Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาการงานอาชีพพื้นฐาน ม.6 ปี64

แผนการสอนวิชาการงานอาชีพพื้นฐาน ม.6 ปี64

Published by น่านมงคล อินด้วง, 2021-05-06 03:15:22

Description: แผนการสอนวิชาการงานอาชีพพื้นฐาน ม.6 ปี64

Search

Read the Text Version

รวมของสาระท้ังหมดอยใู่ นเกณฑ์ ตอ้ งปรับปรงุ 2-1 คะแนน 6. ไมม่ เี น้ือหาเลย 0 คะแนน ลงช่อื ..................................................ผ้สู อน (นายน่านมงคล อินด้วง) ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย

ใบความรู้ ประเทศไทยให้ความสาคัญของการควบคุมคุณภาพสินค้า โดยรัฐบาลได้จัดตั้งสานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นสถาบันมาตรฐานแห่งชาติ ท่ีจัดต้ังข้ึนตาม พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 มีหน้าท่ีดาเนินงานด้านมาตรฐานของประเทศ เพ่อื ความปลอดภยั และเศรษฐกิจของประเทศแล้ว ยังมีหน้าทส่ี ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม เพ่ือสนองนโยบายของรัฐบาล ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจละสงั คมแห่งชาตอิ ีกด้วย มาตรฐานพน้ื ฐาน ( Basic Standard ) หมายถึง ประเภทหนึ่งของมาตรฐานซ่ึงมีการกาหนดอย่างกว้าง ๆ ในแต่ละด้าน เพื่อประโยชน์ในการ ศึกษา และการนาไปใช้งานท่ีเก่ียวข้อง (บางประเทศใช้ Fundamental Standard หรือ General Standard ) ได้แก่ มาตรฐานหน่วยการวดั ตา่ ง ๆ มาตรฐานวธิ ปี ฏิบตั ิ มาตรฐานการทดสอบ หรือมาตรฐานคณุ ภาพ มาตรฐานสาหรับการผลิตท่เี ป็นยอมรบั ในประเทศไทยไดแ้ ก่ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) หมายถึง มาตรฐานซ่ึงมีข้อกาหนดเกณฑ์คุณภาพบางประการ หรือ ท้ังหมดท่ีเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ หรือกลุ่มผลิตภัณฑ์ ซึ่งแล้วแต่ความจาเป็นหรือความเหมาะสมในขณะนั้น ๆ โดยมาตรฐานผลิตภัณฑน์ ี้จะมขี อ้ กาหนดทีเ่ ป็นคุณลักษณะที่ตอ้ งการโดยตรงหรือโดยอ้อมของผลิตภัณฑ์ เพ่ือเป็น แนวทางแก่ผู้ผลิตในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพ ในระดับที่เหมาะสมกับการใช้งานมากท่ีสุด เช่นการกาหนดคา จากดั ความหรอื นิยาม จานวนแบบ เกณฑท์ างเทคนิค คณุ สมบตั ิที่สาคัญ คุณภาพของวัตถุที่นามาผลิตกรรมวิธีใน การทา วธิ วี ิเคราะห์ หรือการบรรจุ และหบี ห่อ เปน็ ต้น GMP (Good Manufacturing Practice) หมายถงึ หลักเกณฑ์วิธกี ารทดี่ ีในการผลิตอาหาร เป็นเกณฑ์หรือ ข้อกาหนดข้ันพ้ืนฐานท่ีจาเป็นในการผลิตและควบคุมเพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตาม และทาให้สามารถผลิตอาหารได้

อยา่ งปลอดภัย โดยเนน้ การป้องกนั และขจดั ความเส่ียงที่อาจจะทาให้อาหารเป็นพิษ เป็นอันตราย หรือเกิดความ ไม่ปลอดภัยแกผ่ บู้ รโิ ภค มาตรฐาน GMP เป็นระบบประกันคณุ ภาพทีม่ กี ารปฏิบตั ิ และพิสูจน์จากกลุ่มนักวิชาการ ด้านอาหารทั่วโลกแล้วว่า สามารถทาให้อาหารเกิดความปลอดภัย เป็นที่เชื่อถือยอมรับจากผู้บริโภค โดยอาศัย หลายปจั จยั ทเ่ี ช่อื มโยงสมั พนั ธ์กัน ดงั น้ันหากยิ่งสามารถปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนดได้ท้ังหมด ก็จะทาให้อาหาร มีคณุ ภาพมาตรฐานและมคี วามปลอดภยั มากที่สุด HACCP คือ ระบบการการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร (Hazard Analysis and Critical Control Point) ระบบมาตรฐาน HACCP เป็นหลกั ประกันความปลอดภยั ให้กบั ผู้บริโภค โดยมีการควบคุมการผลิตในการผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย เน้นที่การป้องกันและขจัดความเสี่ยงที่จะทาให้ อาหารเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค สามารถยกระดับมาตรฐานการผลิตให้กับโรงงาน โดยมีการบริหาร จัดการด้านความปลอดภัยของอาหารอย่างมีระบบ และสามารถเพ่ิมอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ สอดคล้อง กับข้อกาหนดของประเทศคู่ค้า มาตราฐานอาหารฮาลาล สถาบันมาตรฐานอาหารฮาลาลคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย เป็น องค์กรที่ให้การรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลแห่งชาติ หรือผลิตภัณฑ์อาหารที่ผ่านกรรมวิธีในการทา ผสม ปรุง ประกอบ หรือแปรสภาพตามศาสนบัญญตั ิ เพื่อการรับประกนั ใหช้ าวมสุ ลิมสามารถบรโิ ภคได้อยา่ งสนิทใจ

เครือ่ งหมายมาตรฐาน Q สานกั งานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ องคก์ รทใี่ ห้การรบั รองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย และเป็นท่ียอมรับของ นานาประเทศ เป็นสัญลักษณ์ท่ีใช้สาหรับฟาร์มหรือแหล่งปลูกที่ดาเนินการตาม GAP (Good Agriculture Practices หรือการปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดีและเหมาะสม) มีมาตรฐาน COC (Code of Conduct หรือ ข้อกาหนดที่เกียวข้องกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม) และ ระบบประกันคุณภาพ GMP (Good Manufacturing Practice หรอื หลกั เกณฑ์และวิธกี ารทด่ี ีในการผลิตอาหาร) มาตรฐานระบบการจัดการคุณภาพ ISO 9000 มุ่งส่งเสริมให้มีการนาการบริหารโดยการมองและคิดอย่าง เป็นกระบวนการสาหรับการจัดทาระบบบริหารคุณภาพ การนาระบบบริหารคุณภาพไปประยุกต์ใช้ และการ ปรับปรุงประสิทธิผลของระบบบริหารขององค์การ ท้ังนี้ก็เพ่ือให้องค์การสามารถเสริมสร้างความพึงพอใจให้แก่ ลูกค้าของตนดา้ นการตอบสนองต่อความตอ้ งการของลกู คา้ มาตรฐานผลิตตภัณฑ์อินทรีย์ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นองค์กรท่ีให้การรับรอง เคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานระบบการผลิตทางการเกษตรที่คานึงถึงการใช้ปัจจัยการผลิตจากสารอินทรีย์ เพ่ือ รักษาสมดุลของธรรมชาติ รักษาสภาพแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ และหลีกเลี่ยงการใช้สาร สงั เคราะห์ทอ่ี าจก่อให้เกิดมลพิษในสภาพแวดลอ้ ม

มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) หมายถึง ข้อกาหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยชุมชน เป็น ข้อกาหนดท่ีไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน เหมาะกับสภาพการผลิตของชุมชน เคร่ืองหมาย มผช. ให้การรับรองโดย สานกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรม(สมอ.) โดยจะมเี งอ่ื นไขการรับรอง ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และต่างจากการ ให้การรับรองเคร่อื งหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ซึ่งผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับการรับรองคุณภาพ ตาม มาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชน ของสมอ. จะแสดงเครอ่ื งหมายมาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชน (มผช.) เทคโนโลยีเพือ่ การผลติ หมายถึง การนาความรู้ วิทยาการ และประสบการณ์ต่างๆ มาประยุกต์ใช้เพ่ือ ช่วยในการผลิตสินค้าและบริการ รวมทั้งการคิดค้นหาวิธีการนาทรัพยากรมาใช้ในด้านใหม่ๆ เพื่อให้ใช้ทรัพยากร อย่างมปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขนึ้ ประเทศไทยเรามีวตั ถดุ บิ ในการผลิตจานวนมาก เนือ่ งจากประเทศไทยอดุ มสมบรู ณ์ดว้ ยพืชพรรณ ธัญญาหาร ป่าไม้ และแรธ่ าตุ หากเราใชท้ รพั ยากรไมร่ ะมดั ระวงั ทรัพยากรอาจหมดสิน้ หรือเส่ือมค่าได้ ผูผ้ ลิตจงึ จาเปน็ ทจ่ี ะใช้เทคโนโลยีใหไ้ ด้ประโยชน์สงู สุด ตลอดจนการผลติ สนิ ค้าแต่ละชนดิ มีการแข่งขันสงู ผู้ผลิตจาเปน็ ตอ้ ง ใชเ้ ทคโนโลยตี ่างๆ เขา้ มาช่วยในการผลิตเพ่ือใหม้ ีคุณภาพและตรงตามต้องการของผู้บริโภคใหม้ ากทส่ี ุด สาเหตทุ ต่ี อ้ งใชเ้ ทคโนโลยีในการผลิตและบรกิ าร สาเหตทุ ่ีต้องใชเ้ ทคโนโลยีในการผลิต มีดังนี้ 1. เพมิ่ ผลผลติ ให้มีมากข้ึน ลดความสนิ้ เปลืองจากการสูญเสยี วัตถดุ บิ ในกระบวนการผลติ ลง 2. เพ่ือลดตน้ ทนุ การผลติ เพราะการผลติ สินค้าจานวนมากจะทาใหล้ ดตน้ ทนุ การผลิต ผู้ผลิตไดก้ าไร มากข้ึน และอาจทาให้สนิ ค้ามีราคาถูกลง 3. เพ่อื ใหผ้ ลผลิตมีคุณภาพไดม้ าตรฐาน เป็นการเพม่ิ คุณค่าและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ มีแบบให้เลือก หลากหลาย ผลิตภัณฑ์มีคณุ ภาพขึ้น 4. เพอ่ื ลดแรงงานหรอื กาลงั คนทางานไดน้ ้อยลง การใชเ้ ทคโนโลยีในการผลิตและบริการ การใช้เทคโนโลยใี นการผลิตและบรกิ ารได้แก่ 1. การใช้เครื่องจักรท่ที ันสมยั ช่วยในการผลิตสินคา้ ทาใหผ้ ลติ สนิ ค้าและบริการจานวนมากขนึ้ ในเวลา รวดเร็ว มีปริมาณเพยี งพอตอ่ การบรโิ ภค และลดต้นทนุ การผลิต เพราะเทคโนโลยชี ว่ ยลดแรงงานหรือกาลังคน

และลดเวลาการผลติ แต่ได้ปรมิ าณสินคา้ และบรกิ ารมาก 2. การใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ยในการออกแบบสนิ ค้า ช่วยใหม้ กี ารคิดค้นหรอื ประดษิ ฐ์รปู แบบของสินคา้ ทา ให้ได้สินคา้ และบริการท่ีมรี ปู แบบใหม่ๆ หลากหลาย เพื่อให้ผู้บรโิ ภคมีโอกาสเลอื กซอ้ื ได้ตามความต้องการและพึง พอใจมากท่ีสดุ 3. การใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการโฆษณาสนิ คา้ และการให้บริการ เชน่ การใช้คอมพวิ เตอรเ์ ข้ามาช่วยใน การขายสินคา้ และสั่งซ้ือสินค้าตา่ งๆ โดยผ่านทางเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต การโฆษณาทางวิทยุ โทรทศั น์ ส่ิงพิมพ์ ต่างๆ ทาใหผ้ ูบ้ ริโภคสามารถศึกษารายละเอยี ดของสินคา้ ไดม้ ากขึ้นหรือสามารถส่งั ซื้อสนิ ค้าไดส้ ะดวกรวดเรว็ 4. การใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ยในการจดั การ เพื่อใหเ้ กิดการทางานท่ีมีประสิทธภิ าพ เป็นระบบ รวดเร็ว เชน่ การนาคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในสานักงานเพอ่ื จัดเกบ็ เอกสารหรอื ค้นหาข้อมลู เป็นต้น 5. การใช้เทคโนโลยชี ว่ ยในการขนสง่ เพื่อให้กระบวนการขนสง่ วัตถุดบิ ในการผลติ รวดเรว็ ขึน้ หรือขนส่ง สินค้าและบรกิ ารไปถึงผ้บู ริโภคได้สะดวกรวดเร็วข้นึ ประโยชนจ์ ากการนาเทคโนโลยมี าใช้เพื่อการเพ่ิมผลผลติ ประโยชนจ์ ากการนาเทคโนโลยีมาใชเ้ พื่อการเพ่มิ ผลผลิต มดี ังน้ี 1. การนาเทคโนโลยมี าใชเ้ พ่ือการผลติ สินค้าและบริการชว่ ยให้สินค้าและบริการมคี ุณภาพไดม้ าตรฐาน ตามแบบสากล กล่าวคือ มีการกาหนดระดับคุณภาพ จดั ทามาตรฐาน ควบคมุ กระบวนการผลิต ตั้งแต่การ ตรวจสอบคณุ ภาพ การควบคมุ คุณภาพ และการประกนั คุณภาพการใช้งานของสนิ ค้า 2. การนาเทคโนโลยมี าใช้เพ่ือการผลติ สินค้าและบริการชว่ ยใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในกระบวนการ ทางาน ทาให้พนกั งานไดผ้ ลงานท่ีมคี ุณภาพ มปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานท่สี ูง 3. การนาเทคโนโลยีมาใชเ้ พ่ือการผลิตสนิ ค้าและบรกิ ารชว่ ยให้หนว่ ยธรุ กจิ หรอื รฐั บาลมีผลกาไรเพ่ิมขน้ึ จากการประกอบการ ทาใหภ้ าคการผลติ เกิดความมน่ั คง ทั้งในระดบั จลุ ภาคและมหภาค กล่าวคอื ถา้ หนว่ ย ธุรกิจมีผลกาไรเพมิ่ ขนึ้ เกดิ ความมน่ั คง สง่ ผลให้พนกั งานมรี ายได้เพิ่มข้ึน เกดิ ความมน่ั คงในการทางาน อตั ราการ ว่างงานลดลง รฐั บาลมีรายได้จากการเก็บภาษอี ากรเพมิ่ ขนึ้ ผลกระทบที่เกดิ จากการใชเ้ ทคโนโลยกี ารผลิตและบริการ ผลกระทบทีเ่ กิดจากการใชเ้ ทคโนโลยี มีดงั นี้ 1. เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม กล่าวคอื การขยายตวั อย่างรวดเรว็ ของกาลงั การผลติ เพื่อสนองความ ต้องการของผ้บู ริโภค ทาใหเ้ กิดกากหรือของเสียจากการผลติ พร้อม ๆ กับการลดลงของ ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งผลตอ่ ปรมิ าณน้าฝนท่ีตกในเขตต่างๆ การเผาไหม้ของเช้อื เพลงิ ออกมาเปน็ คาร์บอนไดออกไซด์ เกิดปัญหาภาวะเรอื นกระจก กระทบต่อระบบนเิ วศของมนุษย์ หรือปญั หาการกาจัดกากสาร นวิ เคลียร์ ปัญหาการผลติ จากโรงงานอุตสาหกรรมท่ปี ล่อยนา้ ทง้ิ หรอื มลพษิ ทางอากาศของซลั เฟอร์ไดออกไซด์ ซึง่ ละลายปนมากับฝน กลายเปน็ ฝนกรด ส่งผลเสียหายต่อกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของมนษุ ย์ 2. เกดิ ผลกระทบต่อดลุ การคา้ กลา่ วคือ ในยคุ ของการแข่งขนั เพื่อแย่งชงิ ตลาด ผู้ผลิตแตล่ ะรายต่างเร่ง

เพิ่มผลผลติ โดยการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ประเทศกาลังพัฒนาต้องพึ่งพา เทคโนโลยี หรอื เครอ่ื งจกั รกล เครือ่ งมือและอุปกรณ์การผลิตจากประเทศท่ีพฒั นาแลว้ ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อการขาดดลุ การค้า 3. เกดิ ผลกระทบต่อการบรโิ ภคนยิ ม กลา่ วคือ การนาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการผลติ ผบู้ ริโภคจะไดร้ บั ประโยชน์ในดา้ นสนิ คา้ และบรกิ ารมคี ุณภาพสงู ราคาถกู มสี นิ คา้ ให้เลือกมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกนั จะเกิดผล กระทบต่อการใช้จา่ ยที่ฟุม่ เฟือยของผ้บู ริโภค ทีใ่ ช้สอยเกินพอดี เพ่ือให้ทนั ต่อรุ่นหรือแบบท่เี ปลย่ี นแปลงไป เกดิ ความไมร่ ู้จักพอของผบู้ รโิ ภค มกี ารบรโิ ภคนิยมมากขนึ้ ปจั จยั การผลิตสินค้าและบริการ ปัจจัยการผลิต หรอื ทรัพยากรในการผลิต หรอื ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง สิง่ จาเปน็ ขั้นพนื้ ฐานท่ี นามาใชใ้ นการผลิตสินค้าและบริการตา่ ง ๆ ปัจจยั การผลติ มี ๔ ประเภท ดังน้ี ๑. ทด่ี นิ ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง พืน้ ดินและหมายรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ตดิ อยู่กับพนื้ ดิน บริเวณนน้ั เช่น ป่าไม้ แหลง่ น้า แร่ธาตุ ๒. แรงงาน หมายถึง กาลังกายและกาลังความคิดสติปญั ญาของคนท่ีนามาใช้ในการผลิต ๓. ทุน เปน็ ปัจจยั การผลติ ท่สี าคญั ประการหน่ึง หมายถึง เงินทุนทนี่ าไปใชซ้ ื้อวสั ดอุ ปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครือ่ งจักรต่าง ๆ รวมถึงสงิ่ ที่สรา้ งขน้ึ มาเพ่ือใช้ในการผลิตสนิ ค้าและบริการ เช่น โรงงาน โกดังเก็บสินค้า ๔. การประกอบการ หมายถึง การบรหิ ารจัดการเพื่อนาทดี่ นิ แรงงาน และทนุ มาผ่านกระบวนการผลติ ทาใหเ้ กิดเป็นสินค้าและบรกิ ารต่าง ๆ ขึน้ มา ในการทผี่ ้ผู ลิตจะผลติ สินคา้ หรอื บริการประเภทใด ปจั จยั ท่ีมผี ลต่อการผลติ และการบริการ ไดแ้ ก่ ความต้องการ ของผู้บริโภค ซง่ึ ผ้ผู ลติ จะต้องตอบปญั หาเก่ียวกับความต้องการของผู้บรโิ ภคใหไ้ ดว้ า่ ๑. จะนาทรพั ยากรทม่ี ีอยอู่ ย่างจากดั มาผลิตเปน็ สนิ ค้าและบริการอะไร ๒. จะผลติ สินคา้ และบริการน้นั อยา่ งไร ๓. จะจดั สรรหรอื ขายสินคา้ และบริการใหแ้ กใ่ คร ในการทางานท้ังการผลิตและการให้บรกิ าร ผผู้ ลติ จะประสบผลสาเร็จในการทางานได้ ต้องคานึงถึงปัจจยั ตา่ ง ๆ ดังน้ี คณุ ภาพของสนิ คา้ และบริการ -สนิ คา้ และบรกิ ารท่ีผลิตข้นึ ต้องมีคณุ ภาพดี ไมม่ ีตาหนิ ราคาท่เี หมาะสม -ควรจาหนา่ ยสนิ คา้ และบริการทเ่ี หมาะสมกับคุณภาพของสินค้า ไม่ขายแพงจนเกนิ ไป คุณธรรม -ผผู้ ลติ และผูใ้ ห้บรกิ ารควรมคี วามซ่อื สัตย์ต่ออาชีพของตนและต่อผ้บู รโิ ภค ไมน่ าสินค้ามตี าหนิ หรือเน่าเสยี มาขาย ความต้องการและความพึงพอใจของผูบ้ ริโภค -ผผู้ ลติ หรอื ผู้ใหบ้ ริการต้องคานึงถงึ ความตอ้ งการของลูกคา้

เป็นสาคัญ รู้จกั ผลติ สนิ ค้าทต่ี รงกบั ความต้องการเพื่อสนองตอบความพงึ พอใจ เทคโนโลยีการผลิต -รูจ้ กั นาวิทยาการและเทคโนโลยที ีท่ นั สมยั มาใช้เพื่อทาให้ต้นทนุ การผลติ ลดลง สามารถผลิตสินค้า และบริการไดป้ ริมาณสูงและมีคณุ ภาพดี ต้นทุนการผลิต -ใช้ทรพั ยากรการผลิตส้ินเปลืองนอ้ ยท่สี ดุ หรือคา่ ใช้จ่ายต่าสุด อ่ืน ๆ ในปจั จบุ ันเราจะเหน็ สินค้าและบรกิ ารมรี ูปแบบต่าง ๆ เกิดขน้ึ มากมาย เนอื่ งจากผู้ประกอบการส่วนใหญ่ นาเทคโนโลยีเขา้ มาช่วยในการผลิตสนิ ค้าและบริการ เพือ่ ใหไ้ ด้สนิ คา้ ที่มปี ริมาณสงู มคี ณุ ภาพดี มรี ปู แบบต่าง ๆ ลดแรงงานคน เพิ่มผลผลิตได้เร็วข้ึนสง่ ผลใหต้ ้นทนุ การผลติ ลดลง มกี าไรมากขึน้ การใชเ้ ทคโนโลยีในการผลติ เชน่ การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการควบคุมการผลิตการใช้เครอื่ งจกั รแทน แรงงานคน การนาวิทยาการใหม่ ๆ มาช่วยในการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร เปน็ ต้น การใช้เทคโนโลยีในการบริหาร เชน่ การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการจัดเกบ็ ข้อมลู ลูกค้า การใช้โทรศัพทแ์ ละ เครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ในการติดตอ่ สอื่ สาร เป็นตน้ การแข่งขันในการผลิต หมายถึง การทาใหต้ น้ ทุนการผลิตสินค้าต่าลง สามารถขายสนิ ค้าไดใ้ นราคาถูก เพือ่ แขง่ ขนั ซึ่งกนั และกัน การใช้เทคโนโลยเี พ่อื การแข่งขันของผู้ผลติ มดี ังนี้ ๑. การใชเ้ ทคโนโลยีชว่ ยผลิตสินคา้ และบริการที่มีรูปแบบใหม่ และใหป้ ระโยชน์ กบั ผูบ้ ริโภคมากข้ึน ๒. การใชเ้ ครอื่ งมือและเครื่องจกั รที่ทนั สมยั ชว่ ยในการผลติ สนิ ค้าและการบรกิ ารเพื่อให้เกิดการทางานที่มี ประสทิ ธภิ าพ ๓. การใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ยในการโฆษณาสินค้าและบริการ การส่งเสรมิ การขายและการตลาด ๔. การใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการขนส่ง เพื่อให้ผ้บู รโิ ภคไดร้ บั สินค้าและบริการอย่างสะดวกและรวดเรว็ การแข่งขนั ในการผลติ และการบริการ ความหมายและความสาคญั ของคุณภาพ ความหมายของคุณภาพ ถูกกาหนดข้ึนตามการใช้งานหรือตามความคาดหวังของผูก้ าหนด เช่น มีความเหมาะสมกับการใชง้ าน มี ความทนทาน ใหผ้ ลตอบแทนสงู สดุ บริการดแี ละประทบั ใจ หรือเปน็ ไปตามมาตรฐานที่ต้ังใจไว้ เปน็ ตน้ คณุ ภาพแบง่ เป็น 3 ลักษณะดังนี้ 1. คุณภาพตามหน้าที่ หมายถึง ประสทิ ธิภาพการทางาน ความเหมาะสมในการใช้งาน ความทนทาน เชน่ พัดลมเครื่องนี้มีมอเตอรท์ ีส่ ามารถใชไ้ ด้อย่างต่อเน่ืองถึง 24 ชวั่ โมง

2. คณุ ภาพตามลักษณะภายนอก หมายถงึ รูปรา่ งสวยงาม สีสนั สดใส เรยี บร้อย เหมาะกบั การใช้งาน โครงสรา้ งแข็งแรง ผลติ ภณั ฑ์ส่วนใหญม่ กั เน้นคุณภาพภายนอก โดยเนน่ ทส่ี ีสันสดใส หรอื รปู ลกั ษณใ์ ห้โดดเดน่ เพอ่ื ดงึ ดุดความสดใสของผู้ซื้อ 3. คณุ ภาพในการบรกิ าร หมายถึง การสร้างความประทับใจให้กับลูกคา้ ท่มี าใช้บริการหรือมาซอ้ื สนิ ค้า คุณภาพ หมายถึง คุณสมบตั ิและลักษณะโดยรวมของผลติ ภณั ฑ์หรือบริการที่แสดงให้เห็นว่ามี ความสามารถท่จี ะกอ่ ใหเ้ กิดความพงึ พอใจได้ตรงตามต้องการทีไ่ ด้ระบหุ รอื แสดงเป็นนยั ไว้ ในอดตี คณุ ภาพมักจะถูกกาหนดขึน้ จากความตอ้ งการของผู้ผลติ แต่ปัจจุบนั สภาพการแข่งขันในตลาด มีมาก หากคณุ ภาพไม่ตรงกบั ความต้องการของผูซ้ ้อื หรือผใู้ หบ้ รกิ าร การผลิตสินค้าและบริการก็อาจจะต้องล้มเลิก กิจการไป ดังที่ได้เกินข้ึนมาในปัจจบุ ัน สินค้าบางประเภทแข่งขันกันที่คณุ ภาพ บางประเภทแข่งขนั กนั ทีร่ าคา แตบ่ างประเภทแข่งขนั กันทคี่ วาม แปลกใหม่ ดงั นนั้ การผลติ หรอื ใหบ้ ริการใดๆ จะต้องมกี ารศึกษาสภาพตลาดอย่างรอบคอบ เพ่ือกาหนดคุณภาพ ขัน้ ตอนการกาหนดคุณภาพ การกาหนดคณุ ภาพมีความสาคญั อยา่ งยง่ิ เพราะการกาหนดคุณภาพไมไ่ ด้กาหนดจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรอื กลุ่มคน หรือสถาบนั เท่านนั้ แตก่ ารกาหนดคุณภาพต้องคานึงถงึ คนหลายกลุ่มหลายสถาบัน การกาหนดคุณภาพสนิ คน้ และบริการ มีข้ันตอนดาเนินการ 3 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ 1. การศกึ ษาความต้องการของผู้ใช้สินคา้ และบริการ อย่างกวา้ งขวาง และครอบคลมุ ผ้ซู ้อื หรอื ผูใ้ ชบ้ ริการท่ี มคี วามหลากหลาย 2. การออกแบบผลติ ภัณฑห์ รือพัฒนาผลติ ภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการที่ศึกษามาอย่างจริงจัง 3. จดั ระบบการผลติ และควบคุมระบบการผลิตให้ได้ผลผลิตท่มี คี ุณภาพ การศึกษาความตอ้ งการคุณภาพสนิ ค้าและบรกิ าร เปน็ เรื่องสาคญั และเป็นเรื่องแรกของการวางแผน ดาเนินธรุ กจิ อุตสาหกรรม หรือกจิ การใดๆ วธิ ีการศึกษาขึ้นอยกู่ ับเป้าหมายคือ ลูกค้า ลูกคา้ ของเรา คือ กล่มุ ใด เช่น วัยใด เพศใด ระดบั การศึกษา อาชพี เปน็ ต้น ตลาด หรือคู่แขง่ ทางการค้าก็เป็นสว่ นสาคัญอยา่ งย่ิงทีต่ อ้ งคานงึ ถงึ เพราะหากคุณภาพของสินคน้ หรือ บรกิ ารของเราตา่ กวา่ คแู่ ขง่ โอกาสความสาเรจ็ ของเราก็ย่อมมนี อ้ ยลง การออกแบบและพฒั นาผลิตภัณฑห์ รอื บริการ เป็นเรือ่ งท่ผี ู้ประกอบการมักจะละเลยเพราะมั่นใจใน คุณภาพสินคน้ เดนิ หรอื คิดว่าเป็นเรื่องยาก ต้องใชน้ ักวิชาการช้นั สูงหรือผู้เช่ยี วชาญทาให้เกิดต้นทุนทสี่ งู ข้นึ การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ใหมย่ ังต้องปรับระบบการผลติ ด้วย ทาให้ผปู้ ระกอบการรสู้ กึ ว่ายุง่ ยาก แต่การออกแบบและ พัฒนาผลิตภัณฑ์หรอื บริการ เป็นเรือ่ งจาเปน็ เพราะถา้ หากเราไม่พัฒนา การพัฒนาผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารไมใ่ ช่

เรื่องยงุ่ ยาก แต่อย่างใด เพียงแต่เรานาผลการศึกษาความต้องการของผ้ซู ้ือ ผู้ใช้ มาเปน็ หลกั การ แลว้ หาแนวทาง ตอบสนองความต้องการ ใช้ความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ผลงานใหม่ ก็จะเกิดขนึ้ เช่นการปรับปรงุ เครือ่ งปรับอากาศ ให้สามารถกรอกฝุ่นละอองได้ ต่อมาก็พัฒนาสกู่ ารเป็นเครื่องปรบั อากาศทีมีการฟอกอากาศดว้ ยประจุไฟฟา้ เปน็ ตน้ ระบบการผลติ และการควบคมุ ระบบการผลติ เพ่ือให้ได้สินค้าหรือบริการตรงตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ องคป์ ระกอบทต่ี ้องวางแผนดาเนินการอย่างเป็นระบบและสอดคลอ้ งกันดงั น้ี 1. วัตถุดิบท่ีใช้ผลิต หรือใชบ้ รกิ าร ควรมคี ณุ ภาพสงู แต่ราคาตา่ 2. กระบวนการผลิตมีความพร้อมท้งั ด้านบคุ ลกร เครื่องมือเคร่ืองใช้หรอื เคร่อื งจักร และโดรงสรา้ งพ้นื ฐาน 3. ผลผลิต/ผลติ ภณั ฑ์ / ผลงานการบริการ จะต้องผา่ นการตรวจสอบและประเมนิ อย่างเทยี่ งตรง การบริหาร คุณภาพในองคก์ ร จึงถูกนามาใชเ้ พื่อใหร้ ะบบการผลติ และการควบคุมระบบมีประสทิ ธภิ าพสงู ตามความต้องการ ของตลาด ผซู้ ื้อ หรือผใู้ ช้ ความสาคญั ของคุณภาพ คุณภาพ เปน็ ความต้องการของผซู้ ้ือและผใู้ หบ้ ริการเท่านัน้ หรอื คุณภาพมีความสาคัญทั้งต่อบคุ ล องค์การ และประเทศ 1. ความสาคัญของคุณภาพตอ่ บุคคล บคุ คลคือ ผ้ผู ลิตหรอื ผ้บู รกิ ารคุณภาพจึงเกิดข้นึ ทร่ี ะดับบคุ คลก่อน หากบุคคลใดสามารถผลติ หรือให้บรกิ ารที่มี คุณภาพตรงกบั ความตอ้ งการหรือตรงกับขอ้ กาหนด บุคคลนั้นยอ่ มไดช้ ือ่ ว่า \"บคุ คลคุณภาพ\" เราเห็นตัวอยา่ ง บคุ คลคุณภาพมากมาย ที่ไดร้ ับการยกย่อง เน่ืองจากสามารถสรา้ งผลงานคณุ ภาพ ดังนนั้ คณุ ภาพจงึ มคี วามสาคญั อย่างย่งิ ต่อบุคคลทุกคน ทกุ คนจึงควรมงุ่ มัน่ สร้างผลงานคุณภาพ 2. ความสาคัญของคุณภาพต่อองค์กร องค์กรทุกองคก์ รมีเปา้ หมายสรา้ งสรรค์ผลงานคณุ ภาพใหเ้ ป็นทตี่ ้องการของลกู คา้ หุ้นส่วน หรือองค์กรทีเ่ ก่ียวข้อง เพื่อใหบ้ รรลุเปา้ หมาย คือผลกาไรสูงสุด แตป่ จั จุบันทกุ องค์กรยังต้องคานงึ ระบบการแข่งขันในตลาดการคา้ เมื่อ ประเทศไทยเข้ารว่ มเปน็ สมาชิกองคก์ ารตลาดการค้าเสรี (World Trade Organization :WTO) ทาให้ประเทศ ไทยเขา้ สรู่ ะบบการแขง่ ขนั ทางดา้ นการค้ามากข้ึน ทั้งภายในประเทศและการคา้ ระหว่างโลก ในระบบการค้าเสรเี กิดระบบการแขง่ ขนั ดว้ ยการคา้ แทนกาแพงภาษีในอดตี ได้แก่ ข้อกาหนดมาตรฐานสินค้า มาตรฐาน ระบบบรหิ าร มาตรฐานสิ่งแวดล้อม และมาตรฐานดา้ นแรงงานและความปลอดภยั ดังนั้นคณุ ภาพของ องค์กรจงึ เป็นคุณภาพโดยรวมต้งั แต่ผลิตภณั ฑ์จนถึงระบบบริหารขององค์กร คุณภาพจงึ มีความสาคัญอย่างยิง่ ตอ่ องค์กร เพราะทาให้องค์กรมคี วามมั่นคงในการดาเนนิ ธรุ กจิ ทัง้ ในปจั จุบันและ ในอนาคต 3. ความสาคัญของคุณภาพต่อประเทศ คุณภาพของคน คณุ ภาพของสินคา้ และคุณภาพของการบรกิ าร คอื ภาพพจน์ และความเช่ือมนั่ ทน่ี านาประเทศ

ใหก้ ารยอมรบั และนับถอื เชน่ ข้าวหอมมะลิ เสอื้ ผ้าสาเรจ็ รูป เครื่องหนงั เปน็ ต้น คุณภาพ ต้นทุน การสง่ มอบ คณุ ภาพ คือ ความตอ้ งการ ข้อกาหนด ความคาดหวัง หรอื สงิ่ ท่ีลกู คา้ ต้องการจากผลิตภัณฑ์หรืองาน บริการ ต้นทนุ คือ ปจั จัยการผลติ ไดแ้ ก่ แรงงาน (Man) เงินทนุ (Money) วตั ถดุ ิบ(Material) เครื่องจกั ร อปุ กรณ์ (Machine) และการบรหิ ารจัดการ (Management) การส่งมอบ คือ กระบวนการนาส่งผลติ ภณั ฑ์ / งานบรกิ ารถึงมือลูกค้า สรา้ งความพงึ พอใจใหก้ ับลูกค้า ดว้ ยผลิตภณั ฑห์ รืองานบรกิ ารทีม่ คี ณุ ภาพตรงกบั ความต้องการของลูกค้า การส่งมอบสนิ คน้ หรือบรกิ ารท่ีประทับใจลูกค้า เกดิ จากการบริการท่ดี ี คุณภาพดี และราคาถูก ขณะเดยี วกันผ้ขู ายก็ตอ้ งการกาไรสงู สุด คุณภาพดี และบริการดี คือ ความต้องการของผู้ซ้อื และผู้ขายจะเกิด ความสัมพัณธท์ ดี่ ี ตน้ ทนุ การผลิตตา่ แต่การลดต้นทุนกต็ ้องคานงึ ถึงคุณภาพและบริการด้วย เพราะถ้าสินคา้ ราคา ถกู แต่คุณภาพไม่ดี ค้นซื้อก็ไม่ตอ้ งการ หรือสินค้ามีคุณภาพมากแตร่ าคาแพง ผูซ้ ้อื ก็ไม่ต้องการ เปน็ ตน้ ดังน้ัน ระบบควมคุมคุณภาพจึงเกดิ ข้ึน การควบคมุ คณุ ภาพ การควบคมุ คุณภาพคือ เทคนิคในเชงิ ปฎบิ ัติการและกจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วเนื่องอน่ื ๆ ท่ีจัดทาหรือนามาใช้เพ่ือให้ บรรลุข้อกาหนดดา้ นคุณภาพ ซง่ึ อาจจะเป็นผลิตภณั ฑ์หรือการบรกิ ารก็ได้ QC : Quality Coutrol หรอื การควบคุมคุณภาพในภาคการผลิต (โรงงานอตุ สาหกรรม) จะเน้น กระบวนการตรวจสอบและคัดแยกของดีกับของเสยี ออกจากกัน เพ่ือให้เกดิ หลักประกันว่าสินค้นผา่ นการ ตรวจสอบแล้วมีคณุ ภาพตามข้อกาหนด การควบคมุ คณุ ภาพในที่น้ี หมายถงึ การควบคุมกระบวนการผลิตและการใหบ้ ริการ เพ่ือให้เกดิ ผลผลติ / งาน บริการทีม่ ีคุณภาพ ดังแผนภูมิ Input ----> Process ----> Output วัตถุดิบ กระบวนการ ผลผลิต การควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลติ แบ่งออกเปน็ 3 ลักษณะ 1. คณุ ภาพการทางาน หรอื ประสิทธิภาพของคนงาน 2. คณุ ภาพของเครื่องจักร อุปกรณ์ หรือเทคโนโลยี 3. คณุ ภาพของระบบบริหารงาน การควบคมุ คณุ ภาพมีเปา้ หมายสาคัญ 2 ประการได้แก่ 1. ลดการสูญเสียวัตถุดิบ / ผลผลิต

2. ลดการสญู เสียเวลาการทางาน เมอื่ เราสามารถลดการสญู เสยี วัตถุดบิ และผลผลิต ลดเวลาการทางาน เรากส็ ามารถลดต้นทนุ ได้ ขณะเดียวกันเรา ก็ได้ผลผลติ ทีม่ ีคณุ ภาพ วิวัฒนาการและความสาคัญของการบริหารการผลิต ววิ ฒั นาการและความสาคญั ของการบริหารการผลติ (historical backgrounds and significance of production management) นบั ตง้ั แต่มนุษยร์ จู้ ักใช้เครือ่ งมือในการหาอาหาร สรา้ งท่อี ยู่อาศยั ตลอดท้งั การนาเอาหนังสตั วแ์ ละขน สตั วม์ าเปน็ เครอ่ื งนุ่งห่ม รู้จกั ใช้ดินเหนียวในการทาภาชนะต่าง ๆ และมีการอยรู่ ่วมกันเป็นกลุม่ หรอื เปน็ ชุมชน มนษุ ย์กร็ จู้ ักช่วยเหลอื ซึง่ กันและกันในการกระทากจิ กรรมต่าง ๆ เพือ่ ความอยรู่ อด การพัฒนาของมนุษย์ในชว่ ง เร่มิ ต้นไม่ได้หยดุ อยกู่ บั ท่ี มีการคิดคน้ หาเคร่ืองมอื มาล่าสตั วพ์ ฒั นาเรือ่ ยมาจากการใช้ไม้มา ค้นพบแรโ่ ลหะรวมทั้ง พัฒนาฝีมอื ในการสรา้ งให้มคี วามเหมาะสม สะดวก ออกแบบให้มคี วามสวยงามความชานาญของมนษุ ย์ในยคุ แรก ไดท้ วีเพิ่มขึน้ มนุษย์ร้จู ักใชไ้ ฟในการเผางานเครื่องปั้นดนิ เผา และรู้จักวิธกี ารควบคุมความร้อนในการเผาช้ินงาน ตลอดจนมคี วามร้ใู นการเคลอื บ ต่อมาจานวนประชากรได้เพม่ิ มากยงิ่ ขึ้น ความจาเปน็ ในดา้ นอาหาร ทอ่ี ยู่อาศยั หรือเครอ่ื งอปุ โภคมากขนึ้ ไมพ่ อกับความต้องการจงึ เกดิ การเปลย่ี นแปลงครัง้ สาคัญในด้านการผลิตขึ้น ในประเทศอังกฤษ เม่ือเจมส์วัตต์ (James Watt) ประดษิ ฐ์เครื่องจักรไอน้าได้สาเรจ็ เคร่อื งจักรไอน้าจงึ ได้ถูกนามาใชแ้ ทนแรงงานคน และพลังงาน ธรรมชาติ การเปล่ียนแปลงครั้งนนั้ เปน็ การเปล่ียนแปลงการผลติ สนิ คา้ จากการใชแ้ รงงานจากมนษุ ย์ แรงงาน จากสตั วม์ าเป็นการใชเ้ ครือ่ งจักรกลแทน เราเรยี กยคุ นั้นวา่ “ ยคุ การปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม ” (The Industrial Revolution) ลกั ษณะการเปลีย่ นแปลงมี 3 ลักษณะ ดงั น้ี (สทุ ธิ ประจงศกั ด์ิ, 2524 หน้า 5 – 9) 1. การผลิตสินค้าโดยใช้เคร่อื งจักรกล 2. ใชเ้ ครอ่ื งยนตเ์ พ่ือให้เคร่ืองจักรทางานและผลติ ช้นิ งาน 3. ผลิตในโรงงานแทนการผลิตในครอบครวั หลงั จากมีการปฏวิ ตั ิทางอุตสาหกรรม การจดั การและการบรหิ ารงานด้านการผลติ อุตสาหกรรมกไ็ ด้เริ่ม เข้ามามบี ทบาทสาคญั มากยิง่ ขน้ึ ในสมยั แรกน้นั ผู้บริหารมีความคดิ เหน็ ทานองวา่ มนุษย์นน้ั มีนิสยั เกยี จครา้ นการ ทางานจะสาเร็จลงได้ จะต้องใชว้ ิธบี งั คบั (วิชัย แหวนเพชร, 2536 หน้า 3) ในสมัยการปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม (Industrial revolution) ในอเมริกา นักบรหิ ารอุตสาหกรรมท่ีมีชื่อเสยี งหลายท่าน เช่น เฟดเดริก ดับบลิ เทเลอร์ (Frederick W.Taylor) แฟรงค์ บ,ี กิลเลริต (Frank B.Gilberth) เฮอรล์ งิ ตัน อเี มอร์สนั (Harrington Emerson) เฮนรสี ์ แอลล์ แกนท์ (Henry L.Gantt) เปน็ ตน้ จะใช้หลักการตรงข้ามกบั แนวคิดเดมิ คือจะจงู ใจ คนทางานใหร้ ักงานมากกวา่ การบังคับให้ทางาน การเลื่อนตาแหนง่ หนา้ ที่ ข้ันเงินเดอื น ให้โบนสั จดั สวสั ดกิ ารให้ ความช่วยเหลทอจะชว่ ยกระตุ้นการทางานให้มปี ระสทิ ธภิ าพได้ ส่วนการลงโทษก็จะเลอื กใชว้ ธิ วี ่ากลา่ วตักเตอื น สั่งพักงาน ให้ออกโทษสถานหนักก็คือ การไลอ่ อกจาก งาน ต่อมาในสมยั หลัง ๆ ววิ ัฒนาการดา้ นความคดิ ของมนุษยเ์ จรญิ ขน้ึ ผูบ้ ริหารอนื่ ๆ เช่น เฮนร่ี ฟาโย (Henri

Fayol) ยอชล์ อ.ี เมย์โย (Jeorge E.Mayo) และดักลาสแมคเกรเกอร์ (Douglas McGregor) มีความคิดเหน็ ตรงกันว่า งานจะสาเรจ็ ลงได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพต้องขึน้ อยูก่ ับความร่วมมือของทุกฝ่าย ดงั นั้น จึงตอ้ งมีการจดั องค์การเพ่ือบรหิ ารงานต่าง ๆ โดยมุง่ หลักการมนุษย์สัมพันธ์ระหวา่ งฝา่ ยบริหารและฝา่ ยปฏบิ ตั กิ าร ให้มากขน้ึ จงึ จะเกิดผลดใี นการทางานให้ได้ผลอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เพื่อให้เขา้ ใจหลักการและแนวคดิ ในการบรหิ ารแต่ละยุค ขอให้ศกึ ษาแนวคดิ ของนักบริหาร

คะแนน ใบงานที่ 1 หน่วยเรยี นรู้ท่ี ๓ เร่ือง การจัดการผลผลติ สินคา้ เกษตร ช่ือ……………………………………………สกุล……………………………..…………..ระดับชน้ั …..….….ห้อง…….…เลขท่ี……… คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ๑. มาตรฐานพน้ื ฐาน หมายถึง ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม (มอก) หมายถงึ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๓. เครอื่ งหมายมาตรฐาน Q คือ …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. มาตรฐานผลิตภณั ฑ์อินทรยี ์ คือ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. เทคโนโลยีเพอื่ การผลติ หมายถึง ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๖. ประโยชน์จากการนาเทคโนโลยีมาใชเ้ พอ่ื การเพิ่มผลผลิต มี ๓ ขอ้ …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. ปจั จยั การผลติ มี ๔ ประเภท คือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. คณุ ภาพ หมายถึง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙. กาหนดคุณภาพสนิ ค้าและบรกิ าร มขี นั้ ตอนดาเนินการ ๓ ขนั้ ตอน ได้แก่ …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐. คุณภาพ ตน้ ทุน การส่งมอบ คอื …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบบันทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ที่……………… เรือ่ ง……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่……… เรอ่ื ง……………………………………………………………….. รายวชิ า……………………………….. ชัน้ …………………………. รหสั วชิ า……………………………………. ครูผูส้ อน นายนา่ นมงคล อินด้วง ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย เวลาท่ใี ช้………ช่ัวโมง ************************* ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้อคน้ พบระหวา่ ง ปญั หาท่ีพบ แนวทางแก้ไข ที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผู้เรยี น ลงชอื่ ..................................................ผสู้ อน (นายนา่ นมงคล อินดว้ ง) ตาแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

แบบบนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ท…ี่ …………… เร่ือง……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ชน้ั …………………………. รหสั วิชา……………………………………. ครูผ้สู อน นายน่านมงคล อินด้วง ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย เวลาทใี่ ช้………ช่ัวโมง ***************************** เมอื่ เสร็จส้ินกจิ กรรมประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดังนี้ (ใหท้ าเครอื่ งหมาย ตามผลการประเมิน) ที่ ประเดน็ ท่ปี ระเมิน ผลการประเมนิ 1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ 2 ความเหมาะสมของเนอื้ หา 3 ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 ความเหมาะสมของสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ท่ีใช้ 5 พฤติกรรม/การมสี ่วนร่วมของนกั เรียน การประเมนิ ดา้ นความรู้ : Knowledge ผลการประเมนิ จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรยี น การประเมนิ การประเมนิ ผล ประเมินผล โดยใช้ คะแนนเต็ม/ คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ ดา้ นต่างๆ เกณฑก์ ารประเมนิ เฉลยี่ ด้านความรู้ : กอ่ นเรียน Knowledge หลงั เรยี น ด้านทกั ษะกระบวนการ : Process การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ : Attitude จานวน ……………… คะแนนเต็ม คณุ ลักษณะ ประเมนิ ผล ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ระดบั ดีขน้ึ ไป อนั พงึ ประสงค์ โดยใช้ ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน จานวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ ดา้ นซ่อื สตั ย์ สุจรติ ดา้ นมีวนิ ัย ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ดา้ นมุ่งม่นั ในการทางาน การประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน จานวน ……………… คะแนนเตม็

ผลการประเมิน ผลการประเมิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ปรบั ปรงุ สมรรถนะสาคัญ ประเมนิ ผล ระดับดีขน้ึ ไป โดยใช้ จานวน คดิ เปน็ ร้อยละ (คน) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ปัญหาอุปสรรค ท่คี ้นพบระหวา่ งทมี่ กี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้ ด้านเนอ้ื หา : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………..………………….. ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………….. ด้านส่ือประกอบการเรยี นรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..….. ด้านพฤติกรรม/การมีสว่ นร่วมของนกั เรยี น : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..…..

แนวทางแกไ้ ข จดั กิจกรรมเสริมทกั ษะหรือซ่อมเสริม วธิ ดี าเนินกจิ กรรม รายการ ลงช่อื ..................................................ผสู้ อน (นายน่านมงคล อนิ ด้วง) ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย

ผังมโนทศั น์ รายวชิ า การงานอาชีพ รหสั วิชา ง33101 ชัน้ . ม.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เรอ่ื ง การจัดการเกษตรแบบประหยัด อนรุ กั ษพ์ ลังงานและสง่ิ แวดลอ้ ม จานวน ๔ ช่ัวโมง : ๒0 คะแนน ชอ่ื เร่อื ง การจัดการเกษตรแบบประหยัด อนรุ กั ษ์พลังงานและ สิง่ แวดล้อม จานวน ๑ ช่วั โมง : ๑๐ คะแนน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๔ เร่อื ง การจัดการเกษตรแบบประหยัด อนุรักษ์พลังงานและส่งิ แวดล้อม จานวน ๔ ชว่ั โมง ช่ือเร่ือง ชือ่ เรอื่ ง ทักษะในการจดั การผลผลิตทางการเกษตร การปลกู พชื เศรษฐกจิ และการเลยี้ งสัตวเ์ ศรษฐกจิ จานวน ๑ ชว่ั โมง : ๕ คะแนน จานวน ๒ ชวั่ โมง : ๕ คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ เรอื่ ง การจัดการเกษตรแบบประหยัด อนรุ กั ษ์พลังงานและส่ิงแวดลอ้ ม แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอื่ ง การจัดการเกษตรแบบประหยดั อนรุ ักษ์พลงั งานและสงิ่ แวดล้อม รายวชิ า การงานอาชีพพ้ืนฐาน รหัสวิชา ง33101 ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 256๔ น้าหนกั เวลาเรยี น ๐.๕ (นน./นก.) เวลาเรียน ๒0 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ๔ ชว่ั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเข้าใจทคี่ งทน) ประเทศไทยเป็นประเทศที่อุดมไปด้วย ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงมีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนวิถีชีวิต ของท้องถ่ินและขับเคล่ือนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ป่าไม้ แหล่งต้นน้า สภาพแวดล้อมทางทะเลและ ทรัพยากรธรณีเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิต การส่งออกและอุตสาหกรรมการ ทอ่ งเทย่ี วของไทย อยา่ งไรก็ตาม การพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างรวดเร็วในช่วงหลายทศวรรษท่ีผ่านมามักเกิดขึ้นจาก การใช้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่าน้ีอย่างไม่ย่ังยืน ลาดับความสาคัญทางเศรษฐกิจมักมีความสาคัญมากกว่าการ อนุรกั ษ์ในหลาย ๆ กรณี 1 ประเทศไทยเผชิญกับความเสื่อมโทรมของส่ิงแวดล้อมในหลายภูมิภาครวมทั้งการสูญเสียความหลากหลายทาง ชีวภาพและประชากรสัตว์ป่าที่ลดลง การตัดไม้ทาลายป่า การกลายเป็นทะเลทราย การขาดแคลนน้า การ เปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและมลพษิ ทางอากาศและทางนา้ 2 2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชวี้ ดั ชัน้ ปี/ผลการเรยี นร้/ู เป้าหมายการเรียนรู้ ง1.1 ม4-6 ๑. อธิบายวิธีการทางานเพื่อการดารงชีวิต ๒. สร้างผลงานอยา่ งมีความคิด สร้างสรรค์ และมที ักษะการทางานร่วมกัน ๓. มีทกั ษะการจัดการในการทางาน ๔. มที กั ษะ กระบวนการแก้ปญั หาในการทางาน ๕ มที ักษะในการแสวงหาความร้เู พ่ือการดารงชีวิต ๖. มคี ณุ ธรรมและลักษณะนิสัยในการทางาน ๗. ใช้พลังงาน ทรพั ยากร ในการทางานอยา่ งคุม้ ค่าและยั่งยืนเพอื่ การอนุรักษส์ ิง่ แวดล้อม 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge ๑. การจดั การเกษตรแบบประหยดั อนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม ๒. การปลกู พชื เศรษฐกจิ และการเลย้ี งสตั ว์เศรษฐกิจ ๓. ทักษะในการจดั การผลผลติ ทางการเกษตร 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process ๑. อธบิ ายการจดั การเกษตรแบบประหยดั และการจัดการเกษตรเพ่ืออนุรักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อมได้ ๒. อธบิ ายวิธกี ารปลูกพชื เศรษฐกจิ และการเล้ียงสัตว์เศรษฐกิจได้ ๓. มที กั ษะในการจดั การผลผลติ ทางการเกษตร ๔. มเี จตคติท่ีดตี ่อการเกษตรแบบประหยัดและการการเกษตรเพื่ออนุรักษ์พลังงานและสงิ่ แวดล้อม 3.3 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude 1. มีวินัย

2. มีความรบั ผดิ ชอบ 3. ตรงตอ่ เวลา 4. มุ่งม่ันในการเรียน 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 1 ความสามารถในการคดิ 2 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คุณลักษณะของวิชา 1.ความรับผดิ ชอบ 2.ตรงต่อเวลา 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. ซอื่ สัตยส์ ุจรติ 2. มีวินยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุ่งม่นั ในการทางาน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : - ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง การเกษตรแบบประหยัดและการการเกษตรเพื่ออนุรักษ์พลงั งานและ สงิ่ แวดลอ้ ม - ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง การเกษตรแบบประหยดั และการการเกษตรเพ่ืออนุรักษ์พลังงานและ ส่งิ แวดล้อม 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 1-๒ (ความสามารถในการวเิ คราะห/์ ใฝ่เรยี นร/ู้ เทคนิคการสืบค้น) - ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรียน/ขนั้ ตั้งคาถาม 1. ทกั ทายนักเรียนก่อนเรียน 2. เชด็ ชอ่ื นกั เรยี นกอ่ นเขา้ สู่บทเรยี น ขนั้ สอน ๑. ทาความเข้าใจและชี้แจงสาระการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบในหน่วยการเรียนรู้เรื่องการการเกษตร แบบประหยดั และการการเกษตรเพ่อื อนุรกั ษ์พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม ครูอธิบายเก่ียวกับการการจัด การเกษตรแบบประหยดั อนรุ กั ษพ์ ลังงานและส่งิ แวดล้อม ครูให้นักเรียนจดบนั ทึกตามทค่ี รูอธิบาย ๒. ครใู ห้นกั เรียนทาใบงาน เร่ืองการจัดการเกษตรแบบประหยัด อนุรกั ษ์พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม ๓. ครูมอบหมายงานให้นักเรยี นทารายงาน เร่ืองการจดั การเกษตรแบบประหยัด อนุรกั ษ์พลงั งานและ สงิ่ แวดล้อม ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นควา้ เพิ่มเตมิ เกี่ยวกับวิธกี ารทักษะในการจัดการ ผลผลติ ทางการเกษตร ข้ันสรุป ๔. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปเน้ือหาที่เรยี นมา ๕. ครูนดั หมายการเรียนครั้งต่อไป

ชว่ั โมงท่ี 3 (ความสามารถในการวิเคราะห/์ ใฝ่เรียนร/ู้ ชว่ ยกันคิดช่วยกันเรยี น) - ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรยี น/ข้นั ตั้งคาถาม 1. ทักทายนกั เรยี นก่อนเรียน 2. เช็ดชอ่ื นกั เรยี นก่อนเข้าสู่บทเรียน ข้นั สอน 1. ครแู ละนักเรียนทบทวนบทเรียนทผ่ี า่ นมา 2. ครูให้นักเรียนมาแลกเปลย่ี นเรียนรเู้ นื้อหาทค่ี รูมอบหมายในสปั ดาห์ท่ผี ่านมา 3. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั วิธกี ารการปลกู พืชเศรษฐกจิ และการเลย้ี งสัตวเ์ ศรษฐกิจ 4. ครูใหน้ กั เรยี นจดบันทกึ ลงในสมุด 5. ครใู หน้ ักเรียนทาใบงานเรอ่ื งการปลูกพืชเศรษฐกิจและการเล้ียงสตั ว์เศรษฐกจิ ขั้นสรปุ 6. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปเนือ้ หาทีเ่ รียนมา 7. ครูนดั หมายการเรียนครัง้ ต่อไป 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ รายการส่ือ จานวน สภาพการใช้สอ่ื 1 ชุด ข้นั ตรวจสอบความรู้เดิม 1. สอ่ื การเรยี น 30 ชดุ ตรวจหาคาตอบ และรูปภาพ 2. ใบงาน 1.1 เร่ือง การเกษตรแบบประหยัดและการ การเกษตรเพื่ออนรุ ักษ์พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม สืบค้นข้อมลู 3. ห้องสมดุ 10. การวดั ผลและประเมินผล เป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธวี ัด เครื่องมือวัดฯ ประเดน็ / -ความถกู ต้อง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน ความเข้าใจและ 1. มีเนื้อหาสาระครบถว้ น ความถกู ต้อง สมบูรณ์ ๑. อธบิ ายการจัด ใบความรู้ 9-10 คะแนน 2.มีเนอ้ื หาสาระค่อนข้าง การเกษตรแบบ ใบงาน ครบถว้ น 7-8 คะแนน ประหยัดและการจัด 3.มเี นื้อหาสาระไม่ครบถว้ น แตภ่ าพรวมของสาระทั้งหมด การเกษตรเพื่อ อยู่ในเกณฑป์ านกลาง 5-6 คะแนน อนรุ ักษ์พลังงานและ ส่งิ แวดล้อมได้ ๒. อธบิ ายวิธกี าร ปลูกพืชเศรษฐกจิ และการเลี้ยงสตั ว์ เศรษฐกจิ ได้ ๓. มีทักษะในการ จัดการผลผลติ

ทางการเกษตร 4. มีเนื้อหาสาระไมค่ รบถว้ น ๔. มเี จตคติทด่ี ตี อ่ แต่ภาพรวมของสาระทง้ั หมด การเกษตรแบบ อยู่ในเกณฑต์ ้องพอใช้ 4-3 ประหยัดและการ คะแนน การเกษตรเพื่อ 5. มีเน้อื หาเพียงเล็กนอ้ ยแตภ่ าพ อนุรกั ษ์พลงั งานและ รวมของสาระท้ังหมดอยใู่ นเกณฑ์ สง่ิ แวดล้อม ตอ้ งปรับปรงุ 2-1 คะแนน 6. ไม่มีเนอื้ หาเลย 0 คะแนน ลงชอ่ื ..................................................ผูส้ อน (นายน่านมงคล อนิ ด้วง) ตาแหน่ง ครผู ูช้ ่วย

ใบความรู้ ความสาคญั ของส่งิ แวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยพ้ืนฐานสาคัญของการดารงชีวิตของมนุษย์และส่ิงมีชีวิตท้ังหลาย มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมการดาเนินชีวิตของมนุษย์ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคต่างๆ (ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์, 2546) ความสาคัญของ สงิ่ แวดลอ้ มแบ่งออกเป็น ไดด้ ังนี้ 1. ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ มีความสาคัญต่อส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในส่ิงแวดล้อมน้ันเช่นน้าใช้เพ่ือการบริโภค และเปน็ ที่อยอู่ าศัยของสัตว์น้า อากาศใช้เพื่อการหายใจของมนุษย์และสัตว์ ดินเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตบนบก แสงแดดใหค้ วามรอ้ นและชว่ ยในการสังเคราะห์แสงของพืช รูปท่ี 1.3 ความสมั พนั ธข์ องสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ 2. สิง่ แวดลอ้ มทางชวี ภาพ จะชว่ ยปรบั ให้สิ่งมีชีวิตมีการเปลยี่ นแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เชน่ มกี ารปรับตัว ใหเ้ ข้ากับสภาพแวดลอ้ มใหม่ 3. สิ่งแวดล้อมจะเปล่ียนแปลงไปตามการกระทาของส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้น เช่นเม่ือสัตว์กินพืชมี จานวนมากเกินไปพืชจะลดจานวนลง อาหารและที่อยู่อาศัยจะขาดแคลนเกิดการแก่งแย่งกันสูงข้ึนทาให้สัตว์บางส่วน ตายหรอื ลดจานวนลงระบบนเิ วศก็จะกลบั เข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครั้งหน่งึ 4. ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในส่ิงแวดล้อมในแง่ของการถ่ายทอดพลังงานระหว่าง ผผู้ ลิต ผูบ้ รโิ ภค ผูย้ ่อยสลาย ในแง่ของการอยู่รว่ มกนั เก้อื กูลกนั หรอื เบียดเบยี นกนั 5. เปน็ ปัจจัย 4 ในการดารงชีวติ ไดแ้ ก่ เป็นแหลง่ อาหาร เป็นที่กาเนิดเครอื่ งนุ่งหม่ เป็นวัสดอุ ปุ กรณ์ในการ สร้างที่อยูอ่ าศัย เป็นแหลง่ กาเนดิ ยารักษาโรค

6. เป็นปัจจัยในการกาหนดพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตเป็นปัจจัยในการกาหนดระบบของสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ อาชพี วิถชี วี ติ ของมนุษย์ ซง่ึ ก็สง่ ผลมาจากส่งิ แวดลอ้ มทแ่ี ตกต่างกัน การแสดงออกในรูปแบบ ทต่ี า่ งกันดว้ ย สมบตั ขิ องสิ่งแวดล้อม ส่งิ แวดลอ้ มจะมสี มบัตเิ ฉพาะตัวดงั น้ี 1. ส่ิงแวดล้อมเป็นสมบัติเฉพาะตัว เป็นการบ่งบอกถึงเอกลักษณ์หรือลักษณะอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็น สง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ หรอื สง่ิ แวดล้อมท่มี นษุ ย์สร้างข้นึ 2. ส่ิงแวดล้อมไม่โดดเดี่ยวในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมมักจะมีสิ่งแวดล้อมอื่นเข้ามามีส่วนเก่ียวข้องเสมอไม่ ทางตรงกท็ างอ้อม เช่น ต้นไม้กับดิน ปลากับนา้ เปน็ ต้น 3. สิ่งแวดล้อมต้องการสิ่งแวดล้อมอ่ืนเสมอ สิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์มีความต้องการซ่ึงกันและ กัน เช่น ป่าต้องการดนิ และนา้ ปลาต้องการนา้ มนษุ ยต์ อ้ งการปัจจยั 4 ในการดารงชวี ิต 4. สิ่งแวดล้อมต้องอยู่เป็นกลุ่มหรือระบบ ส่ิงแวดล้อมแต่ละชนิดจะมีการแบ่งภาระหน้าท่ีของแต่ละชนิดได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ 5. สิ่งแวดลอ้ มเม่ือถกู กระทบกระเทอื นยอ่ มกระทบส่ิงแวดล้อมเสมอ เช่น การตัดไม้ทาลายป่า จะส่งกระทบ ต่อการพังทลายของดิน การสูญเสียธาตุอาหาร การตกตะกอนของดินในแม่น้ามีผลทาให้แม่น้าตื้นเขินส่งผลให้เกิด ภาวะน้าท่วมในฤดฝู นดังเช่นทเ่ี กิดข้นึ ปัจจุบนั 6. สิ่งแวดล้อมมีความเปราะบาง ความคงทนแตกต่างกัน ภาวะของสิ่งแวดล้อมมีความเปราะบางและความ คงทนข้นึ อยกู่ ับ ขนาด เวลา สถานที่ 7. สิง่ แวดลอ้ มมีการเปลยี่ นแปลงเสมอ โดยการเปล่ียนแปลงจะค่อยๆเกดิ ข้ึนหรือเกิดอย่างรวดเร็ว เช่น การ เกิดปา่ ประเภทต่างๆ การเกิดดินถล่ม การเกิดภูเขาไฟระเบิด การเกิดหนิ งอกหินยอ้ ย ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ปัจจุบันประชากรโลกเพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง มากมาย เช่น ดิน น้า ป่าไม้ เป็นต้น ตามความจาเป็นพื้นฐานเพื่อการดารงชีวิต การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างเต็มที่โดยไม่คานึงถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น ประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทาให้สามารถนา ทรัพยากรธรรมชาติท่ีไม่สามารถนามาใช้ได้ในอดีตมาใช้ได้ ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติเส่ือมโทรม ส่งผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมและมีผลโดยตรงต่อมนุษย์

ความหมายของส่ิงแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีอยู่รอบตัวทั้งท่ีมีชีวิตและไม่มีชีวิต ท้ังท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้นึ ประกอบดว้ ยส่งิ ทีเ่ ปน็ รปู ธรรม (จับต้องและมองเหน็ ได้)และนามธรรม(จับต้องไม่ได้และมอง ไม่เห็น)ซ่ึงสิ่งแวดล้อมมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์อย่างมากและเมื่อสิ่งแวดล้อ มเปล่ียนแปลงไปก็จะ สง่ ผลตอ่ การดารงชวี ติ ของมนุษยโ์ ดยตรง 1. ส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ(Natural Environment) หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีอยู่รอบตัว มนุษย์และเปน็ ส่งิ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ แบ่งย่อยออกเปน็ 2 ลกั ษณะ 1.1 สิง่ แวดลอ้ มทางชีวภาพ(Biotic Environment) เป็นสิ่งแวดล้อมที่ใช้ระยะเวลาส้ันๆ ในการเกิด เปน็ ส่ิงที่สามารถเจริญเติบโตและขยายพันธ์ได้ ได้แก่ ปา่ ไม้ สัตวป์ า่ ทุง่ หญ้า สัตวน์ ้า เป็นตน้ 1.2 ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ(Physical Environment) เป็นส่ิงที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ แร่ธาตุ แร่ เชอ้ื เพลงิ ดนิ หนิ น้า อากาศ ความรอ้ น แสงสวา่ ง เป็นต้น

รูปท่ี 1.1 สง่ิ แวดล้อมทีเ่ กิดข้ึนเองโดยธรรมชาติ 2. สิ่งแวดล้อมท่มี นษุ ย์สรา้ งขน้ึ (Man-Made Environment)แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ 2.1 ส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นรูปธรรม (Physical-Feature Environment) เป็นสิ่งแวดล้อมท่ีมองเห็น ได้ จับต้องได้เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพ่ืออานวยความสะดวกในการมีชีวิตอยู่ เพ่ือสนองความต้องการขั้นพ้ืนฐาน ของการดารงชีวิต ได้แก่ปัจจัยสี่ ประกอบด้วยอาหาร ท่ีอยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และเทคโนโลยีหรือ นวัตกรรมต่างๆ 2.2 สงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี ป็นนามธรรม (Abstract Environment) เปน็ สงิ่ แวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึน้ เพื่อ ความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยของการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม เชน่ กฎหมาย ประเพณี ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ ศาสนา ความเชอ่ื พธิ กี รรม เปน็ ตน้ รูปท่ี 1.2 ส่ิงแวดล้อมท่ีมนษุ ย์สรา้ งข้ึน

ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ มีประโยชน์สามารถสนองความต้องการ ของมนุษย์ได้หรือมนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้า ป่าไม้ ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า แร่ ธาตุ (ชยั ศรี ธาราสวสั ดิ์พิพัฒน์, 2548 : 92) ทรัพยากรธรรมชาติ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ทสี่ าคญั ดงั นี้ 1. ทรพั ยากรทีใ่ ช้แล้วไม่หมดเน่อื งจากธรรมชาตสิ ร้างให้มใี ชอ้ ยูต่ ลอดเวลา ได้แก่ น้าที่อยูใ่ นวัฎจักร 2. ทรพั ยากรทใ่ี ชแ้ ลว้ หมดแตส่ รา้ งทดแทนได้ เชน่ ปา่ ไม้ ดนิ และสตั ว์ปา่ เป็นตน้ 3. ทรัพยากรท่ีใช้แล้วหมดไป โดยธรรมชาติไม่อาจจะสร้างข้ึนทดแทนได้ในช่ัวอายุของคนรุ่น ปจั จบุ ัน เชน่ แร่ธาตุ น้ามนั ทรพั ยากรดนิ ดิน (Soil) คอื สิง่ ที่ปกคลุมพน้ื ผวิ โลก เกิดจากการสลายตัวผพุ งั ของหนิ ชนิดตา่ งๆ หินทส่ี ลายตวั ผุ กรอ่ นผสมรวมกับซากพืช ซากสัตว์ ตามกระบวนการทางกายภาพและเคมี ส่วนประกอบทีส่ าคัญ ดงั นี้ 1. แร่ธาตุ (Mineral Material) ได้แก่ พวกอนินทรยี ว์ ัตถุ 2. อินทรยี วตั ถุ (Organic Material) ไดแ้ ก่ ซากพืชซากสตั ว์ทีเ่ นา่ เปือ่ ยผุพงั ทบั ถมกัน 3. นา้ (Water) น้าจะแทรกอยู่ช่องว่างของเม็ดดนิ รอ้ ยละ 25 4. อากาศ (Air) จะแทรกอยู่ตามชอ่ งว่างในระหวา่ งอนภุ าคของดิน ซ่ึงจะประกอบไป ด้วย ไนโตรเจน ออกซเิ จน และคาร์บอนไดออกไซค์ รปู ที่ 1.4 ขบวนการสรา้ งดนิ

ประโยชน์ของดิน ดนิ มปี ระโยชน์ต่อมนุษย์และสง่ิ มชี วี ติ อ่ืนๆ ดงั นี้ 1. ประโยชนต์ อ่ การเกษตรกรรมดนิ เปน็ ตน้ กาเนิดของการเกษตรกรรมเปน็ แหลง่ ผลติ อาหารใหม้ นษุ ย์ ในดินจะมีอนิ ทรยี วัตถุและธาตอุ าหารและน้าทีจ่ าเปน็ ต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช 2. การเลี้ยงสัตว์ ดนิ เป็นแหล่งอาหารสตั วท์ ้งั พวกพืชและหญา้ ทข่ี น้ึ อย่ตู ลอดจนเป็นแหล่งท่อี ยู่อาศยั ของ สตั วห์ น้าดินและสตั วอ์ ่ืนๆ 3. เปน็ แหลง่ ทอ่ี ยู่อาศัยแผ่นดนิ เป็นทต่ี ัง้ ของเมอื ง บา้ นเรอื นทาใหเ้ กิดวัฒนธรรมและอารยธรรมของ ชมุ ชนต่างๆ 4. เปน็ แหลง่ เกบ็ กักนา้ นา้ จะซึมไปใตด้ ินนา้ เหลา่ นี้จะค่อยๆ ซมึ ลงที่ต่า เช่น แมน่ า้ ลาคลองทาให้เรามี นา้ ใชไ้ ด้ตลอดปี ปัญหาทรัพยากรดินเกดิ จากหลายสาเหตุ ดงั น้ี 1. การกัดเซาะและพังทลายหน้าดนิ โดยน้า มกี ารสูญเสียบรเิ วณผิวดนิ จะเปน็ พ้นื ท่ีกว้างหรือถูกกัดเซาะ เปน็ รอ่ งเลก็ ๆกข็ ึน้ อยกู่ บั ความแรงและบรเิ วณของน้าทไี่ หลบ่าลงมาก 2. การตัดไมท้ าลายปา่ การเผาปา่ ถางป่าทาใหห้ นา้ ดนิ เปิด และถูกชะลา้ งได้ง่ายโดยน้าและลมเม่ือฝน ตกลงมา นา้ ก็ชะลา้ งเอาหนา้ ดนิ ทีอ่ ุดมสมบรู ณ์ไปกบั น้า ทาใหด้ ินมคี ุณภาพเส่ือมลง 3. การเพาะปลกู และเตรียมดินอย่างไม่ถูกวธิ กี ารเตรยี มที่ดนิ เพื่อการเพาะปลูกนัน้ ถ้าไม่ถูกวธิ จี ะเกิด ความเสยี หายกบั ดินได้ ตัวอยา่ งเช่น การไถพรวนขณะดนิ แห้งทาให้หนา้ ดินทส่ี มบูรณห์ ลดุ ลอยไปกับลมได้ หรือ การปลกู พชื บางชนดิ จะทาให้ดินเสอื่ มเรว็ การเผาปา่ ไม้ หรอื ตอขา้ วในนา จะทาให้ฮวิ มัสในดินเสอ่ื มสลาย จะ เกิดผลเสยี กับดนิ อย่างมาก 4. ดินทเี่ ปน็ กรดเกษตรกรแก้ไขได้ ด้วยการใช้ปนู ขาวหว่านและไถพรวนให้เข้ากับดนิ การอนรุ ักษท์ รพั ยากรดนิ ท่สี าคัญๆ มีดังต่อไปน้ี 1. การใชท้ ดี่ นิ อยา่ งถูกต้องเหมาะสม การปลกู พืชต้องคานึงถึงชนดิ ของพืชที่เหมาะสมกบั คณุ สมบัติ ของดิน การปลกู พืชและการไถพรวนดินควรทาตามแนวระดับเพ่อื ปอ้ งกนั การชะล้างพังทลายของหน้าดิน ควร ใช้ประโยชน์จากทดี่ นิ ให้เหมาะสมกบั กิจกรรมหรือโครงการตา่ งๆ เช่น การใชท้ ่ดี ินสาหรับสรา้ งโรงงาน อุตสาหกรรม ที่อยูอ่ าศยั สว่ นบรเิ วณทด่ี ินท่มี ีความอุดมสมบูรณ์ควรเหมาะแก่การเพาะปลกู 2. การปรับปรุงบารุงดิน โดยการเพ่ิมธาตุอาหารใหแ้ ก่ดนิ เชน่ การใส่ปุ๋ยพชื สด ปยุ๋ คอก การปลกู พชื ตระกลู ถว่ั การใส่ปูนขาวในดินที่เป็นกรด การแก้ไขพื้นที่ดินเค็มดว้ ยการระบายนา้ เขา้ ท่ีดิน เป็นต้น 3. การปอ้ งกันการเสือ่ มโทรมของดินได้แก่ ปลูกพชื คลุมดนิ ปลกู พชื หมนุ เวียน ปลกู พืชบงั ลม การไถ

พรวนตามแนวระดับ การทาคันดินปอ้ งกันการไหลชะลา้ งหนา้ ดินรวมทง้ั ไมเ่ ผาปา่ หรือทาไร่เล่ือนลอย หรือให้ ความชุม่ ช้ืนแกด่ ิน เช่น การระบายนา้ ในดนิ ทม่ี ีน้าขังออกการจัดสง่ เขา้ สู่ทด่ี ินนอกจากนั้นใชห้ ญ้าหรือฟางคลุม หน้าดนิ จะช่วยใหด้ ินมคี วามชุ่มชน้ื 4. ทาการเกษตรตามแนว \"ทฤษฎใี หม่\"เปน็ แนวทางหรอื หลกั ในการบริหารจัดการทด่ี ินและน้าเพ่ือ การเกษตรในที่ดนิ ขนาดเล็กใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด ดว้ ยหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว การดาเนนิ งานตามทฤษฎใี หม่มี 3 ขั้นตอน คือ 4.1 ขั้นตอนที่ 1 การผลติ ใหพ้ ึ่งตนเองดว้ ยวิธีง่าย ค่อยเป็นค่อยไปตามกาลัง ใหพ้ อมีพอกินการ ผลิตถือเป็นขนั้ สาคัญทส่ี ุด ให้แบ่งออกเปน็ 4 ส่วน ตามอตั ราส่วน 30 : 30 : 30 : 10 - ขดุ สระเกบ็ กักน้า(ร้อยละ 30 ของพ้นื ที่) พน้ื ที่ประมาณ 30% ใหข้ ุดสระเพ่ือเกบ็ กักนา้ ให้มีน้าใช้สมา่ เสมอตลอดปี โดยเก็บกักน้าฝนในฤดู ฝน และใช้เสรมิ การปลกู พืชในฤดูแล้ง หรอื ระยะฝนท้ิงชว่ ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตวแ์ ละพืชนา้ ต่างๆ เช่น ผักบ้งุ ผกั กระเฉด โสน ฯลฯ รปู ที่ 1.5 สระเก็บกักนา้

- ปลูกข้าว(ร้อยละ 30 ของพนื้ ที)่ พื้นทีป่ ระมาณ 30 % ให้ปลกู ข้าวในฤดูฝน เพ่ือใชเ้ ป็นอาหารประจาวันสาหรับ ครวั เรอื นให้เพียงพอตลอดปี โดยไมต่ ้องซ้ือหาในราคาแพงเปน็ การลดคา่ ใช้จ่าย และสามารถ พง่ึ ตนเองได้ รปู ท่ี 1.6 พ้ืนทีป่ ลูกขา้ ว - ปลูกผลไม้ ไมย้ ืนต้น พชื ไร่ พชื ผัก(รอ้ ยละ 30 ของพ้นื ที่) พน้ื ที่ประมาณ 30 % ใหป้ ลกู ไม้ผล ไมย้ ืนตน้ พืชไร่ พืชผัก พืชสมนุ ไพร ฯลฯ อย่างผสมผสานกนั และ หลากหลายในพื้นท่ีเดยี วกนั เพ่อื ใช้เปน็ อาหารประจาวนั หากเหลอื จากการบริโภคก็นาไปขายได้ รปู ที่ 1.7 พ้ืนที่ปลกู ไมผ้ ล - เป็นที่อยู่อาศยั และอื่นๆ(ร้อยละ 10 ของพนื้ ท่ี) พื้นท่ีประมาณ 10 % ใช้เปน็ ท่ีอยู่อาศยั เลยี้ งสัตว์ ถนนหนทาง คันดิน โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างอื่น รวมทง้ั คอกเลี้ยงสัตว์ เรอื นเพาะชา ฉางเก็บผลิตผลการเกษตร ฯลฯ

4.2 ข้นั ตอนท่ี 2 การรวมพลังกันในรปู แบบ หรอื สหกรณ์ รว่ มแรงร่วมใจกนั ในด้านการผลติ การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา 4.3 ขัน้ ตอนที่ 3 การดาเนนิ ธรุ กิจโดยตดิ ต่อประสานงาน จดั หาทนุ หรือแหลง่ เงนิ รปู ที่ 1.8 พืน้ ทีใ่ ชเ้ ปน็ ท่ีอยู่อาศัย ทรัพยากรน้า นา้ เปน็ ทรัพยากรที่มีความสาคัญตอ่ ชวี ติ คนพชื และสตั ว์มากท่สี ุดแต่ก็มคี ่านอ้ ยทส่ี ดุ เม่ือเปรียบเทียบกบั ทรพั ยากรธรรมชาติอืน่ ๆ น้าเป็นปจั จยั สาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์และเป็นองคป์ ระกอบทสี่ าคัญของสง่ิ มีชวี ติ ทั้งหลาย ประเภทของน้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื 1. นา้ ผิวดิน ไดแ้ ก่ นา้ ในแมน่ ้าลาคลอง ทะเลสาบและในพนื้ ท่ีชุ่มน้าท่ีเปน็ นา้ จืด 2. น้าใตผ้ วิ ดิน หรอื น้าใตด้ ินหมายถงึ นา้ จืดที่ขงั อยู่ในช่องว่างของดินหรือหิน การวดั คุณภาพของแหล่งน้า 1. คา่ พเี อช(pH) หรือคา่ ความเปน็ กรด-ด่างคา่ พเี อชจะมีคา่ อยใู่ นช่วง 0-14 ค่าพเี อชมากก วา่ 7 หมายถงึ มสี ภาพเปน็ ดา่ ง ค่าพีเอชนอ้ ยกวา่ 7 หมายถึงมสี ภาพเป็นกรด สาหรบั คา่ พีเอชในนา้ ทิง้ ท่ี เหมาะสม ควรอยู่ในชว่ ง 5-9 จึงจะไมม่ ผี ลกระทบและเป็นอันตรายต่อการดารงชวี ติ ของสิง่ มีชีวิตในน้าและการ นาไปใช้ประโยชน์ 2. แหล่งน้ามีอุณหภมู ชิ ่วง 20 องศาเซลเซยี สหากน้าทง้ิ ท่ีถกู ปล่อยออกมาจากโรงงานเช่น นา้ หลอ่ เย็น จากโรงงานอุตสาหกรรมหรอื โรงไฟฟ้า สง่ ผลให้อุณหภูมิแหลง่ น้ามีการเปล่ยี นแปลงเพิ่มข้ึนหรอื ลดลง ทาให้

ส่ิงมีชีวติ ในนา้ ตายได้ 3. บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD)หมายถึง ปริมาณของออกซเิ จนทแ่ี บคทเี รียใช้ใน การยอ่ ยสลายสารอินทรยี ์ ในเวลา 5 วัน ทีอ่ ุณหภมู ิ 20 องศาเซลเซียส มีหนว่ ยเป็นมลิ ลกิ รัม/ลติ รนา้ ท่ีมีคุณภาพ ดคี วรมีคา่ บีโอดีไมเ่ กนิ 6 มลิ ลกิ รัมต่อลติ ร ถ้าค่าบีโอดีสงู มากแสดงว่าน้าเสยี 4. คา่ ดีโอ (Dissolved Oxygen, DO) คา่ ร้อยละของออกซิเจนที่ละลายอยู่ในนา้ หรือของเหลว น้าที่ มคี ุณภาพดี ค่า DO ประมาณ 5-8 ppm หรือปรมิ าณ O2ละลายอยูป่ ริมาณ 5-8 มิลลกิ รัม/ลติ ร หรือ 5-8 ppm นา้ เสียจะมีค่า DO ตา่ กว่า 3 ppm 5. กล่ินเหมน็ ถึงแมว้ า่ จะไมเ่ ปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพโดยตรง แตก่ ็เปน็ ผลกระทบท่ีรนุ แรงต่อการดารงชีวิต และจิตใจของประชาชน ประโยชนข์ องทรัพยากรนา้ นา้ เป็นส่ิงจาเปน็ ทีเ่ ราใชส้ าหรับการด่มื กิน คนเรามชี วี ติ อย่โู ดยขาดนา้ ไดไ้ ม่เกิน 3 วัน เราใชน้ า้ ในกจิ กรรม ดงั นี้ 1. ใช้ในการอุปโภค-บรโิ ภค 2. การเพาะปลูก เลยี้ งสตั ว์ แหลง่ น้าเป็นท่ีอยู่อาศัยของปลาและสัตว์น้า 3. การอุตสาหกรรมต้องใชน้ ้าในขบวนการผลติ ใช้ล้างของเสีย ใชห้ ล่อเคร่ืองจักรและระบายความ รอ้ น ฯลฯ 4. แมน่ า้ ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเสน้ ทางคมนาคมขนส่งทีส่ าคัญ 5. ทัศนียภาพของริมฝงั่ ทะเลและนา้ ทใี่ สสะอาดเปน็ แหล่งท่องเท่ียวของมนุษย์ ปญั หาทรพั ยากรน้า ทส่ี าคัญมีดังน้ี 1. เพมิ่ ปริมาณความตอ้ งการใชน้ า้ ปจั จบุ ันนอกจากการใช้นา้ เพอ่ื การบริโภคซ่งึ เพิ่มขน้ึ แลว้ ประมาณ 30% ถึง 40% การผลติ อาหารของโลกจาเปน็ ต้องใชน้ ้าจากการชลประทานภายในระยะเวลาประมาณ 15- 20 ปขี ้างหนา้ นี้ บรเิ วณพ้นื ท่ีชลประทานจะต้องเพิ่มข้ึนเป็น 2 เทา่ ของปริมาณพืน้ ทีใ่ นปจั จบุ นั เพอ่ื ท่ีจะผลติ อาหารใหไ้ ด้เพียงพอแกจ่ านวนประชากรทเี่ พม่ิ ขนึ้ 2. การกระจายนา้ ไปสู่ส่วนต่างๆ ของพ้นื ที่ไมเ่ ท่าเทียมกนั ในบางพ้นื ทข่ี องโลกเกิดฝนตกหนกั บา้ นเรือน ไรน่ าเสยี หายแต่ในบางพืน้ ทีก่ ็แหง้ แล้งขาดแคลนนา้ เพือ่ การบรโิ ภคและการเพาะปลูก 3. การเพ่ิมมลพษิ ในนา้ เนือ่ งจากจานวนประชากรมนุษยเ์ พมิ่ มากขน้ึ มนุษยเ์ ปน็ ตวั การสาคัญที่เพมิ่

มลพษิ ให้กับแหลง่ นา้ ต่างๆ ด้วยการปลอ่ ยนา้ เสยี คราบน้ามันจากบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม การท้ิงขยะมูล ฝอยลงไปในแหลง่ น้า เป็นตน้ รปู ท่ี 1.9 มลพิษในนา้ การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรนา้ ทส่ี าคญั ๆ มีดังต่อไปน้ี 1. การใชน้ ้าอย่างประหยัด นอกจากจะช่วยลดค่าใชจ้ า่ ยเกี่ยวกับคา่ น้าลงไดแ้ ล้ว ยังชว่ ยใหล้ ดปริมาณน้า เสยี ท่ีจะทง้ิ ลงแหล่งนา้ และป้องกนั การขาดแคลนน้าไดอ้ ีกดว้ ย 2. การสงวนนา้ ไว้ใช้ในบางฤดูหรอื ในสภาวะทีม่ นี ้ามากเหลอื ใช้ ควรมกี ารสร้างแหล่งสาหรบั เกบ็ น้าไว้ ใช้ เชน่ การทาบอ่ เกบ็ นา้ การสรา้ งโอง่ น้า การขุดลอกแหล่งนา้ รวมทงั้ การสรา้ งอ่างเก็บนา้ 3. การพฒั นาแหลง่ น้าในพืน้ ท่ขี าดแคลนน้า จาเป็นทจี่ ะต้องหาแหล่งน้าเพมิ่ เติมเพ่ือให้มนี า้ ไว้ใช้ทัง้ ใน ครัวเรือนและในการเกษตรได้อย่างเพยี งพอปัจจุบันนานา้ บาดาลขึน้ มาใช้ แต่อาจมปี ัญหาเรอ่ื งแผ่นดนิ ทรุด เช่น ในบริเวณกรุงเทพฯ ทาใหเ้ กิดดินทรดุ ได้จงึ ควรมมี าตรการกาหนดว่าเขตใดควรใช้น้าใต้ดินได้มากน้อย เพยี งใด 4. การปอ้ งกนั นา้ เสยี การไม่ท้ิงขยะ ส่ิงปฏกิ ูล และสารพิษลงในแหลง่ นา้ นา้ เสียท่เี กดิ จากโรงงาน อุตสาหกรรม โรงพยาบาลควรมีการบาบัดและขจดั สารพษิ กอ่ นท่จี ะปล่อยลงสู่แหลง่ น้าการวางท่อระบายนา้ จาก บา้ นเรือน การวางฝังการก่อสร้างโดยไม่ให้น้าสกปรกไหลลงสู่แม่นา้ ลาคลอง 5. การนานา้ เสยี กลบั ไปใช้น้าท่ีไมส่ ามารถใช้ไดใ้ นกจิ การหนงึ่ เช่น นา้ ทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถนาไปรดต้นไม้ โรงงานบางแห่งอาจนานา้ ท้ิงมาทาให้สะอาดแลว้ นากลับมาใชใ้ หม่

ทรพั ยากรป่าไม้ ประเภทของปา่ ไม้ในประเทศไทย ประเภทของปา่ ไม้จะแตกตา่ งกนั ไปขึน้ อยู่กบั การกระจายของฝนจาแนกได้เปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คือ 1. ปา่ ประเภทไม่ผลดั ใบ (Evergreen) 2. ปา่ ประเภทผลดั ใบ (Deciduous) ปา่ ประเภทไมผ่ ลดั ใบ(Evergreen) ปา่ ประเภทมองดเู ขียวชอุ่มตลอดปี ตน้ ไม้แทบทั้งหมดเป็นประเภทท่ไี มผ่ ลัดใบ ได้แก่ 1. ป่าดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest) ปา่ ดงดบิ ท่มี ีอยูท่ ่ัวในทกุ ภาคของประเทศพบมากทสี่ ดุ ภาคใตแ้ ละภาคตะวันออกบริเวณนี้มฝี นตก มากและมีความชนื้ มากปา่ ดงดบิ มกั กระจายอยู่บรเิ วณที่มคี วามช่มุ ช้นื มาก ๆ เชน่ ตามหุบเขา รมิ แม่น้าลาธารหว้ ย แหลง่ น้า และบนภูเขา ซง่ึ สามารถแยกออกเปน็ ป่าดงดิบชนดิ ต่าง ๆ ดงั น้ี 1.1 ปา่ ดบิ ชืน้ (Moist Evergreen Forest) เปน็ ป่ารกทึบมองดูเขยี วชอมุ่ ตลอดปี พบตง้ั แต่ ความสูง 600 เมตร จากระดบั น้าทะเล ไม้ทสี่ าคัญกค็ ือ ไมต้ ระกูลยางต่างๆ เช่น ยางนา ยางเสยี น สว่ นไม้ ช้นั รอง คือ พวกไม้กอ เช่น กอนา้ กอเดอื ย 1.2 ปา่ ดบิ แล้ง (Dry Evergreen Forest) เป็นป่าท่ีอยูใ่ นพื้นท่คี ่อนข้างราบมีความชุม่ ช้ืน นอ้ ย พบในแถบภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนืออยู่สูงจากระดบั นา้ ทะเลประมาณ 300- 600 เมตร ไม้ทีส่ าคัญ ได้แก่ มะค่าโมง ยางนา พยอม ตะเคยี นแดง กระเบากลัก และตาเสือ 1.3 ปา่ ดบิ เขา (Hill Evergreen Forest) ปา่ ชนิดนเ้ี กิดขน้ึ ในพน้ื ท่สี งู ๆ หรอื บนภูเขา ตัง้ แต่ 1,000-1,200 เมตร ขึ้นไปจากระดับนา้ ทะเล พบพวกไมข้ นุ และสนสามพนั ปี ไมต้ ระกลู กอ เป้ง สะเดาชา้ งและขมนิ้ เป็นต้น 2. ปา่ สนเขา (Pine Forest) ป่าสนเขาพบในพน้ื ทซ่ี งึ่ มีความสูงประมาณ 200-1,800 เมตร ขน้ึ ไปจากระดับน้าทะเลใน ภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ป่าสนเขามลี ักษณะเปน็ ปา่ โปรง่ ชนดิ พันธ์ุไมท้ ่ีสาคญั คือ สนสองใบและสนสามใบ เต็ง รงั เหียง พลวง เปน็ ต้น

3. ป่าชายเลน (Mangrove Forest) บางทเี รียกว่า \"ปา่ เลนน้าเคม็ \" หรอื ป่าเลน มีตน้ ไมข้ น้ึ หนาแนน่ แต่ละชนดิ มรี ากคา้ ยนั และราก หายใจ ปา่ ชนดิ นี้ปรากฏอยู่ตามท่ีดินเลนรมิ ทะเลหรือบรเิ วณปากน้าแมน่ า้ ใหญ่ๆซง่ึ มนี า้ เค็มทว่ มถึง พนั ธุไ์ ม้ที่ ขนึ้ อยู่ตามปา่ ชายเลนส่วนมากเปน็ พนั ธไ์ุ มข้ นาดเลก็ ใชป้ ระโยชน์สาหรบั การเผาถา่ นและทาฟืนไมช้ นดิ ท่ีสาคญั คอื โกงกาง ประสกั ถวั่ ขาว ถวั่ ขา โปรง ตะบนู แสมทะเล ลาพนู และลาแพน ส่วนไม้พนื้ ลา่ งมักเป็น พวก ปรงทะเลเหงอื กปลาหมอ ปอทะเล และเป้ง เป็นต้น 4. ปา่ พรุหรือปา่ บงึ น้าจดื (Swamp Forest) ปา่ ท่มี นี า้ จืดท่วมมากๆ ดนิ ระบายนา้ ไมด่ ี ปา่ พรใุ นภาคกลาง มีลกั ษณะโปรง่ และมีตน้ ไม้ขึ้นอยู่ ห่างๆ เชน่ ครอเทยี น สนนุ่ จิก โมกบ้าน หวายนา้ หวายโปร่ง ระกา อ้อ และแขมในภาคใตป้ ่าพรุมี ขน้ึ อยู่ตามบรเิ วณทม่ี ีน้าขังตลอดปี ดนิ ป่าพรุทมี่ ีเน้ือท่ีมากท่ีสุดอยูใ่ นบริเวณจงั หวดั นราธิวาส ดนิ เป็นพที ซ่งึ เปน็ ซากพืชผุสลายทับถมกนั เปน็ เวลานานป่าพรุแบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะ คือ ตามบรเิ วณซ่งึ เป็นพรุน้ากร่อย ใกล้ชายทะเลตน้ เสมด็ จะขึ้นอยู่หนาแน่นพืน้ ท่ีมตี ้นกกชนดิ ต่างๆ เรยี ก \"ป่าพรเุ สมด็ หรือป่าเสม็ด\" อกี ลกั ษณะ เปน็ ปา่ ที่มีพันธไุ์ มต้ า่ งๆ มากชนิดข้ึนปะปนกัน ชนิดพันธ์ไุ ม้ท่ีสาคัญของป่าพรุ ได้แก่ อินทนลิ นา้ หว้า จิกโสก น้า กระทมุ่ น้ากันเกรา โงงงนั กะทั่งหนั ไม้พ้ืนล่างประกอบด้วย หวาย ตะคา้ ทองหมากแดง และหมากชนดิ อ่นื ๆ ปา่ ประเภทผลัดใบ (Declduous) ต้นไม้ท่ีข้ึนอยู่ในปา่ ประเภทนเ้ี ปน็ จาพวกผลดั ใบแทบท้ังสน้ิ ในฤดูฝนปา่ ประเภทนจ้ี ะมองดูเขยี วชอุม่ พอ ถงึ ฤดูแล้งต้นไม้ส่วนใหญจ่ ะพากนั ผลดั ใบทาใหป้ ่ามองดูโปร่งขึน้ และมักจะเกดิ ไฟปา่ เผาไหม้ใบไม้และต้นไม้ เล็กๆ ป่าชนิดสาคัญซึ่งอยูใ่ นประเภทนไ้ี ด้แก่ 1. ปา่ เบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest) ปา่ ผลดั ใบผสมหรือป่าเบญจพรรณ มลี กั ษณะเป็นปา่ โปรง่ มีไม้ไผช่ นดิ ต่างๆ ขนึ้ อยกู่ ระจัดกระจาย ทว่ั ไป พน้ื ทดี่ ินมกั เปน็ ดนิ รว่ นปนทราย ปา่ เบญจพรรณในภาคเหนอื มักจะมไี มส้ ักพันธ์ุไมช้ นิด สาคญั ไดแ้ ก่ สกั ประดแู่ ดง มะคา่ โมง ตะแบก เสลา อ้อยชา้ ง ส้าน ยม หอม ยม หนิ มะเกลอื สมพง เกด็ ดา เกด็ แดง ฯลฯนอกจากนี้มีไม้ไผ่ที่สาคัญ เช่น ไผ่ป่า ไผ่บง ไผซ่ าง ไผร่ วก ไผ่ ไรเปน็ ต้น 2. ปา่ เตง็ รัง (DeclduousDipterocarp Forest) ป่าเตง็ รังหรอื ท่ีเรียกกันว่าป่าแดง ปา่ แพะ ปา่ โคก ลกั ษณะทวั่ ไปเป็นป่าโปร่ง พื้นทแี่ ห้งแลง้ ดิน รว่ นปนทราย หรือกรวด ลูกรงั พบอยทู่ ั่วไปในทีร่ าบและท่ภี ูเขา ในภาคเหนือส่วนมากขนึ้ อยู่บนเขาทม่ี ีดินต้นื และแห้งแลง้ มากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมปี ่าแดงหรอื ป่าเต็งรงั น้ีมากท่สี ดุ พันธ์ุไม้ทีส่ าคญั เต็ง รัง เหยี ง พลวง กราด พะยอม ตว้ิ แต้ว มะค่า ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบกเลอื ดแสลงใจ รกฟ้า

ฯลฯ สว่ นไม้พนื้ ลา่ งท่ีพบมาก ไดแ้ ก่ มะพรา้ วเต่า ปมุ่ แป้ง หญ้าเพก็ โจด ปรงและหญ้าชนดิ อ่นื ๆ 3. ปา่ หญา้ (Savannas Forest) ป่าหญ้าทอ่ี ยู่ทกุ ภาคบริเวณป่าท่ีถกู แผว้ ถาง ทาลายบรเิ วณพน้ื ดนิ ท่ขี าดความสมบรู ณ์และ ถกู ทอดท้ิง หญ้าชนิดตา่ งๆ จงึ เกิดข้นึ ทดแทนและพอถึงหน้าแล้งก็เกิดไฟไหมท้ าให้ต้นไมบ้ รเิ วณขา้ งเคียงล้มตาย พน้ื ทปี่ ่าหญ้าจึงขยายมากข้นึ ทกุ ปี พชื ที่พบมากทสี่ ุดในปา่ หญ้าคือ หญ้าคา หญา้ ขนตาช้าง หญา้ โขมง หญา้ เพ็กและปุ่มแปง้ บรเิ วณทพี่ อจะมคี วามชน้ื อยบู่ ้างและการระบายนา้ ไดด้ ีกม็ ักจะพบพงและแขม ข้ึนอยู่ และอาจพบตน้ ไม้ทนไฟขึน้ อยู่ เชน่ ตับเตา่ รกฟา้ ตานเหลือง ติ้วและแตว้ ประโยชนข์ องทรัพยากรป่าไม้ ประโยชน์ทางตรง (Direct Benefits)ได้แก่ ปจั จัย 4 ประการ 1. จากการนาไม้มาสรา้ งอาคารบ้านเรือนและผลติ ภัณฑต์ า่ งๆ เช่น เฟอรน์ ิเจอร์ กระดาษ ฟนื เป็นตน้ 2. ใชเ้ ป็นอาหารจากสว่ นตา่ งๆ ของพชื และผล 3. ใช้เส้นใย ทีไ่ ดจ้ ากเปลอื กไมแ้ ละเถาวลั ย์มาถกั ทอเปน็ เครอ่ื งนงุ่ หม่ เชอื กและอ่นื ๆ 4. ใชท้ ายารักษาโรคต่างๆ ประโยชนท์ างอ้อม (Indirect Benefits) 1. ป่าไมเ้ ปน็ เปน็ แหล่งกาเนิดตน้ น้าลาธาร เพราะตน้ ไมจ้ านวนมากในป่าจะทาใหน้ า้ ฝนทต่ี กลงมา ค่อยๆ ซึมซบั ลงในดนิ กลายเปน็ น้าใตด้ นิ ซึ่งจะไหลซึมมาหล่อเลี้ยงใหแ้ มน่ า้ ลาธารมีน้าไหลอยตู่ ลอดปี 2. ป่าไมท้ าใหเ้ กิดความชุม่ ช้ืนและควบคุมสภาวะอากาศ ไอนา้ ซึ่งเกดิ จากการหายใจของพืช ซึ่ง เกดิ ข้ึนอยู่มากมายในป่าทาให้อากาศเหนอื ป่ามคี วามชน้ื สูง เมื่ออุณหภูมลิ ดตา่ ลงไอน้าเหลา่ นนั้ ก็จะกล่นั ตวั กลายเปน็ เมฆแล้วกลายเป็นฝนตกลงมา ทาให้บรเิ วณท่ีมีพื้นปา่ ไมม้ ีความชมุ่ ช้นื อยเู่ สมอ ฝนตกต้องตามฤดูกาล และไมเ่ กดิ ความแหง้ แลง้ 3. ปา่ ไม้เปน็ แหล่งพักผอ่ นและศึกษาความรู้ บริเวณปา่ ไม้จะมภี ูมปิ ระเทศที่สวยงามจากธรรมชาติ รวมทั้งสัตว์ปา่ จึงเปน็ แหลง่ พักผ่อนหย่อนใจไดด้ ี นอกจากนั้นป่าไมย้ ังเป็นท่ีรวมของพันธพ์ุ ืชและพันธส์ุ ตั ว์ จานวนมาก จงึ เปน็ แหลง่ ให้มนุษยไ์ ดศ้ ึกษาหาความรู้ 4. ปา่ ไม้ช่วยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุและป้องกนั อุทกภยั โดยช่วยลดความเรว็ ของลมพายทุ ี่ พดั ผ่านไดต้ ั้งแต่ 11-44 % ตามลักษณะของปา่ ไม้แต่ละชนดิ จงึ ช่วยใหบ้ า้ นเมอื งรอดพน้ จากวาตภัยได้ ซง่ึ

เป็นการปอ้ งกันและควบคุมน้าตามแม่น้าไม่ให้สงู ขน้ึ มารวดเรว็ ล้นฝ่ังกลายเปน็ อทุ กภัย 5. ป่าไมช้ ่วยป้องกันการกัดเซาะและพัดพาหนา้ ดิน จากน้าฝนและลมพายโุ ดยลดแรงปะทะลงการ หลุดรว่ งของดนิ จงึ เกิดข้ึนน้อย และยังเปน็ การช่วยให้แม่นา้ ลาธารตา่ งๆ ไม่ตื้นเขินอีกดว้ ย นอกจากนี้ป่าไมจ้ ะ เปน็ เสมอื นเคร่ืองกีดขวางตามธรรมชาติจงึ นับว่ามีประโยชนใ์ นทางยุทธศาสตร์ดว้ ยเช่นกนั การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้อยูบ่ นความคิดท่สี าคัญ 3 ขอ้ คือ 1.Sustain yield concept ใจความสาคัญของมโนทศั น์น้ีอย่ทู ว่ี ่าอตั ราการตดั ไม้และอตั ราการ เจริญเตบิ โตของไมต้ ้องสมดุลกนั เพ่อื ใหม้ ผี ลผลติ ของไม้ใชไ้ ปไดโ้ ดยไมม่ ีทีส่ นิ้ สุด 2.Multiple use conceptวตั ถุประสงค์การจัดป่าไมค้ วรอยใู่ นลักษณะอเนกประสงค์ ป่าไม้ไมใ่ ช่ แหล่งไม้เท่านั้น แตเ่ ป็นแหล่งสตั วป์ ่า แหลง่ นนั ทนาการ แหล่งน้าทัง้ ยังสามารถรักษาความอดุ มสมบูรณ์ของ ดินและอัตราเพิ่มธาตอุ าหารในนา้ ท่เี รียกว่า Eutrophication ไม่ให้เปล่ยี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว สง่ิ เหลา่ นี้ ตอ้ งเป็นรากฐานสาคัญของการจดั การป่าไม้ดว้ ย 3. Long run policy นโยบายการจดั การปา่ ไมร้ ะยะยาวเป็นนโยบายสาคัญของการจดั การปา่ ไม้

สิ่งแวดล้อมมีความเก่ียวข้องกับวิถีชีวิตของมนุษย์ สง่ิ แวดล้อมมคี วามเกี่ยวข้องกับวิถชี ีวติ ของมนุษยด์ ังนี้ 1. เปน็ แหล่งปจั จัยพน้ื ฐานในการดารงชวี ติ ของมนษุ ย์ ดงั นี้ 1.1 อาหาร โดยการผลิตอาหารจากทรัพยากรธรรมชาติ 1.2 ทอี่ ยอู่ าศัย มนษุ ย์อาศัยอยตู่ ามแหลง่ ธรรมชาติตามร่มไม้ หบุ เขาหรอื ถา้ ดดั แปลงธรรมชาติ เพอ่ื ป้องกันภัยทีเ่ ป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ 1.3 เครือ่ งนงุ่ ห่ม สมัยแรกเป็นการนาใบไม้ เย่ือไมแ้ ละหนงั สัตว์ท่ีหาได้มาห่อหุม้ รา่ งกาย เพ่ือให้ ความอบอุ่น จากนน้ั มีการผลติ เส้อื ผา้ เคร่ืองนุ่งหม่ จากวสั ดทุ ห่ี าได้ในถน่ิ ที่อยู่อาศยั 1.4 ยารกั ษาโรค มนษุ ยเ์ รมิ่ ใชพ้ ชื สมนุ ไพรในการรักษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ โดยเอามาท้งั ตน้ กิ่ง ก้าน เปลือก แกน่ ดอก ราก ต้มกนิ หรอื ทาคร้ังละมากๆ ตอ่ มามนุษยใ์ ชว้ ิธสี งั เคราะห์ตวั ยาใน สมุนไพร 2. สง่ิ กาหนดการต้ังถนิ่ ฐานและชมุ ชน ความอดุ มสมบรู ณ์ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มเปน็ ปัจจยั ที่เอื้อตอ่ การต้ังถน่ิ ฐานและชมุ ชนของมนุษย์ 3. ตวั กาหนดลกั ษณะอาชพี มนษุ ย์ในแตล่ ะท้องถิน่ จะประกอบอาชีพแตกตา่ งกนั ไป ตาม สภาพของพน้ื ท่ีและลกั ษณะของทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ บริเวณทรี่ าบลุ่มมักจะมีอาชีพ ทา เกษตรกรรม บรเิ วณชายทะเลหรอื เกาะตา่ งๆ ก็จะทาการประมง บริเวณทเี่ ปน็ แหล่งแร่กจ็ ะทาเหมอื งแรเ่ ปน็ อาชพี หลกั 4. ตัวกาหนดรปู แบบของวฒั นธรรม รูปแบบวัฒนธรรมของมนษุ ยแ์ ตล่ ะท้องถ่ินมีความแตกต่างกนั ตาม สภาพแวดล้อมของทอ้ งถ่นิ เช่น การแต่งกาย การกินอาหาร ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนความเชื่อ และค่านิยมตา่ งๆ สรปุ ส่งิ แวดล้อม หมายถงึ ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัว ท้งั มีชวี ิตและไมม่ ชี วี ิต ทงั้ ท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสงิ่ ทมี่ นุษย์สรา้ งขนึ้ สิง่ แวดล้อมแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื ส่งิ แวดลอ้ มท่เี กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมท่ี มนษุ ยส์ ร้างขึน้ ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง สงิ่ ทีเ่ กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ มีประโยชน์สามารถสนองความต้องการ ของมนุษยไ์ ด้ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คอื

1. ทรัพยากรทใ่ี ช้แล้วไม่หมด เช่น พลังงานจากดวงอาทติ ย์ ลม อากาศ และน้า เปน็ ต้น 2. ทรัพยากรทใ่ี ชแ้ ล้วหมดแตส่ รา้ งทดแทนได้ เชน่ ป่าไม้ พืช ดนิ สัตวป์ ่า และมนษุ ย์ เปน็ ต้น 3. ทรพั ยากรท่ีใชแ้ ลว้ หมดไป เชน่ น้ามนั ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และถา่ นหิน เปน็ ต้น สง่ิ แวดล้อมมีความเกีย่ วข้องกับวถิ ีชวี ติ ของมนุษย์ คือ 1. เป็นแหลง่ ปจั จยั พ้นื ฐานในการดารงชีวิตของมนษุ ย์ 2. เป็นสง่ิ กาหนดการต้ังถน่ิ ฐานและชุมชน 3. ตัวกาหนดลกั ษณะอาชพี 4. ตัวกาหนดรปู แบบของวัฒนธรรม

การอนรุ ักษพ์ ลงั งานและสิง่ แวดลอ้ ม พลงั งานถือเปน็ ปจั จัยพ้นื ฐานทีส่ าคญั อย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ ท้ังทางด้านเศรษฐกิจ และ สงั คม เหตุผลกเ็ พราะต้องมีการใช้พลงั งานในทกุ ขนั้ ตอนของการดาเนินงาน ทัง้ ภาคอุตสาหกรรม คมนาคม เกษตรกรรม และอืน่ ๆ ปจั จัยทม่ี ผี ลให้ปรมิ าณการใช้พลงั งานโลก คือ จานวนประชากรเพ่ิมขนึ้ หากเป็นเชน่ นี้ ทรพั ยากรและพลังงานที่กาลังลดลง เพราะอัตราการใชพ้ ลงั งานในโลกไดเ้ พิม่ ขนึ้ เฉล่ียรอ้ ยละ 7 ตอ่ ปี ฉะนัน้ โลก เราจะต้องใชพ้ ลังงานเพ่ิมขนึ้ อีกเท่าตัวทุกๆปี หากไม่มีมาตรการอนุรักษแ์ ละเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน หรือปรบั โครงสรา้ งอุตสาหกรรมและระบบขนสง่ พลงั งานจะตอ้ งหมดไปในอนาคตอย่างแนน่ อน นอกจากนี้ แล้วการใช้พลังงานทเ่ี พิ่มสูงขึ้นยังส่งผลให้มกี ารปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกมากข้ึนด้วย ดงั นัน้ การอนุรักษ์พลงั งานจงึ เป็นมาตรการท่ีสาคญั ท่ีจะทาใหม้ ี การผลิตและการใชพ้ ลงั งานอย่างมีประสิทธิภาพ การอนุรักษ์พลงั งาน หมายถงึ การผลิตและการใชพ้ ลังงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประหยัดการ อนรุ กั ษ์พลงั งานนอกจากจะชว่ ยลดปรมิ าณการใช้พลังงานซึ่งเป็นการประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยในกิจการแลว้ ยงั จะชว่ ย ลดปญั หาส่งิ แวดล้อมที่เกดิ จากแหลง่ ที่ใช้และผลิตพลงั งานดว้ ย รูปท่ี 8.1 แนวโน้มความต้องการพลังงานใน 20 ปี ข้างหน้า ท่ีมา: ทศิ ทางพลังงานไทยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุ ักษ์พลงั งาน วิธกี ารอนรุ กั ษ์พลังงาน 1. ดา้ นทอี่ ยู่อาศัย อณุ หภูมเิ ปน็ ปัจจยั แวดล้อมที่สาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์มนษุ ย์ต้องการอาศัยอยู่ในที่ ทม่ี ี อณุ หภูมิพอเหมาะ บา้ นเรอื นในประเทศแถบหนาวจึงมีการปรับอุณหภมู ิในบ้านใหอ้ บอนุ่ ส่วนในประเทศรอ้ นก็มี การใชเ้ คร่อื งปรับอากาศ เพ่ือให้เย็นสบายการปรับอุณหภูมิตามต้องการน้จี าเป็นต้องใช้พลงั งานเชอ้ื เพลิงเป็นอนั มากนอกจากนน้ั อปุ กรณเ์ คร่อื งใช้ในบ้าน เช่น ตู้เยน็ พดั ลม วิทยุ โทรทัศนฯ์ ลฯ ก็อาศัยพลงั งานเชื้อเพลิง ทัง้ สน้ิ ดังนัน้ จงึ ต้องมีมาตรการในการอนุรักษ์พลงั งานท่ีใช้ในที่อยู่อาศัยโดย สรปุ ได้ดงั น้ี 1.1 การออกแบบบา้ น ให้มีลกั ษณะโปรง่ มกี ารถา่ ยเทและระบายอากาศได้สะดวก สาหรับทศิ ของ บ้านควรหนั หน้าไปทางทศิ เหนือ –ใต้ เพื่อเป็นการหลีกเลีย่ งไมใ่ ห้แสงแดดเขา้ สู่ชอ่ งเปิดของ ตวั บา้ น วัสดุทีใ่ ช้ สรา้ งบา้ นควรเลอื กใชว้ ัสดุทส่ี ามารถช่วยลดการสูญเสยี พลงั งานเพ่ือเป็นการประหยัดพลงั งาน เชน่ การใช้ฉนวนกัน ความรอ้ นต้งั แต่หลงั คาจนถึงผนงั การใช้วสั ดอุ ื่นแทนกระจก เพือ่ ลดการสญู เสยี ความร้อนหรือความเย็นลง เท่ากับ

ลดการสญู เสียพลงั งาน รูปที่ 8.2 การหนั ทศิ ทางของบา้ น ทีม่ า: สาระน่าร้เู รือ่ งการอนุรักษ์พลังงาน 1.2 การปลูกตน้ ไมเ้ พิ่มความร่มเงาในบริเวณบา้ นจะช่วยลดอุณหภูมิภายในบา้ นและช่วยไม่ให้ แสงแดดสอ่ งถึงตวั บ้านในชว่ งฤดรู ้อน ทาให้ชว่ ยลดการทางานของเครือ่ งปรบั อากาศ 1.3 การเลือกซ้อื อปุ กรณ์ไฟฟ้า ควรเลือกซ้ืออุปกรณ์ไฟฟ้าท่มี ฉี ลากเบอร์ 5 หรือเลือกใช้อุปกรณ์ท่ีมี ขนาดเหมาะสมกับขนาดครอบครัว 1.4 การใชน้ ้าในท่ีอยู่อาศยั ต้องใช้นา้ อย่างประหยดั ถอื ว่าเป็นการประหยัดพลงั งานด้วย เพราะ การทาให้น้าสะอาดตอ้ งผ่านกระบวนการทตี่ ้องใช้พลังงาน หลักการการประหยัดน้า เชน่ 1.4.1 ใชห้ วั ก๊อกทมี่ ีตัวลดอัตราการไหลของนา้ ใหน้ อ้ ยลง 1.4.2 ปิดก๊อกน้าในระหวา่ งแปรงฟนั สระผม หรอื โกนหนวด 1.4.3 ใช้ไม้กวาดในการกวาดพนื้ แทนการใชน้ า้ ฉีดเพ่ือทาความสะอาด 1.4.4 ล้างรถดว้ ยน้าถังและฟองน้า แทนการใช้สายยางฉีดน้า 1.4.5 ใชน้ ้าจากการซกั ล้างหรอื ถูพื้นเพื่อรดน้าต้นไม้ แทนการใช้นา้ ประปา 1.5 การใชพ้ ลังงานในเตาก๊าซอยา่ งประหยัดทาไดด้ ังน้ี 1.5.1 เลือกใชถ้ งั ก๊าซท่ีมีเครื่องหมายสานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) 1.5.2 ควรใช้สายยางหรอื สายพลาสติกชนดิ ยาวและมีความยาว1-1.5 เมตร 1.5.3 ต้งั เตากา๊ ซให้หา่ งถงั ก๊าซประมาณ 1-1.5 เมตร ปิดวาล์วท่ีหัวเตาและหัวปรับความดนั เม่อื เลิกใช้ 1.5.4 เลอื กขนาดของหม้อหรอื กระทะให้เหมาะสมกับปรมิ าณอาหารท่จี ะปรุง 1.5.5 ควรเตรยี มอาหารสด เครอื่ งปรงุ และอุปกรณ์การทาอาหารให้พรอ้ มก่อนตดิ ไฟไม่ควรติด ไฟรอนานเกินไปจะส้ินเปลืองกา๊ ซ 1.6 การทาสีผนังบา้ นหรือเลือกวัสดพุ ืน้ ห้องควรเปน็ สีอ่อนๆ เพื่อชว่ ยสะท้อนแสงสว่างภายในห้อง ควรใชห้ ลอดประหยดั พลังงานเชน่ หลอดผอม (หลอดฟลูออเรสเซนต์)

1.7 การรดี เสอื้ ผา้ ควรรดี จานวนมากในคร้ังเดยี ว รูปที่ 8.3 การประหยดั พลังงานจากการใชเ้ ตารีดไฟฟา้ ทีม่ า: สาระน่ารู้เรือ่ งการอนุรักษพ์ ลงั งาน 2. ด้านสถานศกึ ษา อาคารหรือสถานศึกษามีการใช้พลังงานหลายรปู แบบ เช่น ระบบปรบั อากาศ ระบบไฟฟ้าและแสง สวา่ ง อุปกรณ์สานักงาน เชน่ เครอ่ื งถา่ ยเอกสาร คอมพิวเตอร์ เป็นตน้ หลักการอนุรกั ษ์พลงั งานทีใ่ ช้ใน สถานศึกษาสรุปไดด้ ังนี้ 2.1 การปลูกตน้ ไม้เพมิ่ ความรม่ เงาแก่ตัวอาคารเรียน โดยไมใ่ ห้อาคารถูกแสงแดดโดยตรงจะช่วยให้ ตัวอาคารไมร่ ้อน มีบรรยากาศและส่งิ แวดล้อมที่ดีปลูกหญ้าคลมุ ดิน เพ่ือลดการสะท้อนของแสงเข้าสตู่ ัวอาคาร เรยี น รูปที่ 8.4 การปลกู ต้นไม้บริเวณอาคารเรยี น ท่ีมา: สาระน่ารเู้ รือ่ งการอนรุ ักษพ์ ลังงาน 2.2 ผนังภายในห้องเรียนควรเป็นสขี าว เพราะจะสามารถช่วยใหเ้ รียนมคี วามสวา่ ง 2.3 เลอื กหลอดไฟที่มีวัตต์ต่า พดั ลมตดิ เพดานซ่งึ จะช่วยทาให้เกดิ การหมุนเวยี นของอากาศภายใน

ห้องเรียน 2.4 มีการรณรงค์หรือจดั กจิ กรรมด้านการอนุรักษ์พลงั งานในสถานศึกษา 3. ดา้ นสถานท่ีทางาน มีวิธกี ารประหยัดพลงั งานดังน้ี 3.1 การปอ้ งกันความร้อนเข้าสอู่ าคารโดยเลือกใช้วสั ดุท่ีเป็นฉนวนกนั ความร้อนได้ดีหรือใช้ กระจก หน้าตา่ งชนิดป้องกันรงั สีความร้อนการปลกู ต้นไมใ้ ห้ร่มเงากับผนัง และการทากันสาด เปน็ ตน้ 3.2 ใชส้ อี ่อนในการทาผนังอาคาร 3.3 เลอื กผลิตภณั ฑ์ที่มสี ัญลักษณช์ ่วยรกั ษาสิ่งแวดล้อม เชน่ ปา้ ยฉลากเขียวประหยัดไฟเบอร์ 5 3.4 ติดต้ังสวติ ซ์ไฟให้สะดวกในการเปิดปดิ 3.5 การลดชว่ั โมงการทางานของอุปกรณ์ไฟฟ้า การปิดเครือ่ งทาน้าเย็นก่อนเวลาเลิกงาน 15- 30 นาที 3.6 เครอื่ งปรบั อากาศ ควรตงั้ อุณหภูมิที่ 25oC บรเิ วณทที่ างานทั่วไปและพ้นื ที่สว่ นกลาง ตง้ั อุณหภมู ทิ ่ี 24oC ในบริเวณพ้ืนทท่ี างานใกล้หนา้ ต่างกระจกและต้ังอุณหภูมิท่ี 22oC ในห้องคอมพวิ เตอรซ์ ึ่งการ ปรบั อุณหภมู เิ พ่มิ ทุกๆ 1oC จะช่วยประหยดั พลงั งานรอ้ ยละ 10 ของเคร่อื งปรบั อากาศ 3.7 ควรใช้บนั ไดกรณีขึน้ ลงช้นั เดยี ว การตัง้ โปรแกรมให้ลิฟทห์ ยดุ เฉพาะช้นั คี่ หรอื ชัน้ คู่ เนื่องจาก ลฟิ ทใ์ ช้พลงั งานไฟฟ้ามากในขณะออกตวั 3.8 ควรบารุงรักษาอุปกรณ์อย่างสม่าเสมอโดยการตรวจสอบสภาพอุปกรณ์การทาความสะอาดและ ตรวจสอบรอยรว่ั ตามขอบกระจกและผนงั ทุก 3-6 เดือน 4. ด้านการขนสง่ มาตรการบางประการในการอนุรักษพ์ ลังงานที่ใช้ในดา้ นการขนส่ง ไดแ้ ก่ 4.1 การใชร้ ถร่วมกนั ในเส้นทางเดยี วกัน สลบั กนั นารถออกใชง้ านแลว้ โดยสารไปด้วยกนั 4.2 รว่ มกันรณรงค์ให้ขบั รถยนต์สว่ นตวั นอ้ ยลงหันมาป่ันจักรยาน การใชร้ ถโดยสารประจาทาง 4.3 ใชพ้ ลังงานทดแทน เชน่ ไบโอดีเซล แก๊สโซฮอลล์ เป็นต้น แทนการใช้น้ามันปโิ ตรเลยี ม 4.4 จัดกจิ กรรมรณรงค์เร่ืองวธิ ีประหยดั พลงั งานในการขนสง่ ใหก้ ับบริษทั หรือโรงงาน อตุ สาหกรรม สนับสนุนการวจิ ัยในองค์กร คน้ ควา้ ผลติ ภณั ฑ์ท่เี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม และมปี ระสทิ ธภิ าพในการ ลดการใชพ้ ลังงานจากเช้ือเพลิงฟอสซลิ 4.5 สนบั สนุนการขนสง่ สนิ ค้าของกลุ่มอตุ สาหกรรมทใ่ี ช้พลงั งานหมนุ เวียน 4.6 ปรับปรงุ ระบบการขนส่งสนิ คา้ ให้มีประสทิ ธภิ าพย่งิ ขึ้น จดั ระบบการขนส่งมวลชนภายในเมือง หรอื ระหว่างเมืองใหญ่กบั เมืองบริวารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4.7 ตรวจสอบอุปกรณส์ ภาพเครื่องยนตเ์ ปน็ ประจาเพื่อเป็นการลดการส้นิ เปลอื งนา้ มัน

คะแนน ใบงานท่ี 1 หนว่ ยเรียนรทู้ ี่ ๔ เร่ือง การจัดการเกษตรแบบประหยัดอนรุ ักษพ์ ลงั งานและส่ิงแวดล้อม ช่ือ……………………………………………สกุล……………………………..…………..ระดบั ชั้น…..….….หอ้ ง…….…เลขท่ี……… คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ๑. ความสาคัญของสิ่งแวดลอ้ ม แบ่งออกเป็น ๖ ข้อ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. สมบตั ขิ องสิ่งแวดลอ้ ม มีสมบัติเฉพาะตวั จานวน ๗ ข้อ ดังน้ี ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๓. สิ่งแวดล้อม หมายถึง …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ส่งิ แวดล้อมที่เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ แบง่ ยอ่ ยออกเป็น ๒ ลกั ษณะ ดงั นี้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๕. ส่ิงแวดลอ้ มท่ีมนุษยส์ รา้ งขึน้ แบ่งเปน็ ๒ ลกั ษณะ ดังนี้ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. ดนิ คือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. ประโยชนข์ องดนิ ดินมปี ระโยชน์ตอ่ มนุษยแ์ ละส่งิ มชี ีวิต จานวน ๔ ข้อ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙. การอนุรักษ์ทรัพยากรน้าที่สาคัญ มี ๕ ขอ้ …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐. ประเภทของป่าไมใ้ นประเทศไทย …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………

แบบบันทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ที่……………… เรือ่ ง……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่……… เรอ่ื ง……………………………………………………………….. รายวชิ า……………………………….. ชัน้ …………………………. รหสั วชิ า……………………………………. ครูผูส้ อน นายนา่ นมงคล อินด้วง ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย เวลาท่ใี ช้………ช่ัวโมง ************************* ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้อคน้ พบระหวา่ ง ปญั หาท่ีพบ แนวทางแก้ไข ที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผู้เรยี น ลงชอื่ ..................................................ผสู้ อน (นายนา่ นมงคล อินดว้ ง) ตาแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

แบบบนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ท…ี่ …………… เร่ือง……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ชน้ั …………………………. รหสั วิชา……………………………………. ครูผ้สู อน นายน่านมงคล อินด้วง ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย เวลาทใี่ ช้………ช่ัวโมง ***************************** เมอื่ เสร็จส้ินกจิ กรรมประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดังนี้ (ใหท้ าเครอื่ งหมาย ตามผลการประเมิน) ที่ ประเดน็ ท่ปี ระเมิน ผลการประเมนิ 1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ 2 ความเหมาะสมของเนอื้ หา 3 ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 ความเหมาะสมของสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ท่ีใช้ 5 พฤติกรรม/การมสี ่วนร่วมของนกั เรียน การประเมนิ ดา้ นความรู้ : Knowledge ผลการประเมนิ จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรยี น การประเมนิ การประเมนิ ผล ประเมินผล โดยใช้ คะแนนเต็ม/ คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ ดา้ นต่างๆ เกณฑก์ ารประเมนิ เฉลยี่ ด้านความรู้ : กอ่ นเรียน Knowledge หลงั เรยี น ด้านทกั ษะกระบวนการ : Process การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ : Attitude จานวน ……………… คะแนนเต็ม คณุ ลักษณะ ประเมนิ ผล ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ระดบั ดีขน้ึ ไป อนั พงึ ประสงค์ โดยใช้ ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน จานวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ ดา้ นซ่อื สตั ย์ สุจรติ ดา้ นมีวนิ ัย ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ดา้ นมุ่งม่นั ในการทางาน การประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน จานวน ……………… คะแนนเตม็

ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ปรับปรงุ สมรรถนะสาคญั ประเมนิ ผล ระดับดีขน้ึ ไป โดยใช้ จานวน คดิ เป็นร้อยละ (คน) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ปัญหาอุปสรรค ท่คี ้นพบระหว่างทมี่ ีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้ ด้านเนอ้ื หา : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………..………………….. ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………….. ด้านส่ือประกอบการเรียนรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..….. ด้านพฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของนักเรยี น : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..…..


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook