงานที่มีความโดดเด่นในด้านต่างๆ เป็นการส่งเสริม สถานศึกษาให้เป็นต้นแบบในการพัฒนาในด้านต่างๆ และเร่งรัดคุณภาพสถานศึกษาสู่การเป็นสถานศึกษา ขีดสมรรถนะสูง พร้อมสำหรับการแข่งขันระดับสากลในอนาคต โดยสถานศึกษาเป็นผู้แจ้งความจำนงในการ ประเมินมาตรฐานความโดดเด่นเฉพาะทางด้านใดดา้ นหนึง่ หรอื หลายด้าน ได้แก่ 1) ความสามารถด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรม, 2) ความสามารถในการใช้ภาษาและการสื่อสาร, 3) ความสามารถเฉพาะทางที่สำคัญ, 4) การบริหารจัดการศกึ ษา และ 5)อนื่ ๆ ตามที่สถานศึกษาประกาศเปน็ เอกลกั ษณ์ ทั้งน้ีโรงเรยี นนครสวรรค์เป็นโรงเรยี นท่ีรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบ 4 ระหว่างวันท่ี 19-20 ธันวาคม 2562 โรงเรียนนครสวรรค์จึงมีความประสงค์ขอรับการประเมินความโดดเด่นเฉพาะทาง (Challenging Standards) ในด้านความสามารถเฉพาะทางที่สำคญั โดยนำเสนอนวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ ทาง วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ท่ีมีความโดดเด่น และได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (International Recognition) และหากเอกสารฉบับน้ีมีความผิดพลาดประการใด ต้องขออภยั มา ณ โอกาสนี้ และขออนุญาต ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเพอื่ ส่งเอกสารเพิ่มเติมในภายหลัง คณะผ้จู ัดทำ

สารบญั ข เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ความสำคัญของนวตั กรรม/ปฏบิ ตั ิการทเี่ ป็นเลิศ 1 โมเดลการดำเนินงานและกระบวนการพัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง 4 ขัน้ ตอนการพฒั นาระบบการเรียนรู้ 7 ผลความสำเร็จ 11 การเผยแพร่ 26

1 การประเมินความโดดเดน่ เฉพาะทาง (Challenging Standards) มติ ิความสามารถเฉพาะทางท่ีสำคัญ 1. ความสำคญั ของนวตั กรรม/ปฏบิ ตั ิการที่เปน็ เลศิ การจัดการศึกษาของโรงเรียนนครสวรรค์ ในปี พ.ศ. 2511 เป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาแบบประสม (คมส.) รนุ่ แรก เปิดทำการสอนท้งั วิชาสามัญและสายอาชพี ปี พ.ศ. 2521 ใช้หลักสูตร มธั ยมศึกษาตอนตน้ ปี พ.ศ. 2524 ใช้หลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนปลาย เม่อื มกี ารปรับปรงุ หลักสตู รใหม่ โรงเรยี น ได้รับเลอื กใหเ้ ป็นโรงเรียนรว่ มพฒั นาการใช้หลกั สูตร ปี พ.ศ. 2531 และปี พ.ศ. 2536 โรงเรียนได้รับเลือกให้ เป็นโรงเรียนในโครงการลงทะเบียนตามเวลาเรียนและความสามารถ (ลบส.) และโรงเรียนโครงการส่งเสริม ความสามารถด้านคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย สว่ นชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้น ได้รับ อนมุ ัติให้เปน็ โรงเรยี นตามโครงการดาวรุ่งมุง่ โอลิมปกิ ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนนครสวรรค์ ได้จัดการเรียนการสอน โดยมีการรับนักเรียนตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการกำหนด และในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รับเลือกให้จัดรับนักเรียนตามโครงการ ห้องเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมอีก 1 โครงการ ซ่ึงนกั เรียนตามโครงการน้ี 30 คน ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนครสวรรค์ได้รับการคัดเลือกใหเ้ ขา้ ร่วมโครงการ Spirit of Asianโดยให้ จัดตั้งเป็นศนู ยอ์ าเซยี นศกึ ษา และโครงการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาสูม่ าตรฐานสากล ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนนครสวรรค์ ได้รับพระราชทานรางวัลบัณณาสโดยสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (Princess Jubilee Award) เป็นโครงการเพื่อส่งเสริมกิจกรรม วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ดีเด่นโดยโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่อื นำรอ่ งการปฏิรูปการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ในระดับมธั ยมศึกษา ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนนครสวรรค์ ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน (OBECQA) จากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ปัจจุบนั โรงเรยี นนครสวรรค์ มีนายพันศกั ดิ์ ศรีทอง ดำรงตำแหน่งเปน็ ผู้อำนวยการโรงเรียน เปิดสอน นักเรียนแบบสหศึกษา ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 81 ห้องเรียน โดยจัด ชนั้ เรยี น ดังน้ี 12:12:12 /15:15:15 มีนกั เรยี นท้งั ส้นิ 3,704 คน มีผูบ้ ริหาร จำนวน 5 คน ครจู ำนวน 172 คน พนักงานราชการจำนวน 5 คน ครูอัตราจ้างจำนวน 15 คน ลูกจ้างประจำจำนวน 7 คน เจ้าหน้าที่อื่น 25 คน และลกู จา้ งชัว่ คราวนกั การภารโรงจำนวน 19 คน รวมมีบุคลากรทัง้ ส้นิ จำนวน 248 คน ด้วยความร่วมมือในการบริหารของผู้บริหาร ความตั้งใจในการปฏิบตั ิหน้าที่ของบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนการสนับสนุนจากกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา สมาคมศิษย์เกา่ โรงเรียนนครสวรรค์ สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนนครสวรรค์ และประชาชนทั่วไป ส่งผลให้โรงเรียนมี ชอ่ื เสยี ง มีความเจริญก้าวหน้า นักเรียนจบการศกึ ษาอย่างมีประสิทธภิ าพ ได้รับการยกยอ่ ง ได้รับรางวัล และ สามารถประกอบอาชีพอย่างมั่นคง เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ นับเป็นสถาบันการศึกษาที่ สำคัญย่ิง ซง่ึ นอกจากจะไดร้ ับการยอมรับในระดับจังหวดั ระดบั ประเทศแลว้ ยงั สามารถสรา้ งชือ่ เสียงในระดับ นานาชาติอีกด้วย โรงเรียนนครสวรรค์ มุ่งมั่นพัฒนาโรงเรียน ด้วยการส่งเสริมและบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management) โดยยกระดับการจัดการเรียนการสอน ให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World – Class Standard) ควบคู่ไปกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน คือ โรงเรียนนครสวรรค์ ก้าวล้ำนำหน้าสู่

2 สากล เพอ่ื สรา้ งผูเ้ รียนให้เปน็ คนรุ่นใหม่ มศี ักยภาพเปน็ พลโลก อนั จะส่งผลใหเ้ ปน็ โรงเรยี นดี มมี าตรฐานสากล กา้ วสู่ Thailand 4.0 โดยกำหนดเป็นนโยบายของโรงเรียนไว้ดังน้ี 1. สร้างเสริมผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากลและ ก้าวสู่ Thailand 4.0 2. ปลกู ฝงั ใหผ้ ู้เรยี นใฝด่ ี มคี ุณธรรม มีความเป็นไทย อนรุ ักษ์ทรพั ยากร ภูมใิ จในถ่นิ ฐาน มีจิต สาธารณะ มคี วามเป็นพลเมอื งตามวฒั นธรรมประชาธิปไตย และมีจิตสำนกึ รบั ผิดชอบตอ่ สังคมโลก เป็นสมาชกิ ที่ เข้มแข็งของประชาคมอาเซยี น และประชาคมโลก โดยอยูบ่ นพนื้ ฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ส่งเสรมิ การดแู ลสขุ ภาพให้มีสขุ ภาวะท่ีดี รวมท้งั สรา้ งมาตรการดูแลและป้องกันจากภาวะ เส่ยี งต่อส่งิ เสพติด 4. นอ้ มนำนโยบายในพระราชดำริมาพัฒนาอยา่ งบรู ณาการ 5. พฒั นาหลกั สูตร การเรยี นการสอนโดยเทยี บเคียงมาตรฐานสากล 6. จัดกระบวนการเรียนรู้อิงถิ่นฐานให้เชื่อมประสานกับการศึกษาประชาคมอาเซียนและ ประชาคมโลก 7. ส่งเสรมิ พัฒนาให้บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ มคี วามเช่ียวชาญ และจรรยาบรรณทาง วชิ าชพี ครู เปน็ ครมู อื อาชีพ 8. บรหิ ารจดั การไดค้ ุณภาพระดบั มาตรฐานสากล 9. สนับสนุน ส่งเสริมให้มีภาคีร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษา หรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งใน ระดับท้องถ่นิ ระดับประเทศ และระหว่างประเทศ 10. พัฒนาและบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม บรรยากาศ และจัดบริการแหล่งเรียนรู้ โดย คำนงึ ถึงการอนุรักษแ์ ละประหยดั ทรัพยากร ส่ิงแวดลอ้ ม ดา้ นพลงั งาน การใช้น้ำ และการกำจดั ของเสีย โดยมี ชุมชน สถาบันและองค์กรตา่ ง ๆ รว่ มสง่ เสรมิ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โรงเรียนนครสวรรค์จัดหลักสูตรเพื่อสร้างนักเรียนไปสู่เป้าหมายที่เป็นความต้องการของประเทศใน ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตรม์ นษุ ยศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มกี ารพัฒนาและปรับปรงุ หลกั สูตรให้เปน็ หลักสูตรชัน้ นำและเปน็ สากลมีการสร้างเครือข่าย ด้านการศึกษาทั้งในและต่างประเทศสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้ที่มีความสามารถในระดับต่างๆ โดย พัฒนาด้านวิชาการและสังคมตามศักยภาพของนักเรียนให้เป็นผู้ที่มีความสามารถในการศึกษาค้นคว้าและ เรียนรู้ด้วยตนเองได้อยา่ งต่อเนื่อง สร้างจิตสำนกึ ให้เป็นผู้ทีม่ คี ุณธรรมจริยธรรม จัดการเรียนการสอนโดยยดึ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น โดยนำมาบูรณาการเข้ากับหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ มาตรฐานสากล ได้แก่ สาระการศึกษาค้นคว้าอิสระ (Independent Study) สาระเศรษฐกิจพอเพียง และ สาระอาเซียนศึกษาซึ่งนักเรียนต้องผ่านการประเมินตามเกณฑ์การจบการศึกษาของหลักสูตรสถานศึกษา หลักสตู รจำแนกเปน็ 2 ระดับช้ัน คอื ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ ประกอบด้วย 1) แผนการเรียน ห้องเรียนพเิ ศษ โครงการดาวร่งุ มุง่ โอลิมปิก หอ้ ง 1-5 2) แผนการเรียน หอ้ งเรียนท่วั ไป หอ้ ง 6-12 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ประกอบดว้ ย 1) แผนการเรยี น ห้องเรียนพเิ ศษ โครงการดาวรงุ่ มุ่งโอลมิ ปกิ ห้อง 1-5 2) แผนการเรียน ห้องเรยี นพิเศษ โครงการ พสวท. สมทบ ห้อง 6-9

3 3) แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ ห้อง 10-12 4) แผนการเรยี นคณติ ศาสตร์-ภาษาอังกฤษ ห้อง 13 5) แผนการเรยี น ห้องพเิ ศษโครงการ Multilingual Program (MP) ห้อง 14 6) แผนการเรียน ห้องเรียนพิเศษโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หอ้ ง 15 โดยนำความต้องการและความคาดหวังของนกั เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน และผลสอบเข้าศึกษาต่อ ระดบั อุดมศึกษา การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) มาเปน็ ขอ้ มูลในการพัฒนาหลักสูตร สถานศกึ ษาเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของนกั เรียนและผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี

4 2. โมเดลการดำเนินงานและกระบวนการพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของโรงเรียน นครสวรรค์ ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ได้จัดทำหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียนได้เกิดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนให้กับนักเรียนทุกคนโดยผ่านการ เรียนรูใ้ นรายวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบบูรณาการโดยผ่านกิจกรรมการ จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และ ได้จัดกิจกรรมการนำเสนอโครงงาน/นำเสนอผลงาน นักเรยี น 1 ครั้งต่อปีการศึกษา และพบวา่ นักเรยี นมคี วามสุข สนกุ สนาน ไดแ้ สดงความรูท้ างวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ รู้จักนำเสนอความรู้ในลักษณะโครงงานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ได้แสดงความสามารถใน การคิดเชงิ วเิ คราะห์ ในการคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาในการให้เหตุผล ในการเช่อื มโยงความร้แู ละการ สื่อสารทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และส่งผลให้นักเรียนมเี จตคติที่ดีต่อวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และยังเกิดทกั ษะการทำงานเปน็ กลมุ่ /ทีม วิธีการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนในสอดคล้องกับผู้เรียน โดยใช้กิจกรรมการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยใช้โครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ดงั ขน้ั ตอนตอ่ ไปนี้ ขั้นท่ี 1 วางแผนการเรียนรู้ (Plan,P) - การประชุมวางแผน - วเิ คราะห์หลกั สตู ร/ผู้เรยี น - ออกแบบการจดั การเรียนรู้/กำหนดรปู แบบกิจกรรม ขน้ั ท่ี 2 จดั กจิ กรรม (Do,D) - การสรา้ งความรู้ใหก้ ับนักเรียนในการจดั ทำโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ - ฝกึ ปฏบิ ัต/ิ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ขั้นที่ 3 พฒั นาสรา้ งสรรค/์ ผลงานเผยแพร่ (Check,C) - นำผลงาน/โครงงานวทิ ยาศาสตร์ หรอื คณติ ศาสตร์ท่ีดแี ละสรา้ งสรรคน์ ำไปตอ่ ยอดโดยการ ส่งเข้าแขง่ ขนั ในงานศิลปหัตถกรรม การประกวดโครงงานของสมาคมคณติ ศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรม ราชปู ถัมภ์รว่ มกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของ สมาคมวทิ ยาศาสตร์แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ การประกวดโครงงานและนวัตกรรมในเวทีต่างๆ ท้งั ในระดับชาติและนานาชาติ ขนั้ ท่ี 4 การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผล (Act,A) - ประเมนิ ผล สรปุ และรายงานผลการดำเนินงาน - การปรบั ปรุง แกไ้ ข และพัฒนาในส่วนทีบ่ กพร่องใหด้ ยี ิง่ ขึน้ ในทุกปกี ารศกึ ษาจะมกี ารนำข้อมูลทไ่ี ด้จากการประเมินผลมาพฒั นาและดำเนนิ การตามขั้นตอนทั้ง 4 ข้ันตอนอยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยทง้ั กระบวนการจะดำเนนิ การตามโมเดลการบริหารงาน 6Cls ดังภาพท่ี 1

5 ภาพที่ 1 โมเดลการบริหารงาน 6 Cls โมเดลการบริหารงาน 6 Cls ปัจจัยสู่ความเป็นเลิศ หมายถึง กระบวนการพัฒนาการศึกษาของ โรงเรียนอย่างสร้างสรรค์และต่อเนื่อง ใน 6 ด้าน คือ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การใช้ แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมความรู้ และการจัดทำวิจัย เพื่อสนองความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนไดอ้ ย่างเต็มศักยภาพ นักเรียนมีผลงานทางวิชาการในระดบั นานาชาติ และมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนในภาพรวมอยู่ในอันดับตน้ ๆ ของประเทศ สร้างชื่อเสียง ความเชื่อมั่นท่ีดี และได้รับการยอมรับ อย่าง กวา้ งขวาง หลักการบริหารงานแบบ 6 Cls ปัจจัยสู่ความเป็นเลิศ มีจุดเน้นท่ีสำคญั ในการพัฒนาให้นักเรียนเกดิ การเรียนรู้ ได้ฝึกการปฏิบัติจริง เพื่อพัฒนาทักษะความสามารถที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และนำไปใช้ในการ เรียนชั้นสูงขึ้น รวมทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม โดยมอี งค์ประกอบการบริหารงานแบบ 6 Cls ปจั จยั สู่ความเปน็ เลิศ ดังน้ี 1) Continuously Improve Curriculum คือ การพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เป็นการศึกษาและพัฒนาผลการดำเนินการตามหลักสูตรทุกปี การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาหลักสตู รอย่างต่อเนอื่ ง จนทำให้เกดิ นวตั กรรมท่มี คี ุณภาพ

6 2) Continuously Improve Learning & Teaching Management คอื การพฒั นาการการจดั การเรยี นการสอนอย่างต่อเน่ือง เป็นการส่งเสรมิ การเรยี นรแู้ ละพัฒนาทกั ษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของผู้เรียนผ่านกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลต่อ ผลสัมฤทธแิ์ ละทกั ษะตา่ งๆ ของผเู้ รยี นแหง่ ศตวรรษที่ 21 3) Continuously Improve Learning-Resource คือ การใช้แหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นการใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัย และส่งเสริมให้ผู้เรียน เรียนร้ไู ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมกี ารพัฒนาแหลง่ เรียนร้อู ยา่ งตอ่ เนอื่ งใหเ้ หมาะสมกับสงั คมและผู้เรียน 4) Continuously Improve Information &Communication Technology คือ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง เป็นการใช้สื่อเทคโนโลยีทั้งในการบริหารจัดการและการ จดั การเรียนการสอนท่ีทันสมยั สะดวก และพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ งทกุ ปีการศึกษา 5) Continuously Improve Complement–Activities คือ พัฒนากิจกรรมเสริมความรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นการดำเนินการตามโครงการและกิจกรรมเสริมความรู้ของ โรงเรยี นทช่ี ่วยส่งเสริมการพฒั นาผ้เู รยี นในทกุ ด้าน พร้อมท้งั ปรับปรุงหรือพฒั นากิจกรรมให้ดีขึ้นอยา่ งตอ่ เน่ือง 6) Continuously Improve Researches คือ พัฒนาการจัดทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง เป็นการศึกษาการดำเนินการที่เกิดขึ้นโดยการทำวิจัย เพื่อนำ ผลการวิจยั ไปพัฒนาระบบการเรยี นการสอนและระบบการบรหิ ารจัดการอย่างต่อเนอ่ื ง จากโมเดลการบริหารงาน 6Cls ภายใต้กระบวนการ PDCA ทำให้โรงเรียนนครสวรรค์ สามารถพัฒนาผู้เรียนจนมีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นและมีการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง จนทำให้ผ้เู รียนสร้างนวัตกรรมท่ีเป็นโครงงานทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์จน ไดร้ ับรางวลั ทัง้ ระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา ระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ

7 3. ขั้นตอนการพัฒนาระบบการเรียนรู้: การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ภาพที่ 2 ข้ันตอนการพฒั นาศกั ยภาพและส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์

8 จากข้นั ตอนการพฒั นาศกั ยภาพและส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เร่ิม จากการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและผลการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษา โดย พิจารณาความสอดคล้องกับเป้าหมายของหลักสูตรและจุดเน้นของสถานศึกษารวมทั้งความต้องการของ ผู้ปกครองและชุมชน ซึ่งโรงเรียนนครสวรรค์เป็นโรงเรียนที่รับนักเรียนเข้าศึกษาต่อจากการสอบคัดเลือก 100% จึงทำให้มีผู้เรียนที่มีความพร้อม จึงต้องมีการดำเนินงานที่ต้องพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ ซ่ึง โรงเรียนดำเนินการจัดทำโครงการและกิจกรรมต่างๆ ทั้งเป็นกิจกรรมในหลักสูตรและกจิ กรรมเสริมหลักสูตร เพ่ือสง่ เสริมศักยภาพและทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ ทางวิชาการ โรงเรียนนครสวรรค์ได้จัดทำโครงการเพิม่ ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการโดยการพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติ โดยความโดดเด่นเฉพาะด้านที่สำคัญคือ เป็นการ พัฒนาผู้เรียนทเ่ี น้นความสามารถทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยมกี ิจกรรมต่างๆ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ค่ายวิทยาศาสตร์นักเรียนโครงการส่งเสริมความสามารถด้านคณิตศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ กิจกรรรมที่ 2 ค่ายสง่ เสริมอัจฉรยิ ภาพด้านวิทยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาตอนต้น กจิ กรรมที่ 3 สปั ดาห์วิทยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 4 กิจกรรมห้องเรยี นสีเขียว/กิจกรรมอนรุ กั ษพ์ ลังงาน กจิ กรรมท่ี 5 กจิ กรรมส่งเสรมิ ปรชี าญาณและทักษะดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละคอมพวิ เตอร์ กิจกรรมที่ 6 กจิ กรรม Gifted (เตรียมพร้อมผูเ้ รยี นเข้าคา่ ย สอวน.) กจิ กรรมท่ี 7 กิจกรรม SME (การทดสอบวดั ความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ ภาษาองั กฤษ) กจิ กรรมที่ 8 ส่งเสริมการจดั ทำโครงงานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ กจิ กรรมที่ 9 อัจฉรยิ ภาพทาง IJSO, IESO กิจกรรมที่ 10 การประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) กจิ กรรมที่ 11 ค่ายคณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ 12 คา่ ยหอ้ งเรยี นโครงการดาวรุ่งมุ่งโอลมิ ปกิ กิจกรรมท่ี 13 การสอนเสริมและสง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษดา้ นคณิตศาสตร์ กิจกรรมท่ี 14 อบรมโปรแกรม GSP/Geogebra 2. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี น การดำเนินการพัฒนาผลสัมฤทธ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนนครสวรรค์ เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการทดสอบระดับชาติ ซึง่ มีกจิ กรรม คือ กจิ กรรมท่ี 1 กจิ กรรมสอนเสริมเพมิ่ เตมิ ความรจู้ ากคณะครผู ูส้ อน กจิ กรรมท่ี 2 กิจกรรมสอนเสรมิ เพิ่มเตมิ ความรู้จากวทิ ยากรภายนอก 3. โครงงานเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตและสงั คม จากหลักสูตรโรงเรียนนครสวรรค์มีรายวิชาที่ผู้เรียนทุกคนจะต้องจัดทำโครงงานเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตและสังคม โดยเนน้ ไปทโ่ี ครงงานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มกี ารจดั การเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ผู้เรียนไดล้ งมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง โดยการใช้โครงงานเป็นฐาน ในแต่ละปีการศึกษาผู้เรียนทุกคนจะตอ้ งทำ โครงงานอยา่ งน้อย 1 โครงงาน โดยมีครทู ป่ี รกึ ษาเปน็ ผู้ดแู ล และนำโครงงานทง้ั หมดมาเผยแพรเ่ ป็นนทิ รรศการ

9 ของโรงเรียน รวมทั้งมีการประเมินจากครูและผูเ้ ชี่ยวชาญ มีการคัดเลือกเพ่ือรับรางวัลในแต่ละระดบั ชั้น และ คัดเเลือกเพ่อื นำไปตอ่ ยอดสำหรบั การแข่งขนั ตอ่ ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ จากการวิเคราะห์หลักสูตรเพ่ือวางแผนการพฒั นาศักยภาพของผู้เรยี น โรงเรียนนครสวรรคไ์ ด้ทำการ วเิ คราะห์ผเู้ รยี นรายบคุ คลในดา้ นต่างๆ ได้แก่ 1. ด้านภมู หิ ลังครอบครวั 2. ด้านวิชาการ และความสามารถพเิ ศษ 3. ด้านผลสมั ฤทธิข์ องผเู้ รียน 4. ดา้ นความต้องการในการประกอบอาชีพ 5. ดา้ นการจัดกระบวนการเรยี นร้ขู องครู 6. ดา้ นความตอ้ งการเกย่ี วกับกิจกรรมเสริมของโรงเรียน นอกจากนี้พิจารณาความตอ้ งการของท้องถิน่ ชุมชน ผู้ปกครอง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และจัดกจิ กรรมเพื่อส่งเสริมใหก้ บั ผู้เรยี น เมื่อวิเคราะห์ผู้เรียนและพบปัญหาที่ต้องพัฒนา โรงเรียนนครสวรรค์จะมีการสอนปรับพื้นฐานก่อน เรียน โดยจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรโดยสอนปรบั พืน้ ฐานใหก้ ับผู้เรยี นที่มคี วามต้องการ สำหรับการออกแบบการเรียนรู้และการจดั การเรียนรู้ โรงเรียนนครสวรรค์ดำเนินการส่งเสริมให้ครู จัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญโดยการดำเนินงานกิจกรรมและโครงการอย่างหลากหลาย ได้แก่ การประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อสนองนโยบายในเร่ืองการใช้เทคโนโลยีควบค่กู ับการ จัดการเรียนการสอน สนับสนุนใหค้ รูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสใหน้ ักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมไดล้ งมือ ปฏบิ ตั ิจริงจนสามารถสรุปความรู้ไดด้ ้วยตนเอง จัดการเรยี นการสอนท่เี น้นทักษะการคิด ไดแ้ ก่ จัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี จัดทำห้องเรียนคุณภาพ เพื่อพัฒนา ความร้คู วามสามารถด้านเทคโนโลยีใหแ้ ก่ผเู้ รียน โดยดำเนินการจัดให้มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ได้แก่ กระบวนการพัฒนาโดยใช้ข้อมูลอย่างชาญฉลาด (Data Wise Improvement Process) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) และการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Network) โดยมุ่งให้ครูผู้สอน จัดการเรียนรูเ้ ป็นไปตามศักยภาพของผู้เรยี น และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบโครงงานเป็นฐาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการระดมสมอง ลงมือปฏิบัติจริง ใช้กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา จนสามารถ สร้างนวัตกรรมได้ด้วยตนเอง รวมทั้งมีห้องเรียนที่มีคุณภาพ ทันสมัย สภาพแวดล้อมในโรงเรียน เอื้อต่อการ เรยี นรู้ ได้แก่ หอ้ งเรยี น Smart classroom จำนวน 2 ห้อง ซ่งึ เปน็ หอ้ งเรียนที่มี ipad ใหผ้ ูเ้ รยี นทกุ คนได้ใช้ใน ระหว่างการเรยี นรู้ สบื คน้ ขอ้ มลู พัฒนาทักษะต่างๆด้วยตนเอง นอกจากนหี้ อ้ งเรียนของโรงเรยี นนครสวรรค์ทุก หอ้ งเรียนยังมี Apple TV ที่ครผู ู้สอนสามารถใช้ ipad ในการสอนและจัดกจิ กรรมในช้ันเรยี นได้อยา่ งทันสมยั ในการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ โรงเรยี นเน้นให้ผู้เรียนได้แลกเปลย่ี นเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เช่น ชุมชน สังคม โรงเรียนอื่นๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น ประเทศเกาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติ ในส่วนการส่งเสริมการสร้าง นวตั กรรมของผเู้ รียนไดแ้ ลกเปลยี่ นเรียนรนู้ ำเสนอโครงงานของตนเองภายในโรงเรยี นตลอดจนการเผยแพร่ต่อ ในเวทีระดับชาติและนานาชาติ มกี ารพฒั นาระบบการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เนน้ กระบวนการทีใ่ หผ้ ู้สอนไดร้ ูถ้ ึงพฒั นาการและ คุณภาพผู้เรียน เพราะจะชว่ ยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีแสดงพฒั นาการความก้าวหน้าและความสำเร็จทางการ

10 เรียนของผูเ้ รียน รวมทั้งขอ้ มูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนเกดิ การพฒั นาและเรยี นรูอ้ ย่างเต็ม ตามศักยภาพ โรงเรียนเป็นผู้จัดทำหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้ บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกันและเป็นไปในมาตรฐานเดียวกนั สำหรับการวัดประเมินผล มีทั้ง การวัดประเมินจากแบบทดสอบและการประเมินทางสภาพจริง มีการทดสอบศักยภาพทั้งในโรงเรียน ใน ระดับชาติ และระดบั นานาชาติ นอกจากนย้ี งั มีการประเมนิ คุณภาพและประสิทธภิ าพของสอื่ การสอนที่ใช้ ครู ทุกคนทำงานวจิ ยั ในชน้ั เรียนปีการศกึ ษาละอย่างนอ้ ย 1 เรือ่ ง เพือ่ ศึกษาสภาพปญั หา ปรับปรงุ และพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท้ังในระดับสาขาวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ ระดบั โรงเรยี น เพอื่ รวมกนั พฒั นาหลกั สูตรและการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งเป็นระบบทุกปีการศกึ ษา

11 4. ผลความสำเร็จ 4.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั ชาติ (O-NET) ในปีการศึกษา 2559-2561 นักเรียนโรงเรียนนครสวรรค์มีทักษะการอ่าน การเขียน การสื่อสารทั้ง ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ มีความคิดวิเคราะห์คดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ สามารถอภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) รวมทั้ง นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนระดับชาติสูงกว่าระดับชาติทุกๆ ปี มีพัฒนาการที่ดีขึ้น ความพร้อมของนักเรียนในการศึกษาต่อ การฝึกงานหรือการทำงานตามความเหมาะสมของแต่ละระดับชั้น อีกทั้งนักเรียนมีความเป็นเลิศ มีความรู้ ความสามารถรอบดา้ นและความสามารถพิเศษ 4.1.1 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ปีการศกึ ษา 2559 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระ คะแนน คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ คะแนน คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ การเรยี นรู้ เฉลีย่ ระดับประเทศ คะแนนเฉลยี่ เฉลย่ี ระดบั ประเทศ คะแนน ระดับ (+สงู /-ต่ำ) ระดบั เฉลย่ี โรงเรยี น โรงเรยี น (+สงู /-ตำ่ ) ภาษาไทย 62.98 46.36 +35.85 68.47 52.29 +30.94 ภาษาอังกฤษ 55.50 31.80 +74.53 43.54 27.76 +56.84 คณติ ศาสตร์ 62.12 29.31 +111.94 44.02 24.88 +76.93 วิทยาศาสตร์ 53.27 34.99 +52.24 40.53 31.62 +28.18 สังคมศึกษาฯ 68.84 49.00 +40.49 45.18 35.89 +25.88

12 4.1.2 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ปีการศึกษา 2560 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระ คะแนน คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละคะแนน คะแนน ร้อยละ การเรียนรู้ เฉลี่ย ระดับประเทศ เฉลี่ย เฉลี่ย คะแนนเฉล่ีย คะแนน ระดบั (+สงู /-ตำ่ ) ระดับ ระดบั ประเทศ เฉลย่ี โรงเรียน โรงเรียน (+สูง/-ตำ่ ) ภาษาไทย 70.60 48.29 +46.20 65.53 49.25 +33.06 ภาษาองั กฤษ 52.67 30.45 +72.97 48.37 28.31 +70.86 คณิตศาสตร์ 66.35 26.30 +152.28 48.81 24.53 +98.98 วิทยาศาสตร์ 51.07 32.28 +58.21 44.12 29.37 +50.22 สงั คมศกึ ษาฯ - - - 45.44 34.70 +30.95 4.1.3 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ปกี ารศึกษา 2561 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 กลมุ่ สาระ คะแนน คะแนนเฉล่ีย รอ้ ยละคะแนน คะแนน คะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละ การเรยี นรู้ เฉล่ีย ระดบั ประเทศ เฉลี่ย ระดบั ประเทศ คะแนน เฉลยี่ ระดับ (+สูง/-ต่ำ) ระดับ เฉลี่ย โรงเรยี น โรงเรียน (+สงู /-ตำ่ ) ภาษาไทย 79.01 54.42 +45.19 65.37 47.31 +38.17 ภาษาอังกฤษ 53.79 29.45 +82.65 52.40 31.41 +66.83 คณติ ศาสตร์ 68.89 30.04 +129.33 59.46 30.72 +93.55 วทิ ยาศาสตร์ 55.82 36.10 +54.63 44.28 30.51 +45.13 สงั คมศกึ ษาฯ - - - 43.97 35.16 +25.06 จากตารางข้อ 1.1 - 13 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ของโรงเรียนนครสวรรค์ มี พฒั นาการอย่างต่อเน่ือง และมคี ะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียนสูงกวา่ ระดับประเทศทุกวชิ าและทกุ ปกี ารศึกษา

13 ตาราง การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2559-2561 ปกี ารศกึ ษา 2559 ปกี ารศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 กลุ่มสาระ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน การเรยี นรู้ เฉลี่ยระดบั เฉลย่ี เฉลย่ี เฉลี่ย เฉลยี่ เฉล่ีย ภาษาไทย โรงเรียน ระดบั ระดับ ระดับ ระดบั ระดบั คณิตศาสตร์ ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ โรงเรียน ประเทศ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ฯ 62.98 46.36 70.60 48.29 79.01 54.42 ภาษา ต่างประเทศ 62.12 29.31 66.35 26.30 68.89 30.04 53.27 34.99 51.07 32.28 55.82 36.10 68.84 49.00 -- - 55.50 31.80 52.67 30.45 53.79 29.45 จากการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2559-2561 ของโรงเรียนนครสวรรค์ มีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนสูงกว่าคะแนนเฉล่ีย ระดบั ประเทศทุกวชิ า และทุกปกี ารศึกษา

14 ตาราง การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2559-2561 ปกี ารศกึ ษา 2559 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปีการศึกษา 2561 กล่มุ สาระ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน การเรยี นรู้ เฉลี่ยระดับ เฉล่ีย เฉลี่ย เฉลย่ี เฉลยี่ เฉลย่ี ประเทศ ระดบั ระดบั ระดบั ระดับ ระดบั โรงเรียน ประเทศ โรงเรียน ประเทศ โรงเรยี น ภาษาไทย 52.29 68.47 49.25 65.53 47.31 65.37 คณิตศาสตร์ 24.88 44.02 24.53 48.81 30.72 59.46 วิทยาศาสตร์ 31.62 40.53 29.37 44.12 30.51 44.28 สงั คมศึกษา ฯ 35.89 45.18 34.70 45.44 35.16 43.97 ภาษาต่างประ 27.76 43.54 28.31 48.38 31.41 52.40 เทศ จากการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2559-2561 ของโรงเรียนนครสวรรค์ มีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนสูงกว่า คะแนนเฉล่ีย ระดับประเทศทกุ วิชา และทุกปีการศกึ ษา

15 4.2 นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถอภิปราย ผลแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ อย่างเป็นข้ันตอน และนำไปประยกุ ต์ในสถานการณ์ตา่ งๆ รายวิชาท่สี ่งเสรมิ ให้มีการคิดวิเคราะห์และสื่อความทเี่ หน็ ได้ชดั เจน ไดแ้ ก่ การสอนในวชิ าซงึ่ เป็นวิชา โครงงานตา่ ง ๆ ทน่ี กั เรียนต้องเรียนรูก้ ระบวนการทำงานค้นคว้าหาขอ้ มลู นำข้อมูล ไปคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ เป็นช้ินงานและสามารถนำเสนอได้อยา่ งสมเหตุสมผล รายวิชาทส่ี ่งเสริมทกั ษะในด้านน้ี ได้แก่ วชิ าวิทยาศาสตร์ ที่เนน้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซงึ่ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ดงั น้ี 4.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ที่เน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ปี ระดับคะแนน (จำนวนนักเรียน) รอ้ ยละ การศึกษา 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั คะแนน 2559 9 55 126 295 650 1103 1489 2829 (3-4) 2560 45 277 1569 1820 1015 1126 2756 2983 2561 66 144 315 390 342 1924 2141 2494 73.27 78.59 รวมเฉล่ยี 3 ปี 81.56 ทม่ี า : รายงานสรปุ ผลการเรียนของงานวดั ผล กลมุ่ บริหารงานวิชาการ โรงเรียนนครสวรรค์ 77.81 จากตาราง พบว่า ผลการเรียนรวมของรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักเรียน รู้จักการคิดวิเคราะห์ และสื่อ ความมคี ่าเฉลย่ี ผลการเรยี น ระดับดี ถึงดเี ย่ยี ม (2559-2561)

16 4.2.2 ผลสัมฤทธิ์การจัดโครงการส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถอภิปรายผล แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างเป็นขั้นตอน และนำไป ประยุกต์ในสถานการณ์ต่างๆ กจิ กรรม ระดับความพงึ ใจ 2559 2560 2561 1. โครงการเขา้ ค่ายวชิ าการของกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ 4.25 4.15 4.25 2. โครงการเข้าคา่ ยดาวร่งุ มงุ่ โอลิมปิก 4.25 4.25 4.25 3. โครงการค่ายคณติ ศาสตร์ 4.46 4.39 4.46 4. โครงการค่ายวทิ ยาศาสตร์ห้องเรียน พสวท.(สมทบ) 4.25 4.15 4.25 5. โครงการคา่ ยหอ้ งเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ 4.25 4.25 4.25 เกณฑ์ทีใ่ ชใ้ นการแปรผลการประเมินปี 2559-2561 ระดับ 2.5 ข้นึ ไป หมายถงึ ผลการดำเนนิ งานเป็นทนี่ ่าพอใจ เมื่อพจิ ารณาผลการดำเนนิ งานของโครงการต่างๆ ทีช่ ่วยสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนมที กั ษะในการคดิ วิเคราะห์ และสอื่ ความ ทกุ โครงการ ทุกปี มีผลอย่ใู นระดับเป็นทนี่ า่ พอใจ ทุกโครงการ

17 4.3 นกั เรยี นมคี วามกา้ วหน้าทางการเรยี นตามหลกั สูตรอย่างต่อเน่อื งทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นรอ้ ยละของผลการเรียน กล่มุ สาระการเรียนรู้ ร้อยละผลการเรียนเฉล่ีย (เกรด 3-4) 2559 2560 2561 1. ภาษาไทย 83.88 84.09 89.29 2. คณิตศาสตร์ 71.92 69.63 76.78 3. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 73.27 78.59 81.56 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 90.63 84.26 88.48 5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา 95.51 95.15 97.37 6. ศลิ ปะ 93.76 90.45 92.74 7. การงานอาชีพ 97.19 98.28 98.75 8. ภาษาต่างประเทศ 74.05 69.85 77.36 รวม 85.03 83.79 87.79 ท่มี า : รายงานสรปุ ผลการเรียนของงานวัดผล กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรียนนครสวรรค์ จากตาราง พบวา่ ผลการเรียนทุกลุม่ สาระการเรยี นรู้ มีความก้าวหน้าทางการเรยี นตามหลักสตู รอย่าง ต่อเนื่องทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีร้อยละผลการเรียนเฉลี่ย เกรด 3-4 ร้อยละ 85.03 83.79 87.79 ตามลำดบั อยใู่ นระดบั ดีเยีย่ มทุกปีการศึกษา

18 4.4 นักเรียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงานหรือการทำงานตามระดับชั้น นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ที่สามารถสอบเขา้ ศกึ ษาต่อระดบั อุดมศึกษา ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา 2559 – 2561 สถานท่ศี ึกษาต่อ ร้อยละของนักเรยี นทีเ่ ขา้ ศกึ ษาตอ่ ระดับอดุ มศึกษา คณะทนี่ ักเรยี นสอบเข้าได้ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 1. คณะแพทยศ์ าสตร์ 2. คณะทนั ตแพทย์ 6.66 4.82 5.13 3. คณะสตั วแ์ พทย์ - 0.73 1.06 4. คณะเภสชั ศาสตร์ 1.51 5. คณะเทคนิคการแพทย์ 1.01 1.02 5.43 6. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 3.62 2.49 6.18 7. คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 3.47 4.53 1.66 8. คณะทางสาขาวิทยาศาสตร์ 2.03 1.61 15.99 9. คณะทางสาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 14.18 15.50 14.78 10. อน่ื ๆ 11.72 13.01 7.09 6.22 7.31 41.17 รวม 51.09 48.98 100 100 100 จากตาราง แสดงให้เห็นว่า ความสามารถทางวิชาการของนักเรียนโรงเรียนนครสวรรค์ ซึ่งสามารถ สอบเข้าเรียนในคณะต่างๆ ซึ่งเป็นคณะที่มีผู้เลือกสอบจำนวนมาก เป็นที่นิยมของนักเรียนทั่วไปทั้งประเทศ นักเรยี นสามารถสอบได้จำนวนมากที่สุดทุกปี และสอบในคณะสำคญั ได้มากทสี่ ุดในจังหวัด

19 4.5 นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามสามารถรอบด้าน มคี วามสามารถพิเศษ และมีผลงานเป็นเลศิ นักเรียนโรงเรียนนครสวรรค์ เข้าร่วมกิจกรรมแข่งขนั ทักษะต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนซง่ึ ประสบผลสำเร็จ สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน นับเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่ง ตามสรุปประจำปีการศึกษา 2559 – 2561 โดยแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ /งาน ดังตอ่ ไปน้ี ระดับ/กลุ่มสาระการเรียนรู้/งาน จำนวนนกั เรยี นท่ีได้รบั รางวัล(คน) ปกี ารศึกษา ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 1. ภาษาไทย 99 67 78 2. คณติ ศาสตร์ 56 42 48 3. วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 25 24 20 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 215 251 211 5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 75 69 62 6. ศลิ ปะ 112 135 125 7. การงานอาชพี 35 34 39 8. ภาษาตา่ งประเทศ 15 16 11 9. กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 10 9 15 รวม 642 647 609 ท่ีมา : ทำเนียบผลงานดีเดน่ ของนกั เรยี นโรงเรียนนครสวรรค์ ปี 2559-2561 งานแผนงานโรงเรยี นนครสวรรค์ จากสถิติการเข้าร่วมกิจกรรมแข่งขันทักษะต่าง ๆ จะเห็นว่าโรงเรียนมีการส่งเสริมและสนับสนุน เพ่ือให้นักเรียนเข้าแขง่ ขนั แสดงความสามารถของตนเอง ซ่ึงนกั เรียนประสบผลสำเร็จได้รับรางวัลในสาขาวิชา ตา่ งๆ ในแต่ละปีท้งั ระดบั จังหวดั ระดบั เขต และระดับประเทศ เป็นจำนวนมาก

20 4.6 งาน/โครงการ/กจิ กรรมที่ประสบความสำเร็จ 4.6.1 งาน/โครงการ/กจิ กรรมทป่ี ระสบความสำเร็จปีการศกึ ษา 2559 ประเภทนกั เรยี น ผลงานระดบั นานาชาติ ชอื่ -สกุล ระดับรางวลั /ชอื่ รางวัลทีไ่ ดร้ บั หน่วยงานทีม่ อบรางวัล ด.ช.พัสกร ศรีดลิ ก อนั ดับท่ี 1 ว่ายน้ำกีฬายุวชนโลก ครง้ั ท่ี 50 ผลดั ฟรสี ไตล์ 4x100 เมตร ณ นครนวิ ไทเปซิต้ี ผลดั ผสม 4x100 เมตร ประเทศไต้หวนั ประเภทนักเรียน ผลงานระดับประเทศ ชือ่ -สกุล ระดบั รางวัล/ชื่อรางวัลทีไ่ ด้รบั หน่วยงานทีม่ อบรางวลั บริษทั อัมรินทร์ พบั ลิชช่งิ เด็กชายธีร์ อิทธพิ านชิ พงศ์ รางวลั รองชนะเลศิ ที่ 1 เดก็ ชายธนกฤต บุศรากุล การแข่งขนั เด็กไทยดรีมทมี ปตท. ร่วมกับวิทยาลยั เดก็ ชายสรวชิ ญ์ เหรยี ญทอง นานาชาติ มหาวิทยาลยั เด็กชายพศวีร์ แฝงพงษ์ รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 1 โลห์ประกาศเกียรตคิ ุณ นเรศวร นางสาวชนญั ฑติ า โลเกศกระวี นางสาวเพญ็ พิชชา ปกคำ เกยี รติบตั ร การแข่งขนั PTTEP สำนักงานคณะกรรมการ English Quiz การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน นายธนธร สงิ หท์ อง นายนวพล เน่ืองจำนงค์ รางวัลชนะเลิศ เหรยี ญทอง / Web Application ชว่ งชนั้ ม4-6 นางสาวรัฐนนั ท์ กรตมุ้ นำเสนอผลงานรายวชิ า IS สำนักงานคณะกรรมการ นายตณิ ณภพ ทาเอือ้ ระดบั ชาติ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ดช.ธีร์ อทิ ธิพานชิ พงศ์ รางวัลรองชนะเลิศ บริษัทซเู ปอร์จวิ๋ จำกดั และ ดช.ธนกฤต บุศรากลุ อนั ดับ 1 รายการเดก็ ไทยดรมี ทีม สถานโี ทรทัศนท์ ีวดี าวเทียม ดช.พศวีร์ แฝงพงษ์ ดช.สรวิชญ์ เหรยี ญทอง อมรินทรท์ ีวเี อชดี

21 4.6.2 งาน/โครงการ/กจิ กรรมที่ประสบความสำเรจ็ ปีการศึกษา 2560 ประเภทสถานศึกษา ชือ่ ระดับรางวลั /ช่อื รางวลั ทไ่ี ด้รับ หน่วยงานทีม่ อบรางวัล โรงเรยี นนครสวรรค์ รางวัลสถานศึกษาที่มีการส่งเสริมการ สถาบันส่งเสริมการสอน ยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนใน วทิ ยาศาสตร์และ โครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็น เทคโนโลยี เลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ระดับประเทศ โรงเรียนนครสวรรค์ เกียรติบตั รโรงเรยี นขนาดใหญ่ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ทีน่ ักเรียนมคี ะแนนสอบ GAT ครง้ั ที่ 1/2560 ประเภทนกั เรียน ผลงานระดบั นานาชาติ ชอ่ื -สกุล ระดับรางวลั /ชื่อรางวัลทไี่ ดร้ ับ หนว่ ยงานทมี่ อบรางวัล ด.ช.รัชนนทพ์ ศ ธนานนทวสั ดิ์ รางวัลเหรยี ญทองแดง คณติ ศาสตร์ IMC ประเทศสิงคโปร์ นานาชาติ 2017 IMC-International Mathematics Contest ด.ช.ธนกฤต บศุ รากุล รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง กจิ กรรมค่ายเยาวชน The การแขง่ ขัน Team Project และ รางวลั 9th ASEAN+3 Student รองชนะเลิศอนั ดบั หนึ่งในการแข่งขัน Camp & Teacher Poster Presentation Workshop for the Gifted in Scienceณ เมอื งซวู อน ประเทศ เกาหลใี ต้ นางสาวชวศิ า สทิ ธิกรณ์ รางวัลชนะเลศิ ประเทศบลั แกเรยี การประกวดวาดภาพเดก็ และเยาวชนโลก

22 ประเภทนักเรียน ผลงานระดบั ประเทศ ช่ือ-สกลุ ระดบั รางวัล/ชอ่ื รางวลั ทไ่ี ดร้ บั หน่วยงานท่มี อบรางวัล นายธีร์ อิทธพิ านชิ พงศ์ นกั เรียนรางวัลพระราชทาน รางวลั พระราชทานจาก สมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าสยามบรมราช กมุ ารฯี ด.ช.รชั ชนนท์พศ ธนานนทสวสั ด์ิ เดก็ และเยาวชนทน่ี ำชอื่ เสียงมาสู่ กระทรวงศกึ ษาธิการ ประเทศชาติ(ดา้ นวชิ าการ) ด.ญ.ชวศิ า สทิ ธกิ รณ์ เดก็ และเยาวชนท่ีนำช่อื เสียงมาสู่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประเทศชาติ(ดา้ นศิลปะและดนตรี) ด.ญ.ชุติมา คุประตกุล เดก็ และเยาวชนทนี่ ำชอ่ื เสยี งมาสู่ กระทรวงศึกษาธิการ ประเทศชาติ ด.ช.เฌอชล อภัย ชนะเลศิ เหรยี ญทอง สมาคมวิทยาศาสตรแ์ ห่ง ประเทศไทยในพระบรมรา ด.ช.ธนกฤต บุศรากุล โครงงานวทิ ยาศาสตรส์ าขากายภาพ ชปู ถมั ป์ ณ จุฬาลงกรณ์ ด.ญ.ปญุ ญศิ า ชานนท์ (คณิตศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั ระดับ ม.ต้น ในคา่ ยเวทีนักวิทยาศาสตร์ รุ่นเยาวแ์ ห่งชาติ คร้ังที่ 13 นายเชษฐณ์ รงค์ โลว้ พฤกษม์ ณี รางวัลชนะเลิศ คณะวิทยาศาสตร์ พร้อมโล่ รางวัลของสมเด็จพระเทพ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย รัตนราชสดุ าฯ การแข่งขันตอบปัญหา วชิ าเคมี ม.ปลาย คร้ังที่ 6 นายเฌอชล อภยั รางวลั ชนะเลศิ เหรียญทอง ศนู ยน์ ิทรรศการ นางสาวปญุ ญิศา ชานนท์ การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สาขา และการประชุมไบเทค กายภาพ ระดับประเทศ บางนา ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น

23 4.6.3 งาน/โครงการ/กจิ กรรมทปี่ ระสบความสำเร็จปกี ารศกึ ษา 2561 ประเภทสถานศกึ ษา ช่ือ ระดบั รางวัล/ชือ่ รางวัลทีไ่ ดร้ บั หนว่ ยงานที่มอบรางวลั โรงเรียนนครสวรรค์ โล่ และเกยี รตบิ ัตร สำนกั งานคณะกรรมการ เพ่ือเชิดชูเกยี รติ รางวลั IQA การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน AWARD ระดับยอดเยย่ี ม สถานศึกษาท่ีเปน็ แบบอย่างดา้ น การประกันคณุ ภาพการศึกษามี ระบบและกลไกการบริหารจัดการ คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา เพ่ือการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ประเภทนกั เรียน ผลงานระดับนานาชาติ ชอ่ื -สกุล ระดับรางวลั /ชอ่ื รางวลั ท่ีได้รับ หนว่ ยงานที่มอบรางวลั เดก็ หญิงชญาดา ภาคภูมกิ มลเลิศ รางวัลเหรียญทองแดง งาน WIMO 2018 – World การแขง่ ขนั คณติ ศาสตร์โอลิมปิก International Mathematical กรงุ จาการ์ตา ประเทศอนิ โดนเี ซีย นานาชาติ วนั ท่ี 29-30 ธันวาคม 2561 เด็กหญิงชญาดา ภาคภมู กิ มลเลิศ รางวัลเหรยี ญเงิน การแขง่ ขันคณิตศาสตรโ์ อลิมปกิ เด็กหญิงบรุ พร เรืองแจม่ ระดับม.ตน้ การแข่งขนั ระหวา่ งประเทศ AMO – คณิตศาสตรโ์ อลิมปกิ โอลิมปกิ ร American Mathematics Olympiad 2018 วนั ท่ี 6 ตลุ าคม 2561 เด็กหญงิ บุรพร เรืองแจม่ รางวลั เหรยี ญทองแดง การแข่งขนั คณิตศาสตร์โอลิมปกิ ม.ต้น การแขง่ ขันคณติ ศาสตร์ ระหว่างประเทศ AMO – โอลิมปกิ โอลมิ ปิกระหว่างประเทศ American Mathematics Olympiad 2018 วันท่ี 6 ตลุ าคม 2561 นายคณิศร ประทมุ านนท์ รางวลั “Young Innovator หน่วยงาน Citizen Innovation นายภูริณัฐ จนั ทร์เสรวี ฒั น์ นายคณาวฒุ ิ ชวนะรานนท์ Award” ประเทศสงิ คโปร์

24 ประเภทนกั เรียน ผลงานระดับประเทศ ช่อื -สกุล ระดับรางวลั /ช่อื รางวัลทไ่ี ดร้ ับ หน่วยงานท่ีมอบรางวลั นายภูรชิ ธีระโกศล รางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง องค์การพิธภัณฑแ์ หง่ ชาติ (อพวช) การประกวดโครงงาน วิทยาศาสตร์ สาขากายภาพ โครงการค่าย”เวที นักวิทยาศาสตรร์ ุ่นเยาวแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 14” ประจำปกี ารศกึ ษา 2561 นางสาวญณินชญา อุน่ จิตตว์ รรธนะ รางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์ นายสุกฤษฎ์ิ รุกชาติ นางสาวโสภณฐั จิตรเอก การประกวดโครงงาน และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ วิทยาศาสตร์ รุ่นเยาว์ คร้งั ท่ี 21 กระทรวง วิทยาศาสตรแ์ ละ (YSC 2019) เทคโนโลยี เด็กชายสพล ไมส้ นธ์ิ รางวลั ชนะเลศิ เหรียญทอง สำนักงานคณะกรรการ การแข่งขันอจั ฉรยิ ภาพทาง การศกึ ษา ขัน้ พื้นฐาน คณติ ศาสตร์ ม.1-ม.3 นายณภนต์ เพ่มิ ความประเสริฐ รางวัลชนะเลิศ เหรยี ญทอง สำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน นางสาวธนภรณ์ เลาหะโรจนพนั ธ์ กจิ กรรมการประกวดโครงงาน นางสาวนวชาต์ เหลก็ กลา้ คณุ ธรรม ระดับช้ัน ม.4-ม.6 นางสาวพรนภัส ติณะมาศ งานมหกรรมความสามารถ นายรัชพล ดนั่ คุ้ม ทางศลิ ปหตั ถกรรมวชิ าการและ เทคโนโลยีของนักเรยี นระดบั ชาติ นายชานนท์ วมิ ลเฉลา รางวลั ชนะเลศิ เหรียญทอง สำนกั งานคณะกรรการ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน การแข่งขันอัจฉรยิ ภาพทาง คณติ ศาสตร์ ม.4-ม.6 เด็กหญิงณิชารีย์ ดีจักรวาล รางวัลชนะเลศิ เหรียญทอง สำนกั งานคณะกรรมการ เด็กหญงิ สรัลชนา คมวชั รพงศ์ การประกวดโครงงาน การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เดก็ หญิงเปมกิ า ศภุ ลักษณ์ คณิตศาสตร์ประเภทสรา้ งทฤษฎี หรือคำอธิบายทางคณิตศาสตร์ ม.1-ม.3

25 ชื่อ-สกุล ระดบั รางวัล/ช่ือรางวัลท่ีได้รับ หนว่ ยงานท่มี อบรางวลั นายภาคสัณห์ จนั ทรเ์ ปยี สำนกั งานคณะกรรมการ รางวลั เหรียญทอง การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน นายภฉู าย ฉายเพช็ ร การแข่งขนั กิจกรรมการประกวด นางสาวพชิ ญด์ นยา จรติ งาม โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภท คณะวิศวกรรมศาสตร์ ส่ิงประดิษฐ์ ระดบั ช้ัน ม.4-ม.6 มหาวทิ ยาลัยนเรศวรร่วมกบั นางสาวนลนิ า ภัททาจาระ นางสาว ธฤตา ศุภศดิศ รางวลั รองชนะเลศิ NECTEC นางสาว นพรัตน์ เกตุกำเหนิด โครงงานนกั วิทยาศาสตร์ร่นุ เยาว์ สำนกั งานคณะกรรมการ ด.ช.ปวริศร์ จนั ทรังสีวรกลุ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (YSC 2019) ด.ช.ศรัณยภ์ ัค ชูกร การสอบแขง่ ขันคณิตศาสตร์ รางวัลเหรยี ญเงิน ASMO Science & เดก็ ชายสพล ไม้สนธ์ิ กจิ กรรมการประกวดผลงาน Mathematics เดก็ ชายสริ ณัฏฐ์ สิงหทัศน์ สง่ิ ประดษิ ฐท์ างวทิ ยาศาสตร์ เด็กหญิงชญาดา ภาคภูมิกมลเลิศ COMPETITION 2018 เดก็ ชายชนาธปิ สัจสนั ตนิ กุ ูล ระดบั ชั้น ม.1-ม.3 (ASMO THAI) เด็กหญิงณิชารยี ์ ดีจกั รวาล งานมหกรรมความสามารถทาง เด็กชายเอกอมร ศรจี อมขวญั วันที่ 5 สิงหาคม 2561 เด็กหญงิ วริ ลั พชั ร์ คำคม ศิลปหัตถกรรมวิชาการฯ ด.ช.ชวพล ไตรทิพชาติสกุล ระดบั ชาติ สมาคมคณิตศาสตรแ์ ห่ง ประเทศไทยในพระบรม เด็กชายธรี ์ อิทธิพานิชพงศ์ รางวัลเหรยี ญทอง ด.ช.ชวพล ไตรทพิ ชาติสกลุ รางวลั เหรยี ญเงิน ราชูปถมั ภ์ รางวลั เหรียญทองแดง สมาคมคณติ ศาสตรแ์ หง่ รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั 1 ประเทศไทยในพระบรม ประเภทบคุ คลการสอบแขง่ ขนั สมาคมคณติ ศาสตรแ์ ห่งประเทศ ราชูปถมั ภ์ ไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ รางวลั ชนะเลิศ ประเภททมี การสอบแขง่ ขันสมาคม คณติ ศาสตร์แห่งประเทศไทยใน พระบรมราชปู ถัมภ์

26 5. การเผยแพร่ จากผลสำเร็จที่เกิดขึ้นในแต่ละปีการศึกษา จะเห็นว่า มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนทำให้โรงเรียน นครสวรรค์ได้รับผลงานระดับนานาชาติหลายรายการและมีการเผยแพร่ในสังคม ให้กับผู้ที่สนใจได้นำไปใช้ ประโยชนแ์ ละเปน็ แนวทางในการพัฒนาตอ่ ยอด ได้ดังนี้ 5.1 การนำเสนอโครงงานเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และสงั คม ในทุกปีการศึกษาผู้เรียนทุกคนจะต้องทำโครงงานตามหลักสูตรสถานศึกษา เมื่อเสร็จสิ้นการทำ โครงงานจะมีการนำเสนอในช่วงปลายภาคเรยี นที่ 2 ซึ่งผู้เรียนจะได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เผยแพร่ ใหก้ บั บุคคลภายในและภายนอกโรงเรียนทเ่ี ข้ามาชมนิทรรศการ รวมทั้งมกี ารประเมนิ โครงงานจากเพือ่ น ครูที่ ปรึกษา และคณะกรรมการท่ีโรงเรยี นแตง่ ต้ัง ภาพที่ 3 พธิ ีเปดิ นิทรรศการโครงงานเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตและสงั คม ภาพท่ี 4 บรรยากาศการนำเสนอโครงงาน

27 ภาพที่ 5 การประเมินโครงงานจากคณะกรรมการทโ่ี รงเรยี นแตง่ ตั้ง 5.2 การเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั และการเผยแพร่โครงงานคณติ ศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2557 นายปิติพงษ์ สุวรรณมณีโชติ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2, นายรณกฤต ปานพรม นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5/1 และ นายสถาพร อินทร์สญั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/1 โดยมี นายสมัย จันทร์เหลอื ง เป็นครูทีป่ รกึ ษาโครงงาน เรอ่ื งพนื้ ที่มากท่ีสุดของรูปสามเหล่ียม รปู สีเ่ หลย่ี ม และพื้นที่ มากที่สุดของรูป n เหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าและวงกลม จากความยาวเส้นรอบรูปที่ยาวเท่ากัน ได้รับรางวัล ชนะเลิศ เหรียญทอง ระดับประเทศ ในค่ายเวทีนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์แห่งชาติ ครั้งที่ 9 และได้รับรางวัล Best of the Best โครงงานวิทยาศาสตร์ สาขากายภาพ ภาพที่ 6 การเข้ารว่ มการแขง่ ขนั โครงงานในค่ายเวทนี กั วิทยาศาสตรร์ นุ่ เยาวแ์ ห่งชาติ ครง้ั ที่ 9 และได้รับคดั เลือกเปน็ ตัวแทนของประเทศไทยเขา้ ร่วมการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ Intel International Science and Engineering Fair ซึง่ จัดขึ้นท่ีเมืองลอสแอนเจลสิ ( Los Angeles) ประเทศlหรฐั อเมริกา

28 ภาพท่ี 7 การเข้ารว่ มการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ณ ประเทศlหรฐั อเมรกิ า ในปี พ.ศ. 2559 นายเชษฐ์ณรงค์ โล้วพฤกมณี ,นางสาวธัญวรัตม์ นฤมล และ นายธนนันท์ ทองสจุ รติ กุล นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5/1 และนายสมัย จันทรเ์ หลือง ครูที่ปรกึ ษาโครงงาน ชื่อโครงงาน พ้ืนท่ีผิว ปรมิ าตรของปริซมึ พรี ะมดิ และพรี ะมดิ ยอดตดั ฐาน n เหลยี่ มดา้ นเท่ามุมเทา่ จากความยาวรอบฐาน ได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง ระดับประเทศ ในค่ายเวทีนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์แห่งชาติ ครั้งที่ 11 และ ไดร้ ับรางวลั Best of the Best โครงงานวิทยาศาสตร์ สาขากายภาพ ภาพที่ 8 การเข้าร่วมการแข่งขันโครงงานในค่ายเวทีนกั วทิ ยาศาสตรร์ ่นุ เยาว์แห่งชาติ คร้งั ท่ี 11 และได้รบั คัดเลือกเป็นตัวแทนของประเทศไทยเข้ารว่ มการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ Intel International Science and Engineering Fair 2016 ซง่ึ จัดขึน้ ที่เมืองอริโซนา ประเทศสหรฐั อเมริกา

29 ภาพท่ี 9 การเข้าร่วมการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ณ ประเทศlหรัฐอเมรกิ า ในปี พ.ศ. 2560 เด็กชายธนกฤต บุศรากุล, เด็กชายเฌอชล อภัย และเด็กหญิงปุณิศา ชานนท์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 เป็นผู้พัฒนาโครงงาน และมีนายสมัย จันทร์เหลือง ครูที่ปรึกษาโครงงาน ชื่อโครงงานการศึกษาการเข้ามุมของรูป n เหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าโดยใช้การหารลงตัวและวธิ ีเรียงสับเปลี่ยน และการออกแบบลายในการปูกระเบื้องหรืออิฐตัวหนอนปูทางเท้า ได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง ระดับประเทศ ในค่ายเวทีนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์แห่งชาติ ครั้งที่ 13 และได้เข้ารับพระราชทานโล่รางวัล จากสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ภาพที่ 10 การเข้ารว่ มการแขง่ ขนั โครงงานในค่ายเวทนี ักวิทยาศาสตรร์ นุ่ เยาวแ์ ห่งชาติ คร้งั ท่ี 13

30 และเด็กชายธนกฤต บศุ รากุล ได้รบั คัดเลือกเปน็ ตวั แทนของประเทศไทย จากสมาคมวทิ ยาศาสตร์แหง่ ประเทศ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อไปเข้าร่วมกิจกรรมคา่ ยเยาวชน The 9th ASEAN+3 Student Camp & Teacher Workshop for the Gifted in Science เมื่อวันที่ 5-12 มกราคม 2561 ณ โรงเรียน Gyeonggi Science High School for the Gifted in Science เมืองซูวอน ประเทศเกาหลีใต้ และได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญ ทองการแข่งขนั Team Project ในหวั ข้อคอื The Futuristic Hanok (ฮันอก บ้านแห่งอนาคต) และได้รางวัล รองชนะเลิศอันดับสอง ในการแข่งขัน Poster Presentation ภายใต้หัวข้อ Bird’s Flute Folk toy of Thailand ภาพที่ 11 การเข้ารว่ มกจิ กรรมคา่ ยเยาวชน The 9th ASEAN+3 Student Camp & Teacher Workshop for the Gifted in Science ณ ประเทศเกาหลีใต้

31 ในปี พ.ศ. 2561 นายภรู ชิ ธีระโกศล นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/1 เปน็ ผู้พัฒนาโครงงาน และมี นายสมัย จันทร์เหลอื ง ครทู ีป่ รกึ ษาโครงงาน ช่อื โครงงาน การศึกษาโมเมนต์ความเฉ่อื ยของทรงหลายหน้าใดๆ โดยใช้หลักโปรเจคชั่นมวลของทรงหลายหน้าใดๆ ได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง ระดับประเทศ ในค่าย นักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์แห่งชาติ ครงั้ 14 ภาพที่ 12 การเข้าร่วมการแข่งขันโครงงานในคา่ ยเวทนี กั วิทยาศาสตรร์ ุ่นเยาว์แหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 14 ได้รับการคดั เลือกจากสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภใ์ ห้เปน็ ตัวแทนของประเทศ ไทยเข้ารว่ มประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับนานานชาติในงาน The Intel International Science and Engineering Fair (ISEF 2019) ณ เมืองฟีนิกส์ มลรฐั แอรโิ ซนา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ภาพท่ี 13 การเข้าร่วมประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ในงาน ISEF 2019 ณ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า

32 5.3 การเขา้ รว่ มการแข่งขันและการเผยแพรโ่ ครงงานวทิ ยาศาสตร์ เยาวชน Move World Together เพื่อพลังงานและสิ่งแวดล้อม จากโรงเรียนนครสวรรค์ ได้รับ Special prize รางวัล Young Innovator Award ของ Citizen Innovation จากประเทศสิงคโปร์ ด้วยผลงาน “อุปกรณช์ ่วยในการเกี่ยวข้าวเพ่ือช่วยลดอาการเจ็บและปวดหลัง” ขณะที่อุปกรณ์เกีย่ วข้าวอื่น ๆ ที่มีอยู่แลว้ ช่วยทุ่นเวลา ทุ่นแรง สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งละมาก ๆ ซึ่งมีราคาสูง (500,000 – 1,000,000 บาท) และใช้ น้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งจะเหมาะกับพื้นที่ทางการเกษตรขนาดใหญ่ แต่ “อุปกรณ์ช่วยในการเก่ียวข้าวเพือ่ ช่วยลด อาการเจ็บและปวดหลัง” เหมาะกับแปลงเกษตรขนาดเล็ก เป็นอุปกรณ์สำหรับเกี่ยวข้าวที่มีต้นทุนต่ำ ไม่ใช้ เชอ้ื เพลงิ แต่ใช้แรงดันของผู้ใช้งานในการเคลื่อนที่ ใช้แทนเคียวเกี่ยวข้าวได้โดยที่ไม่ต้องโน้มตัวให้เม่ือยหรือทำ ให้เกิดอาการเจ็บปวดของกล้ามเนื้อและหลัง ชาวนาสามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้มีสุขภาพและ ความเปน็ อยู่ทด่ี ีขนึ้ ผปู้ ระดิษฐ์ : นายคณิศร ประทุมานนท์ นายภรู ิณฐั จันทรเ์ สรีวฒั น์ และ นายคณาวุฒิ ชวนะ รานนท์ อาจารย์ที่ปรึกษา : นางสาวอาภาภรณ์ ปานมี นางสาวกนกพร ภู่ตระกูล และนายณัฐพล ภู่ตระกูล โครงการ Move World Together : เคลื่อนโลกไปด้วยกัน ด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม เป็นโครงการที่การ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมกับ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.), สมาคมพัฒนาศักยภาพและอัจฉริยภาพมนุษย์ และสำนักงานส่งเสริมสวัสดิ ภาพและพิทักษเ์ ด็ก เยาวชนผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ มนุษย์ (พม.) พร้อมด้วยภาคีเครือข่ายองค์กรเด็กและเยาวชน และองค์กรพัฒนาเยาวชนอีกหลายแห่ง เพ่ือ พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มจี ิตอาสาสำนึกความเปน็ พลเมืองตอ่ สังคม การทำงานเป็นทีม ความคิดสร้างสรรค์ นอกกรอบ พฒั นาทกั ษะการคดิ เชิงวิเคราะห์ การพัฒนานวัตกรรมทางวทิ ยาศาสตร์และสงั คมศาสตร์ การสรา้ ง ความเข้าใจเรอื่ งพลงั งานและส่งิ แวดล้อมอย่างลึกซ้ึง เพอื่ เตรยี มพร้อมรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึน ในอนาคต ภาพที่ 13 การเข้ารว่ มประกวดโครงงานนวัตกรรมและรางวลั ที่ไดร้ ับ

33 จากรางวัลพิเศษที่ได้จากประเทศสิงคโปร์ ทำให้คณะนักเรียนได้พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมและส่งเขา้ ประกวดในรายการต่อไป คือ เวที “International Invention & Innovation in Canada 2019” (iCAN 2019) จนได้รับรางวัลเหรียญทอง (Gold Medal) นวัตกรรมในเวทีระดับนานาชาติ ในการประกวด “International Invention & Innovation in Canada 2019” (iCAN 2019) ณ เมืองโทรอนโต ประเทศ แคนาดา ซึง่ จดั โดยสมาคม Toronto International Society of Innovation & Advanced Skills (TISIAS) ภาพท่ี 14 รางวลั ท่ไี ดร้ บั จากการส่งโครงงานเข้าร่วมการแข่งขัน

34 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนครสวรรค์ ประกอบด้วย นางสาวกฤตศยา นทีมณฑล , นายคณิศร ประทุมานนท์ , นายภูริณัฐ จันทร์เสรีวัฒน์ ,นางสาวศิรภัสสร โพธิ์ทัย โดยมีคณะครูที่ปรึกษา โครงงาน ประกอบด้วย ครูอาภาภรณ์ ปานมี ครูกนกพร ภู่ตระกูล ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โรงเรยี นนครสวรรค์ และครทู ี่ปรกึ ษาพิเศษคือครณู ฐั พล ภู่ตระกลู ไดน้ ำโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ปเข้า ร่วมการแข่งขันในงาน International Young Inventor Award (IYIA 2019) กรุงจาร์กาต้า ประเทศ อินโดนีเซยี จนได้รับรางวลั รางวัลเหรยี ญทอง (Gold Award) สำหรบั รายละเอียดโครงงานคือ การนำตะกอนชีวภาพจากระบบบำบัดน้ำเสียมาใช้ประโยชน์ในการ ทำเป็นสารชีวภาพ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของดิน โดยการนำตะกอนจากการบำบัดน้ำเสียของเทศบาลนคร นครสวรรค์มาใช้เป็นสารปรับปรุงดิน ด้วยการนำตะกอนมาวิเคราะห์หาแร่ธาตุที่จำเป็น โดยการทดลองทาง วทิ ยาศาสตร์ และนำมาผสมกับดินด้วยอตั ราส่วนท่ีเหมาะสม แล้วนำดินที่ผสมตะกอนไปทดลองปลูกพืช และ ยังสามารถนำมาทำเปน็ เม็ดเพอื่ ใชแ้ ทนปุ๋ยเคมีได้ ซึ่งส่งผลให้พชื มคี วามเจรญิ งอกงามดี ภาพท่ี 15 การเข้ารว่ มประกวดโครงงานและรางวลั ท่ไี ด้รบั ณ ประเทศอินโดนเี ซยี

35 นอกจากการนำเสนอและเผยแพร่ในตา่ งประเทศ ยังมีการเผยแพรใ่ นประเทศไทยโดยลงหนังสือพิมพ์ ท้งั ในระดบั ทอ้ งถนิ่ และหนงั สอื พมิ พ์ระดับประเทศ คือ หนงั สือพิมพ์เดลนิ ิวส์ ภาพท่ี 16 การเผยแพรผ่ ลงานในหนงั สอื พิมพเ์ ดลินิวส์

เกียรติบตั ร/รางวลั โครงงานวิทยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์






















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook