๕ ใบความรู้ เรอื่ ง การเขียนโครงเร่อื งเรียงความ ความหมายของการเขยี นโครงเรอื่ ง โครงเร่ืองเป็นการกาหนดแนวทางการเขียน การเรียบเรียงข้อมูล การจัดลาดบั ความคิด และการจดั ลาดับหวั ขอ้ หลังจากท่ีผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูล การเขยี นโครงเรือ่ งจึงเปน็ ขัน้ ตอนหน่งึ ท่สี าคญั ในงานเขยี น การเขียนโครงเรือ่ งในเรียงความ โครงเร่ือง คือ การนาแนวคิดท้ังเร่ืองมาแยกแยะให้เป็นระเบียบ โดยการ เรยี งลาดบั เป็นข้อความสั้น ๆ ใหม้ ีความสมั พันธ์ต่อเนอ่ื งกนั มีข้อควรคานึง ดงั นี้ ๑. จัดลาดบั ความคดิ ให้ตอ่ เนือ่ งกัน ๒. แยกประเดน็ ใหญแ่ ละประเด็นยอ่ ยออกจากกนั อยา่ งชัดเจน ๓. เขียนโครงเรื่อง โดยจะทาให้รูปหัวข้อซึ่งอาจเขียนด้วยคาหรือวลีก็ได้ หรอื จะทาให้เป็นรูปประโยคก็ได้
๖ เทคนคิ การเขยี นโครงเร่ืองในเรยี งความ วิธีหนึ่งที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดความคดิ ในเร่ืองใดเร่อื งหนง่ึ ก็คือ การหาคา ที่มีความเกี่ยวข้อง กับคาที่กาหนดให้อย่างน้อย ๑๐ คา แล้วนาคาเหล่าน้ันมาผูก เปน็ ประโยคส้ัน ๆ ดงั ตัวอย่าง บ้าน เป็นคาท่ีกาหนดให้ คาอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง ๑๐ คา ได้แก่ พ่อ แม่ ลูก ความสขุ ความรกั พักผ่อน อาหาร นา้ สบาย สาคญั ฯลฯ เม่ือนาคาเหล่านม้ี าผกู เปน็ ประโยคสน้ั ๆ กจ็ ะไดป้ ระโยค เชน่ - บ้านเปน็ ท่ีให้ความสุขแก่เรา - เราไดพ้ กั ผ่อน ได้กนิ อาหาร และด่มื น้าทบ่ี ้าน - พ่อแม่รกั ลกู และเลี้ยงดลู ูกใหส้ ุขสบาย - บา้ นมีความสาคญั สาหรับทุกคน ประโยชน์ของการเขียนโครงเรือ่ ง ๑. ช่วยในการนาเสนอเนือ้ หา ทาให้ผเู้ ขยี นเตรียมเน้ือหาไดอ้ ย่างเหมาะสม กับจดุ มุง่ หมายในการเขียน ร้จู กั กาหนดขอบขา่ ยของเน้ือหา ๒. ช่วยแบง่ หัวขอ้ ไดช้ ดั เจน การแบ่งหัวข้อใหญแ่ ละหัวขอ้ ย่อยอย่างชัดเจน ทาใหผ้ ้เู ขียนสามารถจดั ลาดบั เพอ่ื เช่อื มโยงหัวข้อย่อยกับหัวข้อย่อย หวั ขอ้ ใหญ่กับ หวั ข้อยอ่ ยไดง้ า่ ย ๓. ช่วยเขียนเร่ืองอย่างมีเหตุผล ทาให้ผู้เขียนมองเห็นความสัมพันธ์ของ ประเด็นตา่ งๆ ในเน้อื หาจากโครงเร่อื งไดช้ ัดเจน ๔. ช่วยในการวางสัดส่วนของเรื่องได้เหมาะสม ช่วยให้ทราบว่าควรเขียน ในประเด็นอะไรบา้ ง มีประเดน็ ใดทไ่ี มค่ วรเขยี น ทาใหไ้ ม่ลืมหวั ขอ้ ท่จี ะเขียน ๕. ช่วยไม่ให้สับสนเวลาเขียน การเขียนโครงเรื่องก่อนลงมือเขียน เปรียบเสมือนการเขียนฉบับร่างของงานเขียน เม่ือลงมือเขียนจึงสามารถเขียน ตามหัวข้อต่างๆ ท่ผี เู้ ขยี นได้วางโครงเรือ่ งไว้
๗ ขนั้ ตอนในการเขียนโครงเร่อื ง ๑. รวบรวมความคิดเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะเขียนไว้เป็นข้อๆ เป็นการร่าง เบ้ืองตน้ ความคิดเกี่ยวกบั เรื่องทีจ่ ะเขียนนัน้ อาจมาจากประสบการณ์ ของตนเอง หรือไดจ้ ากการค้นคว้าจากเอกสารหรอื การสัมภาษณบ์ ุคคล ดงั ตวั อยา่ ง เร่อื ง มารยาทในการขบั รถ ๑. การไม่เคารพกฎจราจร ๒. การคานงึ ถงึ ผอู้ า่ น ๓. การใชแ้ ตรเฉพาะเมอื่ จาเปน็ ๔. การไมค่ านงึ ถึงความปลอดภยั ของผ้อู ่ืน ๕. ความรู้เรอ่ื งเคร่ืองยนตข์ องรถท่ขี บั ๖. การโอนอ่อนผอ่ นปรนของผู้อ่นื ๗. การขับรถในขณะมึนเมาหรือปว่ ย ๘. การขับรถอย่างเสี่ยงภัย ๙. การแสดงจดุ เดน่ ๑๐. การควบคมุ ตนเอง ๑๑. การขับรถละเมดิ สัญญาณไฟ ๑๒. การขบั รถเร็วเกินอตั ราทกี่ ฎหมายกาหนด ๑๓. การขับรถโดยย่ืนแขนออกนอกรถ ๒. นาความคดิ ทไ่ี ด้มาเลือกและจดั หมวดหมู่ โดยเลือกเอาเฉพาะความคิด ท่ีเก่ียวข้องอยู่ในขอบเขตของเร่ืองท่ีจะเขียน บางเรื่องที่มีความคล้ายคลึงกันอาจ รวมเป็นข้อเดียวกัน บางเร่ืองที่ออกนอกเร่ืองหรือที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อมากนัก ควรตัดออกไป นาความคดิ เหลา่ นี้มาจดั หมวดหมู่และตง้ั เป็นหวั ข้อหรือประเด็นให้ ชดั เจน ในขั้นท่ี ๒ น้ีจึงควรเลือกแต่หัวข้อที่จาเป็นแกเน้ือเร่ือง เช่น ตัวอย่างใน เรือ่ งมารยาทในการขับรถ เราอาจจัดหวั ข้อตา่ งๆ ที่ไดร้ วบรวมไว้นัน้ ให้เป็นหวั ข้อ ใหญ่ที่เหมาะสม ซึ่งจะขยายเปน็ หวั ข้อย่อยต่อไปดังน้ี ๑. ขอ้ บกพรอ่ งในการขับรถ (หัวข้อ ๑, ๔, ๗, ๘, ๙) ๒. ความสภุ าพในการขับรถ (หวั ขอ้ ๒, ๓, ๖, ๑๐) ๓. ความรู้เรอ่ื งเครอ่ื งยนตข์ องรถที่ขับ (หวั ขอ้ ๕ )
๘ ๓. จัดลาดับความคิด เม่ือเลือกและจัดหมวดหมู่ได้แล้ว ได้นาประเด็น เหล่าน้ันมาจดั ลาดับ แล้วจัดหวั ขอ้ ย่อยเพ่ือขยายโครงเร่ืองให้ชัดเจน ตัวอย่างจาก โครงเร่ืองมารยาทในการขับรถจากหวั ขอ้ เดมิ มาทาเป็นโครงเร่อื ง ดังนี้ ๑. ขอ้ บกพรอ่ งในการขบั รถ ๑.๑ การฝา่ ฝนื กฎจราจร ๑.๑.๑ การขับรถฝ่าไฟแดง ๑.๑.๒ การเลีย้ วรถโดยไม่ให้สัญญาณ ๑.๑.๓ การขับรถลา้ ก่งึ กลางถนน ๑.๑.๔ การขบั รถแซงคนั อื่นทางซ้าย ๑.๒ ความประพฤตทิ ี่ไมด่ ีของผ้ขู บั รถ ๑.๒.๑ การไมค่ านึงถงึ ความปลอดภยั ของผุ้อ่ืน ๑.๒.๒ การแสดงจดุ เด่น ๑.๓ การขบั รถในสภาพท่ีไมเ่ หมาะสม ๑.๔ การใช้รถในสภาพทไี่ มป่ ลอดภยั ๒. ความสุภาพในการขบั รถ ๒.๑ การคานงึ ถงึ ผอู้ น่ื ๒.๒ การยอมผอ่ นปรนใหผ้ อู้ น่ื ๒.๒.๑ คนขับรถทไ่ี มช่ านาญ ๒.๒.๒ คนทพ่ี ง่ึ หดั ขับรถ ๒.๒.๓ คนที่ชอบแสดงจดุ เดน่ ๒.๓ การใช้แตรเฉพาะเมื่อจาเป็น ๒.๔ การควบคมุ ตนเอง
๙ ๓. ความรูเ้ รอื่ งเครื่องยนตข์ องรถทข่ี บั ๓.๑ ความรู้เรอ่ื งความเร็วสูงสุดเทา่ ไรจึงปลอดภัย ๓.๒ ความรู้เรอ่ื งการหยดุ รถให้สัมพนั ธก์ ับความเร็วและระยะทาง ถ้าจะเขียนโครงเร่ืองเป็นประโยค ควรเขียนให้เป็นประโยคที่สมบูรณ์ ส้ัน และชัดเจน ดงั ตัวอย่าง เร่ือง ป่าไมข้ องไทย ๑. ป่าไมข้ องไทยกาลังจะหมดไป เน่อื งจากประชาชนตอ้ งการใชม้ ากขน้ึ ทั้งการทาป่าไม้ก็ไม่ไดผ้ ล ๑.๑ ไม้เป็นปัจจัยสาคัญในการก่อสร้าง การพัฒนาทางอุตสาหกรรม เป็นเชื้อเพลิง และ ใช้ทาเครอ่ื งใช้ตา่ งๆ ๑.๒ วธิ กี ารทาปา่ ไม้ในปจั จุบนั ไร้ผล ๒. เมื่อป่าไม้น้อยลง วิธีแก้ไขคือ ปลูกป่าเพิ่มข้ึน ป้องกันความเสียหายของป่าไม้ และใช้วัสดุใน การก่อสรา้ งแทนไม้ ๒.๑ เอกชนและรฐั บาลควรปลูกป่าเพมิ่ ขนึ้ ๒.๒ วิธีการป้องกันความเสียหายของป่าไม้ คือ ป้องกันไฟป่า กาจัดแมลง และยกเลิก วธิ ีการทาป่าไมท้ ่ีไรผ้ ล ๒.๓ ส่ิงก่อสร้างส่วนใดที่ไม่จาเป็นต้องใช้ไม้ก็ควรใช้วัสดุอ่ืนแทน เช่น ซีเมนต์ หิน และ กระจก เป็นต้น
๑๐ การวางโครงเร่อื ง ดว้ ยวิธีตา่ ง ๆ ๑. การวางโครงเรื่องดว้ ยการใชห้ วั ขอ้ ตา่ ง ๆ หลังจากจัดหมวดหมคู่ วามคดิ เป็นหัวข้อสาคญั ๆ ไดแ้ ลว้ จงึ นามาจดั วาง เป็นโครงเรื่องประกอบด้วย หัวขอ้ หลัก หวั ข้อรอง หัวข้อย่อย ตามความเหมาะสม ดงั ตวั อย่าง โครงเรือ่ ง : เครอื่ งสาอางจากสมนุ ไพรไทย สว่ นคานา เปดิ เรอ่ื งด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั เนื้อเรื่อง ส่วนเน้อื เร่ือง ๑. เคร่อื งสาอางจากสมุนไพรไทยปลอดสารเคมีต่าง ๆ ๑.๑ ปลอดสารเคมที อ่ี ันตรายต่อผิวหนัง ๑.๒ ปลอดสารเคมีท่เี กดิ อันตรายต่อสุขภาพทางกาย ๑.๓ สามารถสรา้ งภมู คิ ุม้ กันให้รา่ งกายได้ ๑.๔ มีส่วนสร้างเสรมิ สุขภาพจิตท่ดี ี ชะลอความเหยี่ วยน่ และรว้ิ รอยบนใบหน้า ๒. เคร่อื งสาอางจากสมนุ ไพรไทยสะดวกและคุม้ ค่าตอ่ การใช้ ๒.๑ หาง่าย ราคาถกู ๒.๒ การลงทนุ คมุ้ ค่า ๓. เคร่ืองสาอางจากสมนุ ไพรใหป้ ระโยชน์ด้านตา่ ง ๆ ๓.๑ ด้านร่างกาย ไม่เกิดโรคภยั อนั ตราย ๓.๒ ด้านจติ ใจ ทาให้เกดิ ความม่นั ใจ มสี ขุ ภาพจิตดี ๓.๓ ดา้ นวชิ าการและอาชพี เกดิ การคน้ คว้า ศกึ ษา ทดลอง พัฒนา เผยแพรค่ ุณประโยชนท์ างวิชาการและอาชีพ ส่วนสรปุ สรปุ ปิดเร่ืองด้วยวธิ ีการที่สอดคล้องกับการเปดิ เรอื่ งและดาเนนิ เรื่อง
๑๑ ๒. การวางโครงเรอื่ งดว้ ยการใช้แผนภาพโครงเรือ่ ง ๒.๑ การวางหัวข้อโครงเร่ืองอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งเป็นข้ันตอนหรือเป็น ระดบั จัดเป็นกลุ่ม ๆ เป็นหมวดหมู่ เชน่ โครงเรื่อง เครื่องสาอางจากสมนุ ไพรไทย เครือ่ งสาอางจากสมุนไพรไทย ปลอดสารเคมี ผลต่อการใช้ ประโยชน์หลายดา้ น สร้างภมู ิคุม้ กัน ราคาถกู รา่ งกาย รา่ งกาย ลงทนุ คมุ้ คา่ จิตใจ วชิ าชพี ไม่อันตรายตอ่ สง่ ขาย ผิวหนัง ต่างประเทศ เสริมสรา้ ง สุขภาพจิต
๑๒ ซึ่งแผนภาพโครงเรื่อง หรือแผนภาพความคิดสามารถเขียนได้ หลายลักษณะ ดังนี้ ๒.๑.๑ ผังความคิด ( Mind Mapping) เป็นผังกราฟิกท่ีแสดง ความสัมพันธ์ของสาระหรือความคิดต่างๆ ให้เห็นเป็นโครงสร้างในภาพรวม โดยใช้ตาแหน่งระยะห่างจากจุดศูนย์กลางสี เครื่องหมาย รูปทรงเรขาคณิตและ ภาพแสดงความหมายและเชอ่ื มโยงของความคดิ หรอื สาระนัน้ ๆ ข้ันตอนการเขยี นผัง - เขียนความคดิ หลกั หรอื หวั ขอ้ เรือ่ งตรงก่งึ กลางหนา้ กระดาษ - เขียนความคิดรองท่ีสัมพันธ์กับความคิดหลักหรือหัวข้อเร่ืองกระจาย ออกไปรอบ ๆ ความคิดหลกั - เขียนความคิดย่อยที่สัมพันธ์กับความคิดรองแตกออกไปเรื่อย ๆ โดยเขียนข้อความไวบ้ นเส้นแตล่ ะเส้น เสน้ ท่ีใชอ้ าจเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้งกไ็ ด้
๑๓ ๒.๑.๒ ผังใยแมงมุม (Web Diagram) เปน็ ผงั กราฟกิ ทใ่ี ช้แสดงมโนทศั น์ แบบหน่ึง โดยแสดงความคิดรวบยอดใหญ่ไว้ตรงกลาง และเส้นที่แยกออกจาก ความคิดรวบยอดใหญจ่ ะแสดงรายละเอียดของความคิดน้ัน ขัน้ ตอนการเขียนผัง - เขียนมโนทศั น์หลกั หรอื หัวขอ้ เรอ่ื งใหญ่ไว้ตรงกลางหนา้ กระดาษ - จดั ลาดับขอ้ มูลท่ีมีความสัมพนั ธ์กนั ตงั้ แตอ่ งค์ประกอบหลัก องค์ประกอบ รอง องคป์ ระกอบยอ่ ย ตามลาดบั - เชือ่ มโยงมโนทศั นต์ า่ ง ๆ โดยใชเ้ ส้น
๑๔ ๒.๑.๓ ผังต้นไม้ (Tree diagrams) เป็นผังกราฟิกที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ ของเรื่องที่มีความสาคัญลดหล่ันกันเป็นช้ัน ๆ มีรูปร่างคล้ายแผนภูมิบริหาร องค์การ โดยนามาจัดเรียงให้มีรูปร่างลักษณะคล้ายต้นไม้ที่มีกิ่ง ก้าน สาขา ดอก ใบ ทาใหม้ องเหน็ ภาพแผนผังระบบทเี่ ปน็ ระบบหลาย ๆ ความคดิ เหล่านน้ั ไดอ้ ยา่ ง ชัดเจน ข้ันตอนการเขียนผัง - เขียนมโนทัศน์หลักหรือหัวข้อเร่ืองใหญ่ไว้ตรงกลางด้านบนสุดหรือ ดา้ นขา้ ง - เขียนมโนทศั น์ทีม่ ีความสาคัญรองลงมาเป็นลาดบั ขั้น - เช่อื มมโนทศั น์ตา่ ง ๆ โดยใชเ้ สน้
๑๕ ๒.๑.๔ ผังก้างปลา (Fishbone Map) เป็นผังกราฟิกท่ีนาเสนอข้อมูล ใหเ้ ป็นถงึ เหตแุ ละผลของเรื่องใดเรอื่ งหนึ่ง ขั้นตอนการเขยี นผัง - ระบปุ ญั หาทตี่ าแหนง่ หวั ปลา - เขยี นสาเหตหุ ลกั หรือสาเหตุย่อยเปน็ กา้ งปลาใหญ่ - เขยี นสาเหตยุ ่อยจากแตล่ ะสาเหตหุ ลักเปน็ กา้ งปลาเล็ก ๆ
๑๖ ๒.๑.๕ ผังมโนภาพ (Concept Map) เป็นผังกราฟิกที่แสดงมโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอดใหญ่ไว้ตรงกลางและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ และมโนทศั นย์ อ่ ยๆ เป็นลาดบั ขน้ั ด้วยเสน้ เชอื่ มโยง แผนทีค่ วามคดิ เปน็ การทางาน ร่วมกันของสมองด้านซ้ายและด้านขวา สมองด้านซ้ายจะทาหน้าที่ในการ วเิ คราะห์คา สัญลักษณ์ ตรรกวิทยา สมองด้านขวาจะทาหน้าที่ในการสังเคราะห์ รูปแบบ สี รปู ร่าง ขนั้ ตอนการเขียน - เขียนมโนทัศน์ใหญไ่ วต้ รงกลาง - เขยี นมโนทัศนท์ ่ีมคี วามสาคัญรองลงมาเป็นลาดับข้ันจากใหญไ่ ปย่อยโดย ใช้เส้นเช่อื มโยงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ - เขียนคาเชื่อมทแ่ี สดงถึงลักษณะของความสัมพันธร์ ะหวา่ งมโนทัศน์
๑๗ ๒. ถ้าเหตุการณ์ในเรอื่ งเปน็ เรือ่ งราวที่ดาเนินไปอย่างตอ่ เนือ่ ง มีบทสนทนา มีฉาก เวลา โอกาส สถานการณ์ต่าง ๆ นาคาถามจาก ๕W ๑H มาใช้ถามสร้าง แผนภาพโครงเรอ่ื งได้ เร่ือง .......................................... ตวั ละคร ฉาก เวลา สถานท่ี แนวคดิ ปญั หา เหตุการณ์ (ใคร ทาอะไร ผลเป็นอย่างไร) ๑. ๒. ๓. ฯลฯ เหตกุ ารณส์ ุดทา้ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: