Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ฉบับที่2

บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ฉบับที่2

Published by กนกวรรณ เกตุเหลือ, 2021-02-27 04:56:29

Description: บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ฉบับที่2

Search

Read the Text Version

บคุ คลสาํ คัญ ในประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย ฉบับท2ี เสนอ คณุ ครู วฒุ ิชัย เชือมประไพ โรงเรยนมัธยมวัดหนองแขม สํานกั เขตพนื ทกี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต1

บคุ คลสาํ คัญ ในประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย สมาชิก ฉบบั ที2 นางสาว กนกพร ทองเชือ เลขที 19 นางสาว กนกวรรณ เกตุเหลอื เลขที 20 นางสาว กัลยวดี หนีภยั เลขที 21 นางสาว ชนญั ญา ตรีเขม้ เลขที 22 นางสาว ชลลดา แซงนิตย์ เลขที 23 นางสาว ฐญิ าดา จิตตภ์ ักดี เลขที 24 นางสาว เมทินี สะแกกลาง เลขที 28 นางสาว รตั นาพร แถวหอยสงั ข์ เลขที30 นางสาว วรรณพร หาพทุ ธา เลขที 31 นางสาว ดวงกมล แซโ่ งว้ เลขที 36 นางสาว ธารวมิ ล เงิมสนั เทยี ะ เลขที 37 เสนอ คุณครู วฒุ ิชยั เชือมประไพ โรงเรียนมัธยมวัหนองแขม สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทกี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

คํา นาํ หนังสือเล่มนี รายวิชาวิชาประวัติศาสตร์ การสืบค้นข้อมูลทาง อินเตอรเ์ น็ต ชันมัธยมศึกษาปที5 เปนเนือเกียวกับทางวิชาการ ในเรอื งประวัติและผลงานของบุคคลสาํ คัญในประเทศไทย ทีมี ความสาํ คัญถึง 40 คนด้วยกัน หนังสือเล่มนีเน้นการสรา้ งความ รูแ้ ละคําอธิบายเกียวกับประวัติความเปนมาและความสาํ คัญของ แต่ละบุคคล หนังสือเล่มนีจัดทําเพือใหส้ อดคล้องกับหลักสูตร การสอนภายในโรงเรยี นตามความเหมาะสม หวังว่าหนังสือเล่มนี จะเปนประโยชน์ต่อการหาความรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ เปนไปตาม หลักการ และจุดมุ่งหมาย คณะผจู้ ดั ทํา

สารบญั หนา้ เรอื ง ก ข คํานาํ สารบญั 1 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั 2 3 พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยูห่ วั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศ 4 มหาภมู พลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร 5 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล 6 พระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร 7 สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ 8 กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส 9 พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธริ าชสนทิ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟากรมพระยานรศิ รานวุ ดั ติวงศ์

สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทิราบรมราชเทวี หนา้ พระพนั วสั สาอัยยกิ าเจา้ 10 เจา้ พระยาโกษาธบิ ดี (ปาน ) 11 พระยากัลยาณไมตรี ( ฟรานซสิ บ.ี แซร์ ) 12 13 หมอ่ มราโชทัย 14 ( หมอ่ มราชวงศ์กระต่าย อิศรางกลู ) 15 16 สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ 17 18 ( ชว่ ง บุนนาค ) 19 20 ซมี ง เดอ ลา ลแู บร์ 21 พระสงั ฆราชปลเลอกัวซ์ หมอบรดั เลย์ หรอื แดน บชี แบรดลีย์ พระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐม์ หศิ รภักดี ศิลป พรี ะศรี พลตรพี ระเจา้ วรวงศ์เธอ กรมหมนื นราธปิ พงศ์ประพนั ธ์ รายการอ้างอิง

พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ พ ร ะ ะ ม ง กุ ฎ เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว พระองค์ทรงรเิ รมิ สรา้ งโรงเรยี นขนึ แทน วดั ประจาํ รชั กาล ไดแ้ ก่ โรงเรยี น มหาดเล็กหลวง (ปจจุบนั คือ โรงเรยี น วชริ าวุธวทิ ยาลัย ทังยงั ทรงสนบั สนนุ กิจการของโรงเรยี นราชวทิ ยาลัยซงึ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า เจา้ อยูห่ วั โปรด เกล้าฯ ใหส้ ถาปนาขนึ ในป พ.ศ. 2440 (ปจจุบนั คือ โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมาชูปถัมภ์) และในป พ.ศ. 2459 ไดท้ รง พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ ประดษิ ฐาน โรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื นของ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า เจา้ อยูห่ วั ขนึ เปน “จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย” ซงึ เปนมหาวทิ ยาลัยแหง่ แรกของ ประเทศไทย

พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยูห่ วั มพี ระราช ปรารภจะพระราชทาน รฐั ธรรมนญู แต่ถกู ทักท้วงจาก พระบรมวงศ์ชนั ผใู้ หญจ่ งึ ไดร้ ะงับไปก่อน ซงึ หมอ่ ม เจา้ พูนพศิ มยั ดศิ กลุ มดี าํ รสั ถึงเรอื งนวี า่ \"สว่ นพระ เจา้ อยูห่ วั เองนนั [พระบาท สมเดจ็ พระปกเกล้า เจา้ อยูห่ วั ] ทรงรสู้ กึ ยงิ ขนึ ทกุ ทีวา่ การปกครอง บา้ นเมอื งใน สมยั เชน่ นี เปนการเหลือกําลังของ พระองค์ทีจะทรงรบั ผดิ ชอบไดโ้ ดยลําพงั แต่ผู้ เดยี ว พระองค์ทรงรดู้ วี า่ ทรงอ่อนทังในทาง physical และ mental จงึ มพี ระ ราชปรารถนาจะพระราชทาน รฐั ธรรมนญู ใหช้ ว่ ยกันรบั ผดิ ชอบใหเ้ ต็มทีอยูเ่ สมอ\" แต่ ก็เกิดเหตกุ ารณป์ ฏิวตั ิโดยคณะราษฎร ในวนั ที 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475 โดย พระองค์ทรงยนิ ยอมสละ พระราชอํานาจ และเปนพระมหากษัตรยิ ภ์ ายใต้ รฐั ธรรมนญู ทรงใหต้ รวจตราตัวบทกฎหมาย รฐั ธรรมนญู ทีจะเปนหลักในการ ปกครองอยา่ งถีถ้วน

พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร เ ม น ท ร ม ห า อ า นั น ท ม หิ ด ล พ ร ะ อั ฐ ม ร า ม า ธิ บ ดิ น ท ร การศาสนา ในการเสดจ็ นวิ ตั ิพระนครครงั แรกนนั พระองค์ไดป้ ระกอบพธิ ที รงปฏิญาณ ตนเปนพุทธมามกะ ท่ามกลางมณฑลสงฆใ์ นพระอุโบสถวดั พระ ศรรี ตั นศาสดารามเมอื วนั ที 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2481 นอกจากนี ยงั เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงนมสั การพระพุทธรปู ในพระอารามทีสาํ คัญ เชน่ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม วดั เบญจมบพติ รดสุ ติ วนารามราชวรวหิ าร วดั สระ เกศราชวรมหาวหิ าร วดั อรณุ ราชวรารามราชวรมหาวหิ าร วดั บวรนเิ วศวหิ าร ราชวรวหิ าร และวดั เทพศิรนิ ทราวาสราชวรวหิ าร โดยเฉพาะทีวดั สทุ ัศนเทพวรา รามราชวรมหาวหิ ารนนั พระองค์เคยมพี ระราชดาํ รสั กล่าววา่ \"ทีนสี งบเงียบนา่ อยูจ่ รงิ \" ดงั นนั เมอื พระองค์เสดจ็ สวรรคต จงึ ไดน้ าํ พระบรมราชสรรี างคารของ พระองค์มาประดษิ ฐาน ณ วดั แหง่ นี พระองค์ยงั ทรงตังพระราชหฤทัยวา่ จะผนวชในพระพุทธศาสนา โดยไดม้ พี ระราช หตั เลขาถึงสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ เมอื วนั ที 19 มนี าคม พ.ศ. 2489 ทรงขอสงั ฆราชานเุ คราะหใ์ นการศึกษาตําราทางพระพุทธ ศาสนาเพอื ใชใ้ นการเตรยี มพระองค์ในการทีจะอุปสมบท แต่ก็มไิ ดผ้ นวชตามที ตังพระราชหฤทัยไว้ นอกจากนยี งั ไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ยบ์ าํ รงุ วดั วา อาราม กับพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์แก่ศาสนาอืนตามสมควร

พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ช น ก า ธิ เ บ ศ ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ม ห า ร า ช บ ร ม น า ถ บ พิ ต ร ตังแต่พุทธศักราช 2502 เปนต้นมา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั พรอ้ มดว้ ย สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติพระบรมราชนิ นี าถ ไดเ้ สดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงกระชบั สมั พนั ธไมตรกี ับประเทศต่าง ๆ ทังในยุโรป อเมรกิ า ออสเตรเลีย และ เอเชยี และได้ เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงเยยี มราษฎรในภมู ภิ าคต่างๆ ทกุ ภาคทรงประจกั ษ์ในปญหา ของราษฎรในชนบททีดาํ รงชวี ติ ดว้ ยความยากจน ลําเค็ญและดอ้ ยโอกาส ไดท้ รงพระ วริ ยิ ะอุตสาหะหาทางแก้ปญหาตลอดมาตราบจนปจจุบนั อาจกล่าวไดว้ า่ ทกุ หนทกุ แหง่ บนผนื แผน่ ดนิ ไทยทีรอยพระบาทไดป้ ระทับลง ไดท้ รงขจดั ทกุ ขย์ ากนาํ ความผาสกุ และ ทรงยกฐานะความเปนอยูข่ องราษฎร ใหด้ ขี นึ ดว้ ยพระบุญญาธกิ ารและพระปรชี า สามารถปราดเปรอื ง พรอ้ มดว้ ยสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงอุทิศพระองค์เพอื ประโยชนส์ ขุ ของราษฎร และเพอื ความเจรญิ พฒั นาของประเทศชาติตลอดระยะเวลา โดยมไิ ดท้ รงคํานงึ ประโยชนส์ ขุ สว่ นพระองค์เลย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ไดพ้ ระราชทานโครงการนานปั การมากกวา่ 2,000 โครงการ ทังการแพทยส์ าธารณสขุ การเกษตร การชลประทาน การพฒั นาทีดนิ การ ศึกษา การพระศาสนา การสงั คมวฒั นธรรม การคมนาคม ตลอดจนการเศรษฐกิจ เพอื ประโยชนส์ ขุ ของพสกนกิ รในชนบท ทังยงั ทรงขจดั ปญหาทกุ ขย์ ากของประชาชน ในชุมชนเมอื ง เชน่ ทรงแก้ปญหาการจราจรอุทกภัยและปญหานาํ เนา่ เสยี ในปจจุบนั ไดท้ รงรเิ รมิ โครงการการชว่ ยสงเคราะห์ และอนรุ กั ษ์ชา้ งของไทยอีกดว้ ย

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ห า ส ม ณ เ จ้ า ก ร ม พ ร ะ ย า ว ชิ ร ญ า ณ ว โ ร ร ส ทรงเรมิ พฒั นาการพระศาสนา โดยเรมิ ต้นทีวดั บวร นเิ วศวหิ าร ไดแ้ ก่รเิ รมิ ใหภ้ ิกษุสามเณรทีบวชใหม่ เรยี นพระธรรมวนิ ยั ในภาษาไทย มกี าร สอบความรู้ ดว้ ยวธิ เี ขยี น ต่อมาจงึ กําหนดใหเ้ ปนหลักสตู ร การศึกษาสาํ หรบั คณะสงฆ์ เรยี กวา่ นกั ธรรม ทรง จดั ตัง มหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย เปนการรเิ รมิ จดั การศึกษาของพระภิกษุ สามเณรแบบใหม่ คือ เรยี น พระปรยิ ตั ิธรรม ประกอบกับวชิ าการอืน ทีเอืออํานวย ต่อการสอนพระพุทธศาสนา ผทู้ ีสอบได้ จะไดเ้ ปน เปรยี ญเชน่ เดยี วกับทีสอบไดใ้ นสนามหลวง เรยี กวา่ เปรยี ญ มหามงกฎุ แต่ไดเ้ ลิกไปในอีก 8 ปต่อมา ทรง ออกนติ ยสาร ธรรมจกั ษุ ซงึ เปนนติ ยสารทาง พระพุทธศาสนา ฉบบั แรกของไทย ทรงอํานวยการจดั การ ศึกษาหวั เมอื งทัว ราชอาณาจกั รเมอื ป พ.ศ. 2441 ตามพระราชดาํ ริ ของ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั ทีจะ ขยายการศึกษาขนั พนื ฐานไป ยงั ประชาชนทัว ราชอาณาจกั ร ทรงเหน็ วา่ วดั เปนแหล่งใหก้ ารศึกษา แก่คน ไทยมาแต่โบราณกาล เปนการขยายการศึกษา ไดเ้ รว็ และทัวถึง

พ ร ะ เ จ้ า บ ร ม ว ง ศ์ เ ธ อ ก ร ม ห ล ว ง ว ง ศ า ธิ ร า ช ส นิ ท ผลงานของพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธริ าชสนทิ มดี งั นี ผลงานดา้ น วรรณกรรมและการศึกษา ไดแ้ ก่ นริ าศพระประธม เพลงยาวสามชาย เพลงยาวกล บทสงิ โตเล่นหาง พงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา ทีทรงนพิ นธข์ นึ ตามพระราช บญั ชาพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั หนงั สอื จนิ ดามณฉี บบั พระนพิ นธก์ รม หลวงวงษาธริ าชสนทิ หรอื ประถมจนิ ดามณี เล่ม 2 จาก เอกสารทตู ฝรงั หลายคนบอกวา่ ท่านเปนเจา้ นายใจดี มคี วามทันสมยั ใหม่ นกั วชิ าการหลายคนรจู้ กั ท่าน แต่สาธารณชนไมค่ ่อยรจู้ กั ท่านเท่าไหร่ ผลงานของ พระองค์ท่านถกู เก็บเอาไวห้ ลายหนว่ ยงานอยา่ งตําราสตู รยาแผนโบราณมี อยูท่ ี สถาบนั การแพทยแ์ ผนไทย รว่ มยาหรอื กระเปายา มอี ยูใ่ นอุทยานรชั กาลที 2 ทีอําเภอ อัมพวา จงั หวดั สมุทรสงคราม ผลงานดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ ตําราสรรพคณุ ยาสมุนไพรไทย จาํ นวน 166 ชนดิ เปนตําราสมุนไพรเล่มแรกของไทย ทีเขยี นแบบเอกสารทางวชิ าการ แจกแจง และวเิ คราะหส์ ว่ นต่างๆ ของพชื สมุนไพร แต่ละชนดิ ทรงเปนแพทยไ์ ทยพระองค์แรกทีไดร้ บั ประกาศนยี บตั รถวายเปนพระ เกียรติยศจาก สถาบนั การแพทยข์ องยุโรป และไดร้ บั เชญิ ใหเ้ ปนสมาชกิ ของสถาบนั การแพทยแ์ หง่ นวิ ยอรก์ ชาวต่างชาติในสยามเรยี กขานพระองค์วา่ The Prince Doctor อีกทังพระองค์ยงั ทรงจารกึ คําประพนั ธไ์ วบ้ นแผน่ หนิ บรรยายถึงการบาํ บดั โรคดว้ ยสมุนไพร และการออกกําลังกายในท่าต่างๆ ทีเรยี กวา่ ฤๅษีดดั ตน ทีมเี รยี ง รายอยูใ่ นวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม หรอื วดั โพธิ

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า บ ร ม ว ง ศ์ เ ธ อ ก ร ม พ ร ะ ย า เ ท ว ะ ว ง ศ์ ว โ ร ป ก า ร สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ทรงบรหิ าร ราชการแผน่ ดนิ ตลอด พระชนมช์ พี จากรชั กาลที 5 ถึงรชั กาลที 6 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า เจา้ อยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ใหท้ รงดาํ รงตําแหนง่ ไปรเวตสิ เกรตารฝี รงั (ราชเลขานกุ ารฝาย ต่างประเทศ) ทําหนา้ ทีดแู ลงานต่างประเทศ ทรงมบี ทบาทสาํ คัญ ดา้ นการทตู เปนผเู้ จรจาขอ้ พพิ าทกับฝรงั เศส ครงั วกิ ฤตการณ์ ร.ศ. 112 ทรงเสนอใหม้ กี าร ตังสถานทตู ในต่างประเทศ ทียุโรปและสหรฐั อเมรกิ า ทรงวา่ ราชการเปนเสนาบดี กระทรวงการต่างประเทศทังใน รชั กาลที 5 และรชั กาลที 6 เปนเวลา 37 ป จนได้ ชอื วา่ เปน องค์บดิ าแหง่ การต่างประเทศของไทย อีก ทังทรงสนพระทัยในวชิ า โหราศาสตร์ เมอื พ.ศ. 2432 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั ทรง ประกาศใชป้ ฏิทินแบบใหมต่ ามสรุ ยิ คติตามแบบ สากล จากเดมิ ทีประเทศไทยใช้ แบบจนั ทรคติทรงเปนผคู้ ิด ปฏิทินไทยใชต้ ามสรุ ยิ คติ เรยี กวา่ เทวะประติทิน มี การกําหนดชอื เดอื นขนึ มาใหม่ จากเดมิ ทีใช้ เดอื น อ้าย เดอื นยี ถึงเดอื นสบิ สอง เปนชอื เดอื นแบบทีใช้ กันอยูใ่ นปจจุบนั

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า บ ร ม ว ง ศ์ เ ธ อ ก ร ม พ ร ะ ย า ดํา ร ง ร า ช า นุ ภ า พ ทรงตําแหนง่ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยคนแรกเปนเวลานานถึง ๒๓ ป ติดต่อกันตังแต่ พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๒๔๕๘ ทรงมบี ทบาทสาํ คัญในการวางรากฐานระบบ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ สว่ นภมู ภิ าคในแนวใหม่ โดยยกเลิกการปกครองทีเรยี กวา่ ระบบกินเมอื ง ซงึ ใหอ้ ํานาจเจา้ เมอื งมาก มาเปนการรวมเมอื งใกล้เคียงกันตังเปน มณฑล และสง่ ขา้ หลวงเทศาภิบาลไปปกครองและจา่ ยเงินเดอื นใหพ้ อเลียงชพี ระบบ นเี ปนระบบการรวมอํานาจเขา้ สศู่ ูนยก์ ลาง นอกจากนมี กี ารตังหนว่ ยงานใหมข่ นึ ใน กระทรวงมหาดไทย เพอื ทําหนา้ ทีดแู ลทกุ ขส์ ขุ ราษฎร เชน่ กรมตํารวจ กรมปาไม้ กรมพยาบาล เปนต้น ตลอด เวลาทีทรงดแู ลงานมหาดไทย ทรงใหค้ วามสาํ คัญแก่ การตรวจราชการเปนอยา่ งมาก เพราะ ต้องการเหน็ สภาพเปนอยูท่ ีแท้จรงิ ของราษฎร ดกู ารทํางานของขา้ ราชการ และเปนขวญั กําลังใจแก่ขา้ ราชการหวั เมอื งดว้ ย งานพระนพิ นธ์ ทรงนพิ นธง์ านดา้ นประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี และศิลปวฒั นธรรมไวเ้ ปนจาํ นวน มาก ทรงใชว้ ธิ สี มยั ใหมใ่ นการศึกษาค้นควา้ ประวตั ิศาสตรแ์ ละโบราณคดี จนไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนบดิ าทางโบราณคดแี ละประวตั ิศาสตรไ์ ทย

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า บ ร ม ว ง ศ์ เ ธ อ เ จ้ า ฟ า ก ร ม พ ร ะ ย า น ริ ศ ร า นุ วั ด ติ ว ง ศ์ ด้านศิลปกรรม งานสถาปตยกรรมทีโปรดทํามากคือ แบบพระเมรุ โดยตรสั วา่ \"เปนงานทีทําขนึ ใชช้ วั คราวแล้วรอื ทิงไป เปนโอกาสไดท้ ดลองใช้ ปญญาความคิด แผลงไดเ้ ต็มที จะผดิ พลาดไปบา้ งก็ไมส่ กู้ ระไร ระวงั เพยี งอยา่ งเดยี วคือเรอื งทนุ เท่านนั \" ดา้ นสถาปตยกรรม พระอุโบสถวดั เบญจมบพติ ร เมอื แรกสรา้ ง อาคาร เรยี นโรงเรยี นมธั ยมวดั เบญจมบพติ ร (ตึกชมพู) การออกแบบ ก่อสรา้ งพระอุโบสถ วดั เบญจมบพติ ร ถวายพระบาทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั เมอื พ.ศ. 2442 การออกแบบก่อสรา้ ง อาคารเรยี นโรงเรยี นมธั ยมวดั เบญจมบพติ ร เรมิ ก่อสรา้ ง เมอื วนั ที 4 มถิ นุ ายน รตั นโกสนิ ทรศก 121(พ.ศ. 2445)หรอื ร.ศ. 121 งาน ดา้ น สถาปตยกรรมเปนงานทีพระองค์ทรงพถิ ีพถิ ันอยา่ งมาก เพราะ ตรสั วา่ \"ต้องระวงั เพราะสรา้ งขนึ ก็เพอื ความพอใจ ความเพลิดเพลิน ตา ไมใ่ ชส่ รา้ งขนึ เพอื อยากจะรอื ทิง ทนุ รอนทีเสยี ไปก็ใชจ่ ะเอาคืนมา ได้ ผลทีสดุ ก็ต้องทิงไวเ้ ปนอนสุ าวรยี ส์ าํ หรบั ขายความอาย\" ดา้ นภาพจติ รกรรม ภาพเขยี น ภาพเขยี นสนี าํ มนั ประกอบพระราช พงศาวดาร แผน่ ดนิ พระเจา้ ท้ายสระครงั กรงุ ศรอี ยุธยา เปนภาพชา้ ง ทรงพระมหา อุปราชแทงชา้ งพระทีนงั ภาพเขยี นรถพระอาทิตยท์ ี เพดานพระทีนงั ภานมุ าศจาํ รญู (พระทีนงั บรมพมิ าน) ภาพประกอบ เรอื งธรรมาธรรมะสงคราม ภาพแบบพดั ต่าง ๆ

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ศ รี ส ว ริ น ทิ ร า บ ร ม ร า ช เ ท วี พ ร ะ พั น วั ส ส า อั ย ยิ ก า เ จ้ า ด้านการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ พระองค์ทรงสนบั สนนุ ศิรริ าชพยาบาล ในปพ.ศ. 2431 ตังแต่เรมิ ก่อตัง เรอื ยมา ตราบจนพระองค์เสดจ็ สวรรคต โดยเฉพาะอยา่ งยงิ หลังจากเหตกุ ารณก์ ารสนิ พระชนม์ ของพระราชโอรสธดิ าไปถึง 6 พระองค์ สง่ ผลใหพ้ ระองค์ทรงพระประชวรและเสดจ็ ฯ แปรพระราชฐานมาประทับรกั ษาพระองค์ทีพระตําหนกั ศรรี าชา พระองค์ทรงใหจ้ ดั สรา้ ง สถานพยาบาลขนึ โดยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั พระราชทานนามวา่ “โรงพยาบาลสมเดจ็ ” ปจจุบนั คือ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชเทวี ณ ศรรี าชา และ พระองค์ทรงรเิ รมิ หนว่ ยแพทยเ์ คลือนที เพอื ใหก้ ารรกั ษาแก่ประชาชนทีอยูห่ า่ งไกล และ พระราชทานทนุ สง่ แพทยพ์ ยาบาลไปศึกษาต่อต่างประเทศเพอื พฒั นาวงการแพทยไ์ ทย อยา่ งต่อเนอื ง ด้านการศึกษา พระองค์ไดพ้ ระราชทานทรพั ยเ์ พอื บาํ รงุ โรงเรยี นต่าง ๆ ทังในสว่ นกลางและสว่ น ภมู ภิ าค อาทิเชน่ โรงเรยี นราชนิ ี โรงเรยี นวรนารเี ฉลิม จงั หวดั สงขลา โรงเรยี นวฒั โน ทัยพายพั จงั หวดั เชยี งใหม่ โรงเรยี นเจา้ ฟาสรา้ ง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา เปนต้น

เ จ้ า พ ร ะ ย า โ ก ษ า ธิ บ ดี ( ป า น ) ออกญาโกษาปานไดบ้ รรดาศักดิ ออกพระวสิ ทุ ธสนุ ทร และไดร้ บั แต่งตังเปน ทตู ออกไปเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี ับฝรงั เศส ในสมยั ดงั กล่าว ฝรงั เศสมอี ิทธพิ ล ในราช สาํ นกั ของพระนารายณม์ าก จุดประสงค์ของฝรงั เศส คือ เผยแพร่ ครสิ ต์ศาสนา และ พยายามใหพ้ ระนารายณเ์ ขา้ รตี เปนครสิ ตชน รวมทัง พยายามมอี ํานาจทางการเมอื งใน อยุธยาดว้ ยการเจรจาขอตังกําลังทหารของ ตนทีเมอื งบางกอกและเมอื งมะรดิ คณะ ทตู ไปฝรงั เศสดงั กล่าว ประกอบดว้ ย ปาน เปนราชทตู , ออกหลวงกัลยาราชไมตรี เปนอุปทตู , และออกขุนศรี วสิ ารวาจา เปนตรที ตู พรอ้ มทังบาทหลวงเดอ ลีออง และผู้ ติดตาม รวมกวา่ 40 คน ออกเดนิ ทางจากกรงุ ศรอี ยุธยาในวนั ที 18 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2229 ไดเ้ ขา้ เฝาพระเจา้ หลยุ สท์ ี 14 เมอื วนั ที 1 กันยายน พ.ศ. 2229 ณ พระรา ชวงั แวรซ์ าย และเดนิ ทางกลับเมอื วนั ที 9 ตลุ าคม พ.ศ. 2230 ปาน เปนนกั การทตู ที สขุ ุม ไมพ่ ูดมาก ละเอียดลออในการจดบนั ทึกสงิ ทีพบเหน็ ใน การเดนิ ทาง[ต้องการ อ้างอิง] ในการเขา้ เฝาพระเจา้ หลยุ สท์ ี 14 คณะทตู อยุธยาไดร้ บั การยกยอ่ งชนื ชมจาก ชาวฝรงั เศส พระราชสาสนพ์ ระเจา้ หลยุ สท์ ี 14 กล่าวถึงปานวา่ ราชทตู ของพระองค์นี รสู้ กึ วา่ เปนคนรอบคอบ รจู้ กั ปฏิบตั ิราชกิจของ พระองค์ถีถ้วนดมี าก หากเรามฉิ วย โอกาสนเี พอื เผยแพรค่ วามชอบแหง่ ราชทตู ของพระองค์บา้ ง ก็จะเปนการอยุติธรรม ไป เพราะราชทตู ไดป้ ฏิบตั ิ ล้วนถกู ใจเราทกุ อยา่ ง โดยแต่นาํ คําทีพูดออกมาทีไร แต่ละ คําๆ ก็ดนู า่ ปลืมใจ และนา่ เชอื ถือทกุ คํา

พ ร ะ ย า กั ล ย า ณ ไ ม ต รี ( ฟ ร า น ซิ ส บี . แ ซ ร์ ) ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั รชั กาลที ๕ ประเทศสยามมี ความสมั พนั ธอ์ ันดกี ับมหาวทิ ยาลัยฮาร์ เวริ ด์ ซงึ เปนมหาวทิ ยาลัยทีมชี อื เสยี งในประเทศ สหรฐั อเมรกิ า พระองค์ไดว้ า่ จา้ งมสิ เตอร์ เจนส์ ไอ. เวสส เตนการด์ (Jens Iverson Westengard) ศาสตราจารยท์ ีมหาวทิ ยาลัยแหง่ นมี าเปนทีปรกึ ษาดา้ นกฎหมาย เพราะ ถกู รกุ ลําดนิ แดนและเอาเปรยี บหลายๆ อยา่ งจากประเทศอังกฤษ ประเทศฝรงั เศส รวม ถึงชาติอืนๆ ในขณะที ดร. ฟรานซสิ บ.ี แซร์ (Dr. Francis Bowes Sayre) กําลัง ทําการสอนอยูท่ ีมหาวทิ ยาลัยฮารเ์ วริ ด์ คณบดกี ็ ไดเ้ รยี กท่านเขา้ ไปพูดคยุ และถามวา่ “จะ ไปทํางานทีตะวนั ออกไกลในตําแหนง่ ทีปรกึ ษาการต่างประเทศของพระเจา้ แผน่ ดนิ สยาม บา้ งไหม” แต่เมอื ไดพ้ ูดคยุ กับเหล่ามชิ ชนั นารถี ึงสภาพชวี ติ ความเปนอยูใ่ นกรงุ เทพฯ ท่านจงึ ตัดสนิ ใจไป แต่ กําหนดระยะเวลาทีจะอยูป่ ระเทศสยามเอาไวเ้ พยี ง ๑ ปเท่านนั ในป พ.ศ. ๒๔๖๖ ปลายรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระ มงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั รชั กาลที ๖ ดร. ฟ รานซสิ บ.ี แซร์ (Dr. Francis Bowes Sayre) ก็ไดเ้ ขา้ มารบั ราชการใน เมอื งไทย เปน ทีปรกึ ษาการต่างประเทศ ขณะนนั เมอื งไทยกําลังมุง่ ทีจะขอแก้ไขสนธสิ ญั ญาทางพระราช ไมตรที ี ประเทศไทยเคยทําไวก้ ับนานาประเทศ โดยเฉพาะทีเกียวกับอํานาจศาล และการ ภาษีอากร ซงึ ประเทศไทยเปนฝาย เสยี เปรยี บอยู่ จนสามารถดาํ เนนิ การแก้ไขสนธิ สญั ญาสาํ เรจ็ กับประเทศสหรฐั อเมรกิ า ประเทศอังกฤษ ประเทศ ฝรงั เศส ประเทศอิตาลี ประเทศฮอล์แลนด์ ประเทศเบลเยยี ม ประเทศเดนมารก์ ประเทศนอรเ์ วย์ ประเทศสวเี ดน ประเทศสเปน และประเทศโปรตเุ กสไดส้ าํ เรจ็

ห ม่ อ ม ร า โ ช ทั ย ( ห ม่ อ ม ร า ช ว ง ศ์ ก ร ะ ต่ า ย อิ ศ ร า ง กู ร ) ครนั เมอื เจา้ ฟามงกฎุ เสดจ็ เถลิงถวลั ยราชสมบตั ิขนึ เปน พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั หมอ่ มราชวงศ์กระต่าย ก็ติดตามสมคั รเขา้ รบั ราชการ ความ สามารถของหมอ่ มราชวงศ์ กระต่ายทีชว่ ยราชกิจไดด้ ี จงึ ไดร้ บั พระราชทานเลือน อิสรยิ ยศ เปน \"หมอ่ มราโชทัย\" และดว้ ยความรใู้ นภาษาอังกฤษดี พ.ศ. 2400 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั จงึ โปรดเกล้าฯ ใหห้ มอ่ มราโชทัยเปนล่าม หลวงไปกับคณะราชทตู ไทยทีเชญิ พระ ราชสาสนแ์ ละเครอื งมงคลราชบรรณาการ เดนิ ทางไปถวาย สมเดจ็ พระราชนิ นี าถวกิ ตอเรยี การเดนิ ทางไปในครงั นนั เปน ทีมา ของหนงั สอื นริ าศเมอื งลอนดอน ซงึ แต่งหลังจากเดนิ ทาง กลับได้ 2 ป ต่อมา พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั ทรง พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ และถือวา่ เปน หนงั สอื เล่มแรกทีมกี าร ขายลิขสทิ ธเิ กิดขนึ ในไทยใหห้ มอ่ มราโชทัยขนึ เปนอธบิ ดี พพิ ากษาศาลต่างประเทศเปนคนแรกของไทย

ส ม เ ด็ จ เ จ้ า พ ร ะ ย า บ ร ม ม ห า ศ รี สุ ริ ย ว ง ศ์ ( ช่ ว ง บุ น น า ค ) สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์เปนคน “หวั ก้าวหนา้ ” รวมทัง ชอบ คบหาสมาคมกับชาวต่างประเทศและรบั ความ เจรญิ มาจากชาติตะวนั ตก ท่านจงึ มองเหน็ ถึงความสาํ คัญของ วชิ าความรู้ วทิ ยาการ และวทิ ยาศาสตรส์ มยั ใหม่ เชน่ การแพทย์ การพมิ พ์ และการรกั ษาพยาบาลทีทันสมยั ของหมอ สอนศาสนาครสิ ต์ โดยเฉพาะมชิ ชนั นารชี าวอเมรกิ ันนนั เปน ประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติ แต่คนเหล่านี มกั ถกู รงั เกียจจาก เจา้ นายและขุนนางหวั เก่า จงึ มกั ไดร้ บั ความยากลําบากในการ หาทีอยูอ่ าศัย ทีทํางาน และการทํางาน ท่านไดใ้ หค้ วาม อุปการะอํานวยความสะดวก แก่หมอสอนศาสนาเหล่านี และ คอยติดต่อเรยี นรสู้ งิ ใหม่ ๆ อยูต่ ลอดเวลา ดงั ลักษณะทีเรยี กกัน ในปจจุบนั วา่ “การถ่ายทอดเทคโนโลย”ี ซงึ ท่านหมนั เพยี ร เรยี นรวู้ ชิ าการตะวนั ตกกับชาวต่างประเทศมาตังแต่อยูใ่ นวยั หนมุ่ ทําใหท้ ่าน สามารถต่อ \"เรอื กําปน\" ไดเ้ อง และนบั เปนนาย ชา่ งสยามคนแรกทีสามารถต่อเรอื แบบฝรงั ได้

ซี ม ง เ ด อ ล า ลู แ บ ร์ เดอ ลา ลแู บร์ ไดร้ บั การแต่งตังใหเ้ ปนหวั หนา้ คณะทตู ฝรงั เศส รว่ มกับโกลด เซ เบอแร ดวู ์ บูแล (Claude Céberet du Boullay) เดนิ ทางมาอยุธยาเพอื เจรจา เรอื งศาสนาและการค้า ของฝรงั เศสในอาณาจกั รอยุธยาเมอื พ.ศ. 2230 ในการ เจรจา นนั อยุธยาไมส่ จู้ กั ยนิ ยอมรบั ขอ้ เสนอของฝรงั เศส ทําใหเ้ สยี เวลา ในการเจรจา หลายสปั ดาห์ ในทีสดุ ฝายไทยก็ยนิ ยอมรบั ขอ้ เสนอ ตามความประสงค์ของฝรงั เศส และทังสองฝายไดล้ งนามใน สญั ญาการค้าทีเมอื งลพบุรเี มอื วนั ที 11 ธนั วาคม นอกจากจะเปนหวั หนา้ คณะทตู จากฝรงั เศสแล้ว เดอ ลา ลแู บร์ ยงั ไดร้ บั คําสงั ให้ สงั เกตเรอื งราวต่าง ๆ เกียวกับอาณาจกั ร อยุธยาและบนั ทึกขอ้ สงั เกตทังหลายเหล่า นนั กลับไปรายงานให้ ราชสาํ นกั ของพระเจา้ หลยุ สท์ ี 14 ไดร้ บั ทราบดว้ ย จดหมาย เหตุ เหล่านไี ดก้ ลายเปนหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ีมคี ณุ ค่าต่อ แวดวงวชิ าประวตั ิศาสตร์ ไทยสมยั อยุธยา เพราะกล่าวถึงชวี ติ ความเปนอยู่ สงั คม ประเพณี ประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรม หลาย สงิ หลายอยา่ งของคนในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา จงึ นบั ไดว้ า่ เปน หลัก ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ีมจี ารกึ เปนลายลักษณอ์ ักษร

พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช ป ล เ ล อ กั ว ซ์ พระสงั ฆราชปลเลอกัวซ์ เปนบาทหลวงสงั กัดคณะมสิ ซงั ต่างประเทศแหง่ กรงุ ปารสี ปฏิบตั ิหนา้ ทีมชิ ชนั นารใี นประเทศ ไทยในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระนงั เกล้า เจา้ อยูห่ วั ถึง พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั มสี มณศักดเิ ปนประมุข มสิ ซงั สยามตะวนั ออก (apostolic vicar of Eastern Siam) และมุขนายกเกียรตินาม แหง่ มาลลอสหรอื มลั ลสุ (titular bishop of Mallos/Mallus) ท่านไดน้ าํ วทิ ยาการการถ่ายรปู เขา้ มาในประเทศไทย และนอกจากนที ่านยงั จดั ทําพจนานกุ รม สี ภาษาเล่มแรกของไทยขนึ ชอื สพั ะ พะจะนะ พาสา ไท โดยมี ภาษาทังสที ีวา่ นคี ือ ภาษา ไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรงั เศส และ ภาษาละติน ท่านไดเ้ รยี นภาษาไทยและภาษาบาลี มคี วามรใู้ น ภาษาทังสองเปนอยา่ งดจี นสามารถแต่งหนงั สอื ไดห้ ลายเล่ม นอกจากนนั ท่านมคี วามรทู้ างดา้ นดาราศาสตรภ์ มู ศิ าสตร์ วทิ ยาศาสตร์ โดยเฉพาะฟสกิ ส์ เคมแี ละ ดาราศาสตร์ มคี วามรู้ ความชาํ นาญทางดา้ นวชิ าการถ่ายรปู และชุบโลหะ บุตรหลาน ขา้ ราชการบางคนไดเ้ รยี นรวู้ ชิ าเหล่านกี ับท่าน ท่านไดส้ รา้ งตึก ทําเปนโรงพมิ พภ์ ายใน โบสถ์คอนเซป็ ชญั จดั พมิ พห์ นงั สอื สวด

ห ม อ บ รั ด เ ล ย์ ห รื อ แ ด น บี ช แ บ ร ด ลี ย์ หมอบรดั เลยเ์ ปนผนู้ าํ แพทยแ์ ผนปจจุบนั (แบบตะวนั ตก) เขา้ มาหลาย ประการ ทังการผา่ ตัดและการปองกันโรค หมอบ รดั เลยเ์ ปดสถานพยาบาลรกั ษาผู้ ปวยในบางกอกเปนครงั แรก เมอื วนั ที 4 สงิ หาคม พ.ศ. 2374 ในการรกั ษาโรคใน ระยะแรก ๆ หมอบรดั เลยจ์ ะตรวจผปู้ วยไดเ้ ปนจาํ นวนมากเกือบ 70- 100 คน ใน เวลา 3-4 ชวั โมง สว่ นมากในชว่ งเชา้ มคี นชว่ ยจดั ยาและแจกใบปลิวขอ้ ความในพระ คัมภีรด์ ว้ ย ในปแรกเจา้ ฟานอ้ ย (พระบาทสมเดจ็ พระปนเกล้าเจา้ อยูห่ วั ) ได้ เสดจ็ มา เยยี ม เล่าใหฟ้ งเรอื งประเพณกี ารอยูไ่ ฟของมารดาหลัง คลอด หมอบรดั เลยไ์ ด้ เสนออยากจะสอนใหค้ นไทยบางคนรจู้ กั ภาษาอังกฤษแลสอนวชิ าแพทยท์ ีมี โดยใน ชว่ งทีมกี ารปลกู ฝ มี หมอหลวงมาศึกษากับหมอบรดั เลย์ และยงั เขยี นหนงั สอื เพอื สอนหมอชาวสยาม เขยี นบทความอธบิ ายวธิ กี ารปลกู ฝ ใน ภายหลังรชั กาลที 3 ได้ พระราชทานรางวลั ให้ 250 บาท (เท่ากับ 145 ดอลลารอ์ เมรกิ ันในสมยั นนั ) ตํารา แพทยแ์ ผน ปจจุบนั เล่มแรกนชี อื วา่ ครรภ์ทรกั ษา[7] มคี วามหนา 200 หนา้ มี ภาพประกอบฝมอื คนไทยประมาณ 50 ภาพ มเี นอื หา เกียวกับอาการของโรคใน การคลอดและวธิ กี ารแก้ไขรกั ษา กับ พยายามสอนใหค้ นไทยเลิกธรรมเนยี มการ อยูไ่ ฟ ซงึ เปนสาเหตุ สาํ คัญทีทําใหม้ ารดาหลังคลอดเสยี ชวี ติ

พ ร ะ ย า รั ษ ฎ า นุ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ ร ภั ก ดี ด้านการปกครอง กศุ โลบายหลักในการปกครอง ของท่านคือ หลักพอ่ ปกครองลกู ทํานองเดยี วกับ ทีใชใ้ นยุคสโุ ขทัย นอกจากจะยดึ หลักพอ่ ปกครอง ลกู แล้ว ยงั ยดึ หลักในการแบง่ งาน และความ รบั ผดิ ชอบแก่ผใู้ ต้บงั คับบญั ชา ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก การรเิ รมิ จดั ตังทีวา่ การกํานนั ขนึ เปนแหง่ แรก ที มณฑลภเู ก็ต และไดจ้ ดั ระเบยี บการประชุม ผใู้ หญบ่ า้ น กํานนั นายอําเภอใหเ้ ปนทีแนน่ อน ดา้ นการสง่ เสรมิ อาชพี ราษฎร อาจจะเปนเพราะ พระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐฯ์ เกิดในตระกลู พอ่ ค้า ท่านจงึ มโี ลกทรรศน์ ต่างจากขุนนางอืน ๆ คือ มี อุปนสิ ยั บาํ รงุ การค้า เมอื เปนเจา้ เมอื งตรงั ไดย้ า้ ยจากตําบลควนธานไี ปอยูต่ ําบลกันตังดว้ ยเหตผุ ล ทีวา่ มที ําเลการค้าทีดกี วา่ เรอื กลไฟ เรอื สนิ ค้า ใหญ่ สามารถเขา้ ถึงไดส้ ะดวก เหล่านเี ปนต้น ดา้ นการคมนาคม พระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐฯ์ ให้ ความสาํ คัญเปนทีสดุ โดยเฉพาะการสรา้ งถนน อีกทังยงั ชวนใหเ้ หน็ ประโยชนข์ องการปลกู ยางพาราและการทําสวนยาง

ศิ ล ป พี ร ะ ศ รี ศาสตราจารยศ์ ิลปยงั เปนผวู้ างรากฐานทีเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่วงการ ศิลปะไทยสมยั ใหม่ จากการทีไดพ้ ราํ สอนและผลักดนั ลกู ศิษยใ์ หไ้ ด้ มคี วามรคู้ วามสามารถในวชิ าศิลปะทัง งานจติ รกรรมและงานชา่ ง มจี ุดประสงค์ใหค้ นไทยมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในศิลปะและ สามารถ สรา้ งสรรค์งานศิลปะไดด้ ว้ ยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อ ตังมหาวทิ ยาลัยศิลปากรจงึ เปรยี บเสมอื นการหวา่ นเมล็ด พนั ธุใ์ หแ้ ก่คนไทยเพอื ทีจะ ออกไปสรา้ งศิลปะเพอื แผน่ ดนิ ของตน และถึงแมจ้ ะรเิ รมิ รากฐานของความรดู้ า้ น ศิลปะตะวนั ตกใน ประเทศไทย แต่ในขณะเดยี วกันศาสตรจารยศ์ ิลปก็ไดศ้ ึกษาศิลปะ ไทยอยา่ งลึกซงึ เนอื งจากต้องการใหค้ นไทยรกั ษาความงามของ ศิลปะไทยเอาไว้ จงึ ไดเ้ กิดการสรา้ งลกู ศิษยท์ ีมคี วามรทู้ ังงานศิลปะ ตะวนั ตกและศิลปะไทยออกไปเปน กําลังสาํ คัญใหแ้ ก่วงการศิลปะ ไทยเปนจาํ นวนมาก และเกิดรปู แบบงานศิลปะไทย สมยั ใหมด่ ว้ ยคณุ ปู การนศี าสตราจารยศ์ ิลปจงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปนปูชนยี บุคคล ของมหาวทิ ยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะ ในงานประติมากรรมทีได้ มผี ลงานทีโดดเดน่ มากมายทีสรา้ งไวแ้ ก่ ประเทศไทย ไดแ้ ก่ พระพุทธรปู ประธานที พุทธมณฑล, อนสุ าวรยี ์ ชยั สมรภมู ,ิ อนสุ าวรยี ป์ ระชาธปิ ไตย และรวมไปถึง พระบรม รา ชานสุ าวรยี ์

พ ล ต รี พ ร ะ เ จ้ า ว ร ว ง ศ์ เ ธ อ ก ร ม ห มื น น ร า ธิ ป พ ง ศ์ ป ร ะ พั น ธ์ ผลงานอันเปนคณุ ค่าของแผน่ ดิน ทรงเปนนกั การทตู - นกั หนงั สอื พมิ พ์ - นกั ปรชั ญา - นกั ประวตั ิศาสตร์ - นกั ภาษาศาสตร์ - นกั ประพนั ธ์ นกั การทตู ทียงิ ใหญ่ กรมหมนื นราธปิ พงศ์ประพนั ธ์ ทรงเปนนกั การทตู ทียงิ ใหญ่ และมคี วามสมั พนั ธ์ อยา่ งแนบแนน่ กับการทตู และการต่างประเทศมาเกือบตลอดพระชนมช์ พี กระทังไดร้ บั การยกยอ่ งจากเวทีทางการทตู โลกใหด้ าํ รงตําแหนง่ ประธานในทีประชุมสมชั ชา สหประชาชาติทรงเปนคนไทยคนแรกและคนเดยี วทีไดน้ งั เก้าอีอันทรงเกียรติจวบ จนถึงปจจุบนั พระกรณยี กิจทีทรงปฏิบตั ิไดส้ รา้ งคณุ ปู การใหก้ ับประเทศชาติอยา่ ง ใหญห่ ลวง และในต่างประเทศทรงไดร้ บั การยกยอ่ งเปน \"ดวงปญญาแหง่ ภาคพนื ตะวนั ออdในความเปนอัจฉรยิ ะ เปนปราชญใ์ นวชิ าการหลาย ๆ ดา้ น ไมเ่ ฉพาะเปน นกั การทตู ชนั เอก ยงั ทรงเชยี วชาญในดา้ นการบรกิ าร ดา้ นภาษาศาสตร์ ทรงบญั ญตั ิ ศัพท์ ทรงปรชี าสามารถในการถอดรหสั คําจากภาษาต่างประเทศเปนคําไทยไดอ้ ยา่ ง ลงตัวจนเปนทียอมรบั และใชก้ ันต่อเนอื งมาจนถึงปจจุบนั ทรงปฏิบตั ิพระกรณยี กิจโดย ไมเ่ คยคํานงึ ถึงประโยชนส์ ว่ นพระองค์แต่ประการใด หากมปี ญหาก็ทรงหาทางแก้ไข หรอื ไกล่เกลีย หรอื ถ้ามผี โู้ จมตีกล่าวหาใสร่ า้ ย ท่านจะไมท่ รงโต้ตอบ นคี ือคณุ ลักษณะ ทีไดร้ บั ยกยอ่ งและกล่าวขวญั ถึงมากทีสดุ

รายการอ้างอิง ภวู ดล บุญชว่ ย. (2543). รายนาม 20บุคคลสาํ คัญของไทย. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://site.google.com/sit/poeadlton2543/.home /. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). Irattikul srisuwan. (2561). บุคคลสาํ คัญในประวตั ิศาสตรไ์ ทย. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://medium.com/ประวตั ิศาสตรโ์ ลก/บุคคลสาํ คัญใน ประวตั ิศาสตรไ์ ทย. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). Narumon Nagsiri. (2558). บุคคลสาํ คัญในอดตี ของไทย. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://7319nn.blogspot.com/. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). true ปลกุ ปญญา. (2555). พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธริ าชสนทิ . เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.trueplookpanya.com/ learning/detail/19548-029810. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564).

วกิ ิพเี ดยี . (2563). พระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐม์ หศิ รภักด.ี เขา้ ถึงไดจ้ าก https://th.wikipedia.org/wiki/. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). New18. (2561). สอ่ งประวตั ิ “ออกญาโกษาปาน” เขา้ เฝาพระเจา้ หลยุ สท์ ี 14. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.newtv.co.th/news/12608. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). sorasak571910272. สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอฯ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ติวงศ์. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://sites.google.com/site/sorasa k571910272/home/unc02. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). วกิ ิพเี ดยี . (2564). พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร. เขา้ ถึงไดจ้ าก https:// h.wikipedia.org/wiki/. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). วกิ ิพเี ดยี . (2564). ศิลป พรี ะศร.ี เขา้ ถึงไดจ้ าก https://th.wikipedia.org/wiki/. (สบื ค้นเมอื วนั ที : 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564).