Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปกิจกรรมข่วงวัฒนรรม-บ้านหลุยส์ (ปรับ)

สรุปกิจกรรมข่วงวัฒนรรม-บ้านหลุยส์ (ปรับ)

Published by clac dusit, 2022-02-17 03:59:28

Description: สรุปกิจกรรมข่วงวัฒนรรม-บ้านหลุยส์ (ปรับ)

Search

Read the Text Version

ตามท่ีสานักงานคณะกรรมาการวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) 2 . โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ล า ป า ง ศึ ก ษ า ( Lampang Study) โ ด ย มี และสานักงบประมาณมกี าหนดการลงตรวจเย่ียมเพ่ือรับฟงั ข้อมูลรายงานผลการ วตั ถุประสงค์ ดาเนนิ งานดา้ นการวิจยั ในพื้นที่จังหวัดลาปาง แพร่ และน่าน ในวันท่ี 2-3 ธันวาคม 2564 และในวันที่ 3 ธันวาคม 2564 เวลา 08.30-12.30 จะลงเยี่ยมตรวจ - เพ่ือจดั การความร้ฐู านภูมสิ งั คมวัฒนธรรมจงั หวดั ลาปาง โค รงก ารที่ได้รับก ารสนับสนุนงานวิจัยจากหน่วยบริหารแ ละจัดการทุนด้านการ - เพ่ือจัดทาคลังขอ้ มลู และหอ้ งสมุดลาปางศึกษา (Library) พัฒนาระดบั พ้ืนท่ี (บพท.) - เพื่อจัดทาฐานขอ้ มูลบรรณานกุ รมลาปางศึกษาและสารานกุ รม ชุด 5 ภมู วิ ัฒนธรรมในรูปแบบ Open Data บนเว็บไซต์และ E-BOOK มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต ได้รบั ทุนสนบั สนุนจาก บพท. จานวน 2 โครงคอื - เ พ่ื อ วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า แ ล ะ มู ล ค่ า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม แ ล ะ ทรัพยากรธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อมจากฐานชุดความรู้ 5 ภมู ิวฒั นธรรม จากภูมิ 1. โครงการวิจัย การพั ฒนาเมืองลาปางสู่เมืองแห่งการเรียนรู้จากฐานภูมิ หลังสภู่ มู อิ นาคต ทางสงั คมและวัฒนธรรม (Lampang Learning City) โดยมีวัตถปุ ระสงค์ - เพื่อนาเสนอฉากทัศน์ชุดภาพอนาคตลาปาง วิสัยทัศน์ และข้อเสนอ เชงิ นโยบาย - เพ่ือพัฒนาระบบและกลไกในการพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้จากฐานภูมิ ก ร อ บ ก า ร น า เ ส น อ นิ ท ร ร ศ ก า ร ล า ป า ง เ มื อ ง แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ทางสงั คมวฒั นธรรมโดยกระบวนการมสี ่วนร่วม เพื่ อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในคร้ังน้ีเร่ิมจากการนาเสนอระบบและกลไก ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น เ มื อ ง ใ น รู ป แ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย ก า ร เ รี ย น รู้ - เพ่ือพัฒนาพ้ืนที่การเรียนรู้ของเมือง (Learning Space) ในย่านเมือง SHOWCASE การทางานของเครือข่ายเพื่อเสนอการดาเนินงานการส่งเสรมิ สาคัญของลาปางในการยกระดับเศรษฐกิจท้องถิ่นและคุณภาพชีวิตของคน การเรียนรู้ของเครือข่ายในรูปแบบนิทรรศการ กระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในพ้ืนที่อยา่ งเปน็ รปู ธรรม การสาธิตและกิจกรรมเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ นาเสนอการพัฒนาพ้ื นท่ี การเรียนรู้และพิ พิ ธภัณฑ์มีชีวิตย่านสบตุ๋ย และพั ฒนาพื้ นท่ีการเรียนรู้และ - เพ่ื อสร้างแบรนด์อัตลักษณ์เมืองลาปางให้เป็นท่ีรู้จักและสร้างเสน่ห์ กระบวนการสร้างคุณค่าจากทุนทางสังคมวฒั นธรรมเพ่ือสรา้ งมูลค่าเพ่ิมทาง ทางการท่องเท่ียว เศรษฐกิจดว้ ยเสนห่ ท์ างการทอ่ งเทยี่ ววิถชี ีวิตย่านท่ามะโอ รวมทั้งการนาเสนอ แผนท่ีความรู้ (Knowledge Map) โดยนาเสนอ Knowledge Structure Map ผ่าน 5 ภมู วิ ัฒนธรรม



1. กระบวนการขบั เคลอ่ื นลาปางเมอื งแห่งการเรียนรู้และลาปางศึกษา 1.1 การขับเคลื่อนพั ฒนาระบบและกลไกในการพั ฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้จากฐานภูมิทางสังคมวัฒนธรรม โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ในการขับเคลื่อนการพั ฒนาระบบและกลไกเมืองแห่งการเรียนรู้ เร่ิมด้วยกระบวนการสร้างเครือข่ายลาปางเมืองแห่งการเรียนรู้ จัดเวทีเสวนา Lampang Learning City สร้างความรู้ความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการนาเสนอแนวคิดการพั ฒนา เมืองแห่งการเรียนรตู้ ามแนวคิดของ “สถาบนั การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ” หรอื UNESCO Institute for Lifelong Learning (UIL) กิจกรรม Lampang Talk Series กจิ กรรม LAMPANG SHOWCASE รูปแบบออน์ไลน์ แต่งตัง้ คณะกรรมการและคณะทางาน ขับเคล่ือนลาปางไปสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ศักยภาพและความพร้อมของจังหวัด เพ่ื อกาหนดกรอบทิศทางในการ ขับเคลื่อนลาปางไปสเู่ มืองแห่งการเรียนรู้ จัดทาแผนปฏบิ ัติการ แผนงานโครงการ กิจกรรมภายใต้กรอบทิศทางในการขับเคล่ือน ลาปางไปส่เู มืองแห่งการเรยี นรรู้ ่วมกัน และจดั ทาแผนแม่บทในการขบั เคลือ่ นลาปางไปสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ ในการพั ฒนาระบบและกลไกเมืองแห่งการเรียนรู้ยังได้ขับเคลื่อนอย่างต่อเน่ืองผ่านกิจกรรมของเครือข่ายใน หลากหลายรูปแบบ อาทิ กิจกรรม Learning space เรียนรู้อัตลักษณ์ลาปาง เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดนิทรรศการ สาธิต แหล่งเรียนรู้ของลาปาง โดยแต่ละเครือข่ายได้ดาเนนิ การขับเคลอื่ นในบทบาทของตนเองและสอดคล้องกับแนวทางในการ พั ฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ กิจกรรม Story Telling ลาปางเมืองแห่งการเรียนรู้ ในหลากหลายระดับท้ังในระดับชุมชน จนถึง ระดับจังหวัด เพ่ื อให้ความรู้เชิงทฤษฎี ลงสารวจพ้ื นท่ีจริงนาโดยผู้เช่ียวชาญ สังเคราะห์ข้อมูลจัดทาเร่ืองเล่า ฝึกปฏิบัติจริงใน สถานทีจ่ รงิ กจิ กรรมเรียนร้นู ่งั รถรางแลเมอื งเกา่ ลาปาง 3 ยคุ ใหก้ ับกลุ่มเดก็ และเยาวชน และผู้สนใจทวั่ ไป รวมท้งั กจิ กรรมต่างๆ ทเ่ี ครอื ขา่ ยทง้ั ภาครฐั และเอกชน ภาคประชาสงั คมขับเคลอ่ื นอย่างตอ่ เนอื่ ง

1.2 การขบั เคลอ่ื นกระบวนการลาปางศึกษา กระบวนการลาปางศึกษาเริ่มต้นด้วยกระบวนการการจัดการความรู้เพ่ื อจัดทาแผนท่ีความรู้เมืองลาปาง (Mapping Lampang) โดยการสารวจและจัดทาฐานข้อมูลบุคคล เครือข่าย แหล่งเรียนรู้ (Knowledge Sources Map) และ สารวจและ รวบรวม จัดทาบรรณานุกรม เอกสาร งานวิชาการ บทความ หนังสือ งานวิจัยเก่ียวกับลาปาง (Knowledge Asset Map) จัดทาแผนท่ีโครงสร้างความรู้ และฐานข้อมูลชุดความรู้ 5 ภูมิวัฒนธรรม ( Knowledge Structure Map) และจัดทาระบบ ฐานข้อมูล Open Data และสื่อรูปแบบต่างๆ ในลักษณะ ท้ังในระบบฐานข้อมูล เว็บไซต์ และ E-BOOK รวมท้ังการวิเคราะห์ วิเคราะหค์ ุณค่าและมลู ค่าทางเศรษฐกิจ มนุษย์และสงั คม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเชื่อมโยงต่อเนือ่ งอดีต ปัจจบุ ันและ อนาคต วิเคราะห์จากภูมิหลังสู่ภูมิอนาคตเพ่ื อกาหนดทิศทางพั ฒนาเมืองบนฐานขององค์ความรู้ ( Historical Future Study) นาไปใช้สาหรบั การวเิ คราะห์ในเชิงอนาคตศึกษาเพื่อพัฒนาเป้าหมายหรือภาพอนาคตของเมือง

1.3 การขับเคลอ่ื นการพั ฒนาพื้ นที่การเรยี นรู้ของเมือง (Learning Space) 1.3.2 พั ฒนาพ้ื นท่ีการเรียนรู้และกระบวนการสร้าง ในย่านเมืองสาคัญของลาปาง คุณค่าจากทุนทางสังคมวัฒนธรรมเพื่ อสร้างมูลค่าเพ่ิมทาง เศรษฐกจิ ด้วยเสนห่ ท์ างการท่องเท่ียววถิ ชี ีวิตยา่ นท่ามะโอ โดย ในการวิจัยครั้งนี้ได้กาหนดพ้ืนท่ีในการพัฒนานาร่อง 2 พื้นท่ีคือ พ้ืนที่ เริม่ จากกระบวนการศึกษาฐานภูมิทางสังคมวัฒนธรรมผ่าน 5 ยา่ นสบตุย๋ และพ้ืนทย่ี ่านทา่ มะโอ ภายใตโ้ ครงการย่อย 2 โครงการคอื ภมู ิวัฒนธรรมของย่านท่ามะโอและจัดทาแผนท่ีทางวฒั นธรรม จ า ก ฐ า น ภู มิ ท า ง สั ง ค ม วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ย่ า น ท่ า ม ะ โ อ 1.3.1 การพั ฒนาพื้ นที่การเรียนรู้และพิ พิ ธภัณฑ์มีชีวิตย่านส บตุ๋ย (CULTURAL KNOWLEDGE MAP) พัฒนาพื้นท่ีการเรียนรู้ โดยเรม่ิ จากกระบวนการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ “สบต๋ยุ ยา่ นเศรษฐกิจสาคัญลาปาง และกระบวนการสร้างคณุ ค่าจากฐานภูมทิ างสังคมวัฒนธรรม กับพั ฒนาการและการธารงอยู่” เพื่ อจัดทาฐานความรู้ชุดข้อมูล 5 ภูมิ ย่านท่ามะโอ รปู แบบการบริหารจัดการ รูปแบบการจดั กิจกรรม วัฒน ธรรม ประกอบด้วย ภูมิหลัง ภูมิเมือง ภูมิวงค์ ภูมิธรรม จัดทา และปฏทิ นิ การจัดกิจกรรม จัดกจิ กรรม “ขว่ งผญา่ ภมู ิปัญญา Knowledge Map ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม เ ว ที ส า ธ า ร ณ ะ ( Lampang Public ท่ามะโอ” เปิดพ้ื นที่การเรียนรู้ใหม่ “นิทรรศการหมุนเวียนบ้าน Forum) สบตุ๋ยในมุมมองจากภูมิหลังสู่ภูมิอนาคต แลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ื อ ห ลุ ย ส์ ” พั ฒ น า AR Tourism Guide Book ส ร้ า ง เ ส น่ ห์ กาหนดรูปแบบและออกแบบพิ พิ ธภัณฑ์มีชีวิต ออกแบบสื่อ จัดนิทรรศการ ทางการท่องเที่ยวชุมชนท่ามะโอและมูลค่าเพิ่ มทางเศณษฐกิจ จัดกิจกรรม สื่อประชาสัมพันธ์ และจัดทาเส้นทางพิพิธภัณฑ์มีชีวิตย่านสบตยุ๋ สร้างกลไกการพั ฒนาชุมชนพื้ นที่ให้เกิดความย่ังยืนสร้าง ประกอบดว้ ย พิพิธภัณฑ์กนิ ได้ อาหารในตานานย่านสบตุ๋ย พิพิธภณั ฑเ์ ปิดบ้าน อาชีพและรายได้ต่อยอดจากกิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น การ เก่าเล่าความหลัง พิพิธภณั ฑ์ถนนความรู้ (เรียนรวู้ ิถชี วี ติ ผคู้ นและแหลง่ เรียนรู้ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ กิจกรรมตลาด ย่าน ) SDU Learning space เปิดพื้ นที่ต้นแบบการเรียนรู้ เพื่ อ พั ฒ น า ชุมชนโดยสร้างโมเดลการพั ฒนาชุมชนโดยคนในชุมชนใน ศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต จัดกิจกรรมและรูปแบบการเรียนรู้ รูปแบบ Social Enterprise ค ล อ บ ค ลุ ม คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ส า คั ญ ท่ี จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร เ ป็ น เ มื อ ง แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ 6 ประการ ตามทอ่ี งค์การยเู นสโก เปดิ พื้นท่กี ารเรียนรู้ กจิ กรรมความรู้ท่ีสร้าง รายได้ พัฒนาอาชีพสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่เพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ต ล า ด นั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ค น ส า ม วั ย ( 3 GEN), SDU Library Park , SDU Learning space For all กิจกรรมการพัฒนาทักษะและอาชีพเพื่อการเรียนรู้ เพ่ื ออนาคต กิจกรรมเรียนรู้สร้างสรรค์ สารพั นทักษะให้กับโรงเรียนในพื้นท่ี สบตยุ๋ กจิ กรรม Cooking is my passion

การประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารเครอื ข่ายลาปางเมืองแห่งการเรียนรู้ จดั ทาแผนปฏบิ ัติการ และคมู่ อื ปฏบิ ตั งิ านในการขบั เคลื่อนงานและกรอบในการจดั กิจกรรม กิจกรรมประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เครอื ขา่ ยลาปางเมอื งแหง่ การเรยี นรู้



เวทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรู้ “สบตุ๋ยย่านเศรษฐกจิ สาคัญลาปางกบั พัฒนาการ และการธารงอยู่เครือข่ายลาปางเมอื งแห่งการเรยี นรู้”

กระบวนการศึกษาฐานภูมทิ างสังคมวฒั นธรรม ผา่ น 5 ภมู ิวฒั นธรรมของย่านท่ามะโอ และจัดทาแผนท่ีทางวัฒนธรรมจากฐานภูมิทางสังคม วฒั นธรรมของยา่ นทา่ มะโอ

เวทีเสวนา Lampang Learning City กิจกรรม Lampang Talk Series หัวขอ้ “Lampang Talk Lampang Craft” ผา่ นระบบออนไลน์ทาง Facebook Live : Lampang Learning City

เวทสี าธารณะ (Lampang Public Forum) สบตยุ๋ ในมุมมองจากภูมหิ ลังสูภ่ ูมอิ นาคต

กจิ กรรมเสวนา หวั ข้อ “เล่าใหห้ ลานฟงั เร่อื งความหลงั กาดเกา๊ จาว”

กจิ กรรม SDU Library Park กิจกรรมอบรมปฏิบัติการ “สร้างสรรคง์ าน Craft กบั ล้านนาสไตล”์

SDU Learning space For all กจิ กรรม Cooking is my passion ครั้งที่ 1 อบรมปฏิบตั กิ ารขนมปุยฝา้ ย

SDU Learning space For all กจิ กรรม Cooking is my passion คร้งั ที่ 2 อบรมปฏิบัตกิ าร “บะ๊ จ่างสูตรโบราณ อาหารในตานานย่านสบตุย๋ ”

2. ผลลัพธ์ (Output) ท่ไี ดจ้ ากการดาเนนิ กิจกรรม 2.1 เกิดระบบและกลไกการทางานรูปแบบเครือข่ายในการพั ฒนาเมือง คณะทางาน 35 เครือข่าย ร่วมขับเคล่ือนกิจกรรม ท่เี ชอื่ มโยงและสนับสนนุ เมืองแห่งการเรยี นรู้ 2.2 เกิดภาพอนาคตและทิศทางการพั ฒนาร่วมกันของเมือง ในการขับเคลื่อนการพั ฒนาลาปางเมืองแห่งการเรียนรู้ โดยกระบวนการมสี ่วนร่วมจากทุกภาคส่วนอยา่ งเปน็ รปู ธรรม 2.2.1 การขับเคลื่อนลาปางสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ ถูกกาหนดไว้ในวิสัยทัศน์จังหวัดลาปาง ในการดาเนินงา นของ เครอื ข่ายไดส้ นับสนุนแนวคดิ เข้าสู่แผนพัฒนาจังหวดั และปรับวิสยั ทัศน์และทิศทางในการพัฒนาจาก “ลาปางเมอื งน่าอยู่ นครแห่ง ความสุข” เป็น “ลาปางเมืองแห่งการเรียนรู้ สร้างสรรค์ น่าอยู่ ย่ังยืน” โดยเน้นกระบวนการพั ฒนาจังหวัดบนฐานของความรู้ ต่อยอดสร้างคุณค่าทางสังคมและสร้างมูลค่าเพ่ิ มจากเศรษฐกิจจากฐานภูมิทางสังคมวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการพั ฒนาเชิง สร้างสรรค์และสร้างดุลยภาพในการพั ฒนาทุกมิติ 2.2.2 การขับเคลื่อนลาปางสเู่ มอื งแห่งการเรียนรู้ ถกู กาหนดเปน็ หนึ่งในยุทธสาสตร์ของเทศบาลนครลาปาง ภายใต้ วิสัยทัศน์ “เมืองลาปางเป็นบ้านท่ีมีความสุขของทุกคน”“A happy home for all”เมืองน่าอยู่ เรียนรู้ นวัตกรรม สร้างสรรค์ ย่ังยืน ในยุทธศาสตร์ที่ 2 : ส่งเสริมการเรียนรู้และพั ฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยเพื่ อไปสู่เมืองแห่งการเรียนรู้และคนคุณภาพ (City of learning and quality people) เน้นการพั ฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้ตลอดชีวิต และการพั ฒนาการเรียนรู้และเปิดพ้ื นที่การเรียนรู้ของเมืองในหลากหลายรูปแบบรวมทั้งปรับปรุงระบบนิเวศน์ พื้ นท่ีสาธารณะของเมืองที่เอ้ือต่อการเรียนรู้และการใช้ชวี ิต โครงการการกาหนดแผนงานโครงการไว้อย่างชัดเจนพร้อมนาสู่การ ปฏบิ ัติอยา่ งเปน็ รูปธรรม





2.3 เกิดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์จากฐานภูมิทางสังคมและวัฒนธรรมท่ี สร้างคุณค่าทางสังคมและมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ เพ่ือยกระดับเศรษฐกิจ ท้องถ่ินและคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อสร้าง แบรนดอ์ ัตลกั ษณ์เมอื งลาปางให้เป็นที่รจู้ ักและสร้างเสนห่ ท์ างการทอ่ งเที่ยว 2.3.1 จิบชานงั่ รถมา้ ชมเมือง เปน็ กิจกรรมท่ีเกิดจากการแลกเปล่ียน เรียนรู้กับชุมชน พบปัญหาที่เกิดข้ึนของชุม ชนที่ได้รับผลกระท บ จาก สถานการณ์โควดิ -19 ของกลมุ่ ผปู้ ระกอบการรา้ นค้าและผปู้ ระกอบการรถม้า ในพื้ นท่ีท่ีขาดรายได้ นักวิจัยและชุมชนจึงร่วมกันออกแบบกิจกรรมเพ่ื อ ช่วยแก้ปัญหา ซี่งเป็นกิจกรรมท่ีได้รับความสนใจ มีการขยายผลต่อยอด และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ร้านค้า ผู้ประกอบการรถม้ามีรายได้ เพิ่มขึน้ เกดิ กระแสการอนรุ กั ษแ์ ละสร้างเสนห่ ์ทางการทอ่ งเทย่ี วของลาปาง 2.3.2 กองคราฟท์ เป็นกจิ กรรมทีเ่ ริม่ จากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ของ พื้ นท่ีที่อยากเห็นลาปางเกิดกลุ่มคนทางานคราฟท์เพ่ิ มข้ึน ประกอบกับ ผลกระทบสถานการณโ์ ควดิ -19 สง่ ผลให้เดก็ รุน่ ใหมห่ รือคนทางานต่างพื้นท่ี ตกงานและเดินทางกลบั บ้าน นกั วจิ ยั และชมุ ชนจึงได้ริเร่ิมจัดกิจกรรม กอง คราฟท์ ซ่ึงเป็นตลาดงานคราฟท์แห่งแรกของลาปาง และได้รับความนิยม อยา่ งรวดเรว็ เกดิ กระแสการตอบรับจากคนรนุ่ ใหม่ กลายเปน็ จุดเช็คอินแห่ง ใหม่ของลาปางทส่ี รา้ งเสน่ห์ทางการท่องเทย่ี วและมลู คา่ เพิ่มทางเศรษฐกจิ 2.3.3 ครั่งรักษ์ลาปาง เป็นกิจกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้อัตลักษณ์ พื้ นท่ี ท่ีนามาสู่การต่อยอดเชิงสร้างสร้างสรรค์ ลาปางเป็นแหล่งผลิต ผลิตภัณฑ์จากคร่ังที่ใหญ่ที่สุด เจ้าแรกและเจ้าเดียวในประเทศไทย โดยมี ประเภทของสินค้าคือ คร่ังเม็ดแปรรูป และ สีผสมอาหาร สกัดจากคร่ัง ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ก า ร ผ ลิ ต แ ช ล แ ล็ ค ข า ว ช นิ ด Bleached Shellac (Dewaxed) เกรดอุตสาหกรรมอาหารและยา ส่งจาหน่วยทั่วโลก ซึ่งทีม วจิ ยั ได้นาผลิตภัณฑ์จากครั่งมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ในหลากหลายรูปแบบเพื่อ ส่งเสรมิ อาชพี และสรา้ งแบรนด์อัตลักษณ์

3. รปู แบบและรายละเอยี ดนทิ รรศการ 3.1 ระบบและกลไก การนาเสนอการพัฒนาระบบและกลไก ใชก้ ระบวนการนาเสนอผา่ นการทางานของเครอื ขา่ ย เพ่ือใหเ้ ห็นถึงพลงั การเรียนรู้รว่ มกนั ของเมืองในรปู แบบ SHOWCASE Lampang Learning City นาเสนอการดาเนนิ งานด้านสง่ เสรมิ การเรียนรูข้ องเครือขา่ ยในรปู แบบนิทรรศการ กระบวนการแลกเปล่ยี นเรียนรกู้ ารสาธติ และกิจกรรมเรยี นรู้ในหลากหลายรูปแบบ 3.1.1 เครอื ขา่ ยรกั ษเ์ มืองเก่า นาเสนอกระบวนการเรียนรขู้ องเมืองของเครือข่ายในการขบั เคลื่อนเมอื งแห่งการเรยี นรู้ 3.1.2 เครือข่ายท่องเที่ยวโดยชุมชน สมาคมท่องเที่ยวโดยชุมชนและการท่องเที่ยวและกีฬาจงั หวัด นาเสนอกระบวนการเรียนรู้ชุมชนโดยเครือข่ายการเรียนรู้ เพื่อเข้าใจถึงศักยภาพความพรอ้ มในการพัฒนาและเรียนรู้เพ่ือพัฒนาตอ่ ยอดร่วมกัน 3.1.3 เครือขา่ ยท่องเทย่ี วเพื่อการเรียนรู้ เครอื ข่ายทอ่ งเท่ียวจังหวัดลาปาง เชอ่ื มเส้นทางทอ่ งเทีย่ วเพื่อการเรยี นรู้ เกษตรเพื่อการเรียนรู้ อตุ สาหกรรมเพื่อการ เรียนรู้ และแห่งเรียนรูใ้ นลาปางและลาปางศึกษา 3.1.4 เครอื ขา่ ยผสู้ งู อายุ สาขาสมาคมสภาผ้สู งู อายุแห่งประเทศไทย จงั หวัดลาปาง ศพอส.อบจ. ลาปาง และศูนยพ์ ัฒนาการจัดสวัสดกิ ารสังคมผู้สงู อายลุ าปาง นาเสนอ แผนที่ภูมิปญั ญา และงานขับเคลอื่ นโรงเรียนผสู้ ูงอายุเพ่ือขบั เคลอ่ื นเมืองแห่งการเรียนรู้และลาปางศึกษา จดั กิจกรรม ผสู้ งู อายุ รว่ มใจ สรา้ งพลัง ปานั่งรถ มา้ เลาะเมืองลาปาง เตวจา่ ยกาดก้อม เลอื กซ้ือเลือกจมิ ของก๋ินบ้านเฮา ผ่อการแสดงดนตรี สูงวยั ปล่อยของ ประลองลกู หลาน จน่ื บานฮอมฮกั ฮีตฮอยดีงาม 3.1.5 เครือข่ายพุ ทธศิลป นาเสนอกระบวนการเรียนรู้ งานพุ ทธศิลป์ งานสถาปัตยกรรมสกุลช่างลาปาง สกุลช่างเชียงแสน แลพิ พิ ธภัณฑ์ท้องถิ่น ประเพณี ความเช่อื 3.1.6 เครอื ข่ายลาปางพัฒนาเมือง และเทศบาลนครลาปาง นาเสนอแผนงานโครงการขบั เคลือ่ นเมืองแหง่ การเรยี นรู้ 3.1.7 เครอื ข่ายเยาวชน นาเสนอรปู แบบการเรยี นรู้ของเมอื งวถิ ีใหม่

3.2 ลาปางศึกษา ลาปางศกึ ษานาเสนอ ผา่ นกลไกลาปางเมืองแห่งการเรียนรขู้ องเครือข่าย และนาเสนอรปู แบบนิทรรศการ Knowledge Structure Map แผนที่โครงสร้างความรู้ และ ฐานขอ้ มลู ชดุ ความรู้ 5 ภูมิวฒั นธรรมในรูปแบบนิทรรศการและ E-BOOK ประกอบด้วย ภูมิหลงั (local history) นาเสนอประวตั ศิ าสตร์เมอื งลาปาง 5 ยคุ ภมู เิ มอื ง (dynamic town) นาเสนอเสนห่ ์ลาปาง และย่านสาคญั ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละเศรษฐกจิ ภมู ิวงศ์ (local intellectuals) นาเสนอ Knowledge Sources Map ดา้ นบุคคลสาคัญของจังหวดั ภูมิธรรม (religious and traditional beliefs) นาเสนอนิทรรศการศาสนา ความเช่ือ จารีตประเพณีพื้นถนิ่ ของเมืองลาปางที่ชาวบ้านยดึ ถือ ภูมิปัญญา (local wisdom) นาเสนอวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา หรือองค์ความรู้จากท้องถิ่นในสาขาดา้ นต่าง ๆ ท่ีถูกพั ฒนาขึ้นมาโดยประชาชนในเมือง ลาปางยุคสมยั ตา่ ง ๆ แบ่งขอบเขตความรู้ของภูมปิ ัญญา ไวด้ งั นี้ - วถิ ีชวี ิตภูมิปัญญาคนลาปาง วิถแี ห่งผา้ และอาหาร - “รา่ เปิงลาปาง” บทเพลงภมู ิปญั ญา สะท้อนบริบทอัตลักษณ์วิถวี ัฒนธรรมเมอื งลาปาง - รถม้าลาปาง ภูมิปญั ญาที่มาพรอ้ มกบั ความทันสมยั และความรุ่งเรอื งของนครลาปาง - เคร่อื งป้ นั ดินเผาลาปาง (เซรามิก) ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินสูอ่ ุตสาหกรรมเศรษฐกิจระดับโลก - ภูมิปญั ญาแห่งศรทั ธาและความเชื่อศลิ ปหตั ถกรรมการทาโคม ตงุ - งานพุ ทธศิลป์ งานสถาปตั ยกรรมสกุลช่างลาปาง สกลุ ชา่ งเชียงแสน - ก๋องปจู า ดุริยศิลป์ที่โดดเดน่ และเปน็ เอกลักษณ์ของเมืองลาปาง - หตั ถกรรมตดี าบบ้านขามแดงภมู ิปญั ญาช่างตดี าบในตานาน - ภมู ปิ ัญญาแห่งความเช่อื และความงามแห่งหินแก้วธรรมชาติ “แก้วโปงขา่ ม 3.3 การพั ฒนาพื้ นทีก่ ารเรยี นรขู้ องเมือง (Learning Space) ในย่านเมืองสาคญั ในการพัฒนาพ้ืนทีก่ ารเรยี นรนู้ าเสนอรูปแบบนิทรรศการแผนท่ีความร้แู ละแต่ละพื้นที่ กจิ กรรมสาธิต 5 ภมู ิวฒั นธรรมและการต่อยอดของผลลพั ท์การเรยี นรู้ทเ่ี กิดจาก การวิจยั ประกอบด้วย 1) นิทรรศการการพัฒนาพื้นท่กี ารเรยี นรูแ้ ละพิพิธภณั ฑม์ ชี ีวิตย่านสบตุ๋ย นาเสนอเส้นทางพิพิ ธภัณฑ์มชี ีวติ ยา่ นสบตยุ๋ ประกอบด้วย พิพิธภัณฑก์ นิ ได้ อาหารในตานาน ย่านสบตุ๋ย พิ พิ ธภัณฑ์เปิดบา้ นเก่าเล่าความหลัง พิ พิ ธภัณฑ์ถนนความรู้ (เรียนรู้วิถีชีวิต ผู้คนและแหล่งเรียนรู้ย่าน) และทิศทางการ พั ฒนาของเครือข่ายในการพัฒนายา่ น สบตยุ๋ 2) นิทรรศการการพัฒนาพื้นท่ีการเรยี นรแู้ ละกระบวนการสร้างคณุ ค่าจากทนุ ทางสังคมวัฒนธรรมเพ่ือสร้างมลู ค่าเพิ่ มทางเศรษฐกิจด้วยเสน่ห์ทางการท่องเที่ยววิถี ชวี ติ ย่านทา่ มะโอ นาเสนอ CULTURAL KNOWLEDGE MAP และ AR Tourism Guide Book และกจิ กรรม “ขว่ งผญา่ ภูมปิ ัญญาทา่ มะโอ” 3) นิทรรศการจบิ ชานั่งรถม้าชมเมอื ง เรยี นร้รู ถมา้ ลาปาง กระบวนการเช่อื มโยงการแก้ปญั หาของชมุ ชนและสรา้ งมูลค่าเพิ่มในกจิ กรรม 4) นทิ รรศการกองคราฟท์ นาเสนอทม่ี า กรอบคิดและกระบวนการเครือขา่ ย และมูลค่าเพ่ิมทางเศณษฐกิจ 5) นิทรรศการครัง่ รักลาปาง นาเสนอเสน้ ทางครง่ั ลาปาง และการพัฒนาตอ่ ยอดเพ่ื อเสร้างมูลคา่ เพิ่มทางเศรษฐกิจ













4. สรุปผลการดาเนนิ กิจกรรม การเปิดพื้นทก่ี ารเรยี นรู้ใหมข่ องเมอื ง Lampang Learning space ครัง้ ท่ี 1 ณ ขว่ งหลวงเวียงละกอน (ลานหนา้ มิวเซยี มลาปาง) เปน็ พ้ืนทก่ี ารเรียนรู้ของเมอื งท่ีมเี รอ่ื งราว ประวัตศิ าสตร์ เปน็ ศนู ยก์ ลางและ ใจของเมือง เป็นข่วงวัฒนธรรม เป็นพื้นที่สาหรับให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆของเมืองเพ่ื อสร้างคุณค่าทางสังคม และ มูลค่าเพิ่มทางเศณษฐกิจ รวมท้ังเสน่ห์ทางการทอ่ งเทย่ี ว และได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อ วันที่ 27 พฤศจิกายน 64 โดย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เป็นประธานในการเปิดงาน ในการเดินทางตรวจเย่ียมความก้าวหน้าผลการ ดาเนินงาน “อว. แก้จน : วิจัยและนวัตกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจนและการจัดการทุนทางวัฒนธรรมเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก” และ งานวิจยั ในพื้นท่ีท่ีได้รบั ทุนสนบั สนนุ การวิจัยจากสานกั งานสภานโยบายการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมแห่งชาติ หน่วยบรหิ ารและ จัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นท่ี (บพท.) ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ระหว่าง วันท่ี 27-28 พฤศจิกายน 2564 ณ จงั หวดั ลาปาง โดยภายในงานเป็นการนาเสนอนิทรรศการภายใต้โครงการวิจัย 2 โครงการ คือ โครงงานวิจัยมหาวิทยาลัยศิลปากร :การพัฒนาทุนทาง วัฒนธรรมชุมชน ผ่านกลไกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาสังคม เพื่ อเพิ่ มศักยภาพและพั ฒนาเศรษฐกิจชุมชนในพื้ นท่ี ด้วยบริบท ”การพั ฒนาย่านเมืองเก่าด้วยผลิตภัณฑ์ครัวเรือนจากทุนทางวัฒนธรรมชุมชนเมืองเขลางค์นคร จังหวัดลาปาง” และงานวิจัยมหาวิทยาลัย สวนดสุ ติ :การพัฒนาเมืองลาปางสู่เมืองแห่งการเรียนรู้จากฐานภูมทิ างสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งโครงการวิจัยการพัฒนาเมืองลาปางสู่เมืองแห่ง การเรียนรู้ (Lampang Learning City) ได้นาเสนอผลการดาเนินงาน การพัฒนาเชิงพ้ืนที่ นาร่อง 2 พื้นท่ี คือ พ้ืนท่ีย่านเมืองเก่าสบตุ๋ยและ พื้นท่ียา่ นเมอื งเกา่ ท่ามะโอ ดว้ ยกระบวนการขับเคลื่อนลาปางไปสเู่ มอื งแห่งการเรียนรู้ จากฐานทนุ ทางสังคมและวัฒนธรรม ทง้ั นี้ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ ระบุวา่ อว. มนี โยบายด้านทุนวัฒนธรรมท่ชี ัดเจน และดาเนนิ งานอย่างจริงจงั มาอย่าง ต่อเน่ือง เพราะงานในลักษณะท่ี บพท. ดาเนินการน้ีจะมีส่วนสาคัญในการฟ้ นื ฟู ชุมชนหลังจากที่ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากการระบาดของ โควดิ -19 “การใชง้ านวจิ ยั เป็นฐานมีความสาคัญ เพราะทาให้โครงการต่อยอดทนุ วัฒนธรรมไม่ใช่เรือ่ งทางเศรษฐกิจเพียงด้านเดียว แต่เป็นการสร้าง การทางานร่วมกัน ช่วยให้เกิดนักวิจัยชุมชนแล้วไปเชื่อมโยงกับภาคีต่าง ๆ ทาให้งานของ อว. ขยายไปสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนอย่าง กว้างขวาง เปน็ ไปตามวาระแห่งชาติ BCG ท่ีเน้นการใช้นวตั กรรมตอ่ ยอดทนุ ภูมปิ ัญญาทีม่ อี ยู่เดิม” การดาเนินงานได้รับความสนใจและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนมีเครือข่ายเมืองแห่องการเรียนรู้เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 100 เครือข่าย เกิดกระแสเรื่องการอนุรักษ์วัฒนธรรมและการเรียนรู้ตัวเอง ค้นหาอัตลักษณ์เพื่อสร้างคุณคา่ และต่อยอดทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการพัฒนาระบบ และกลไกในการสร้างความยัง่ ยนื ในการบรหิ ารจดั การพ้ืนท่ี











ครั้งท่ี 2 ณ บ้านหลยุ ส์ ที. เลียวโนเวนส์ เปน็ พ้ืนทก่ี ารเรียนรู้หน่ึงในพื้นท่ยี ่านเมอื งเก่าของเมืองท่ีมเี ร่ืองราว ประวัตศิ าสตร์ เชือ่ มโยงบริบท ทางสังคม วฒั นธรรม และเศรษฐกจิ สาคญั ของเมอื งลาปาง ในวันท่ี 3 ธันวาคม 2564 โดยภายในงานเป็นการนาเสนอนิทรรศการภายใตโ้ ครงการวจิ ยั จาก 3 สถาบนั อุดมศกึ ษา คือ 1) โครงการงานวจิ ยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ประกอบด้วย - โครงการวจิ ัย “การพัฒนาพื้นทยี่ า่ นด้วยทนุ ทางวัฒนธรรมชมุ ชน บนฐานเศรษฐกจิ วฒั นธรรมเชิงสร้างสรรค์” - โครงการวจิ ยั “การพัฒนาทนุ ทางวัฒนธรรมชุมชนผ่านกลไกองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ และประชาสงั คม เพื่อเพ่ิมศกั ยภาพและพัฒนา เศรษฐกจิ ชมุ ชนในพื้นท่ี : การขยายพื้นทีด่ าเนนิ งานเพ่ิมจานวน 20 พ้ืนท”ี่ - โครงการ“การสรา้ งย่านเศรษฐกิจดว้ ยทนุ ทางวัฒนธรรมชมุ ชน เพื่อกระตุน้ เศรษฐกจิ ในพ้ืนที่” 2) โครงการงานวิจยั ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการท่องเท่ยี ว สถาบันวจิ ยั สังคม มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ประกอบดว้ ย - โครงการกลไกการพัฒนาลาปางเมืองนา่ อยู่ สรา้ งสรรค์ 3) โครงการงานวจิ ัยมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ประกอบด้วย - โครงการวิจัยการพัฒนาเมืองลาปางสู่เมอื งแหง่ การเรียนรจู้ ากฐานภูมทิ างสังคมและวัฒนธรรม - โครงการวิจัยลาปางศกึ ษา (Lampang City) โดยในสว่ นของมหาวิทยาลัยสวนดุสติ ได้นาเสนอผลการดาเนินงาน การพัฒนาเชิงพ้ืนที่ นารอ่ ง 2 พ้ืนท่ี คือ พ้ืนทย่ี ่านเมืองเก่าสบตุ๋ยและ พื้นที่ย่านเมืองเก่าท่ามะโอ ด้วยกระบวนการขับเคลื่อนลาปางไปสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ (Lampang Learning City) จากฐานทุนทางสังคมและ วัฒนธรรม ในรปู แบบการจดั นิทรรศการหมนุ เวียน เพ่ือนาเสนอภาพการดาเนินงานขับเคลื่อนอยา่ งเป็นรูปธรรม ได้แก่ - นทิ รรศการหมุนเวียน เปดิ พ้ืนท่กี ารเรยี นรู้บา้ นหลยุ ส์ - นิทรรศการพิพิธภัณฑม์ ชี ีวิตย่านสบตุ๋ย - นทิ รรศการ 5 ภมู ิวฒั นธรรมลาปาง - ข่วงผญาท่ามะโอ (สาธิต Workshop ตุงใย ตุงพญายอ โคมร่วมสมัย ดอกผึ้ง เทียนบูชา สวยดอก อาหารอัตลักษณ์ท่ามะโอ ฮังเล สเี่ ป่ ยี น ข้าวป้ นั กระบองจ่อ ปาลาฉ่อง+เกง๋ เคง ) - น่งั รถม้า รถราง ทดสอบเสน้ ทางท่องเทีย่ ว AR Torusim Guidebook - นทิ รรศการกองคราฟท์ คนคราฟทล์ าปาง - นิทรรศการเส้นทางครัง่ ลาปาง จากภูมอิ ดตี สภู่ มู ิอนาคต - รว่ มกิจกรรมการเรยี นรูก้ ับเครอื ข่ายท่องเทยี่ วโดยชมุ ชน เครอื ขา่ ยผสู้ ูงอายุ













5. สรปุ บทเรยี น จากการขับเคล่ือนเมืองแห่งการเรียนรู้และการ ทางานรว่ มกับเครือข่ายในหลากหลายรูปแบบ นาไปส่กู าร สรุปบทเรียนในเบื้องต้นซ่ึงเป็นกระบวนการเชิงคุณคา่ ท่ี นาไปใชใ้ นการขับเคล่ือนการพัฒนาเมอื งลาปางไปสู่เมือง แห่งการเรียนรู้ร่วมกันในรูปแบบกระบวนการ โดยเร่ิม จาก - เรยี นรตู้ วั เอง (รจู้ ัก เขา้ ใจ เห็นศักยภาพ) - เรียนรู้ร่วมกัน (ผ่านกิจกรรมเรียนรู้ที่หลากหล าย ต่อเนือ่ ง) - ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ สึ ก ก า ร เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง ร่ ว ม (ผ่านกระบวนการมสี ว่ นรว่ มในทกุ กระบวนการ) - ก า ห น ด ทิ ศ ท า ง ก า ร พั ฒ น า ร่ ว ม กั น ข อ ง เ มื อ ง (ผ่านการกาหนดภาพอนาคตและวิสยั รว่ มของเมือง) - ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง เ มื อ ง (ผ่านกระบวนการบรู ณาการทางานร่วมกันของเครอื ขา่ ย) - สร้างความเชื่อม่ันและยอมรับในกระบวนการขบั เคลอ่ื น ( ผ่ าน กระบวนการขั บเคลื่อน เมืองเข้ าสู่ การสมาชิก เครือข่ายระดับโลกด้านเมืองแห่งการเรียนรู้ของยูเนสโก ( The UNESCO Global Network of Learning Cities - GNLC)) - สร้างคุณค่าให้เกิดขึ้นในภาพรรวม (ผ่านกระบวนการ สร้างคณุ ค่าในการขับเคล่อื นเมือง ผ่านกระบวนการสรา้ ง มูลค่าเพิ่ มทางเศรษฐกิจ พั ฒนาต่อยอดเชิงสร้างสรรค์ และเรียนรู้ และผ่านกระบวนการสร้างความเข้มแข็งและ ย่ั ง ยื น ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สง่ิ แวดล้อม)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook