Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3 การดำรงชีวิตของมนุษย์

3 การดำรงชีวิตของมนุษย์

Published by Sudaporn Suboonpiam, 2023-04-16 05:54:10

Description: 3 การดำรงชีวิตของมนุษย์

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 1 โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบุญเปี่ยม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 2 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่ือง การดำรงชีวิตของมนษุ ย์ แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี1 เร่ือง การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในรา่ งกาย รายวิชา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ รหัสวิชา ว31101 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 น้ำหนักเวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ เวลาทใ่ี ช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคัญ ไต (kidney) เปน็ อวยั วะสำคัญในการรักษาสมดลุ ของน้ำและเกลอื แร่ในร่างกาย ภายในไตมีหน่วยไต ทำหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด โดยเลือดเข้าสู่ไตหลอดเลือดรีนัลอาร์เตอรีและแตกแขนงเป็นโกล เมอรลู สั น้ำเลือดและโมเลกุลของสารตา่ ง ๆ ท่อี ยใู่ นน้ำเลือดจะออกจากโกลเมอรลู ัสเข้าสูโ่ บวแ์ มนส์แคปซูล ซึ่งจะมเี ฉพาะของเหลวและสารโมเลกลุ ขนาดเลก็ เชน่ กลโู คส กรดอะมิโน ท่ผี า่ นการกรองของโกลเมอรูลัส แต่ สารโมเลกุลขนาดใหญ่ เชน่ เซลล์เมด็ เลือดแดง โปรตนี จะไม่ผ่านการกรอง จากนัน้ ของเหลวจะเข้าสู่ท่อหน่วย ไตซง่ึ จะมกี ารดูดสารที่มีประโยชน์ เชน่ กลโู คส กรดอะมิโน น้ำ และไอออนของเกลือแร่ กลบั เข้าสู่หลอดเลือด อีกครั้ง จากนั้นของเหลวที่ผ่านท่อไตแล้วจะไปรวมกันในกระเพาะปัสสาวะเป็นน้ำปัสสาวะเพื่อขับออกจาก ร่างกายตอ่ ไป การทำงานของไต ในการควบคุมสมดุลของน้ำและเกลือแร่ต่าง ๆ ในเลือด จะถูกควบคุมด้วยสมอง สว่ น ไฮโพทาลามัส ซึ่งจะไปกระตุ้นหรอื ยับยั้งการหล่งั ฮอรโ์ มนแอนติไดยูเรติกจากตอ่ มใตส้ มองสว่ นหลัง โดย เมื่อร่างกายขาดน้ำหรือมีน้ำในเลือดน้อย เลือดจะมีความเข้มข้นมากกว่าปกติ ทำให้ความดันเลือดต่ำ รู้สึก กระหายนำ้ สง่ ผลให้สมองส่วนไฮโพทาลามสั กระตนุ้ ต่อมใต้สมองส่วนหลงั ใหห้ ลัง่ ฮอรโ์ มนแอนติไดยเู รติก ซงึ่ ไป กระตุ้นการดดู น้ำกลับที่ท่อหน่วยไต ส่งผลใหป้ รมิ าณน้ำในเลือดและความดันเลอื ดสูงข้นึ และปัสสาวะออกมา น้อย แต่หากร่างกายได้รับน้ำมากเกินไป สมองส่วนไฮโพทาลามัสจะยับยั้งต่อมใต้สมองส่วนหลังไม่ให้หล่ัง ฮอรโ์ มนแอนตไิ ดยูเรติก ทำใหไ้ มม่ ีการดดู กลับน้ำ จงึ ปัสสาวะออกมามาก 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชัน้ ป/ี ผลการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสง่ิ มชี ีวิต หน่วยพ้นื ฐานของสง่ิ มีชวี ิต การลำเลียงสารผา่ นเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนษุ ยท์ ีท่ ำงานสมั พันธก์ นั ความสมั พนั ธ์ ของโครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชทท่ี ำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ม.4/2 อธิบายการควบคุมดุลยภาพของนำ้ และสารตา่ ง ๆ ในเลอื ดโดยการทำงานของไต โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบุญเป่ยี ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 3 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลกั : Knowledge 1) อธบิ ายสว่ นประกอบของหน่วยไตได้ 2) อธิบายการกรองของเสียออกจากเลอื ดได้ 3) อธิบายการรกั ษาสมดุลของนำ้ และสารต่าง ๆ ในเลือดโดยการควบคุมของสมองสว่ น ไฮโพทาลามัสได้ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) เขยี นขนั้ ตอนการกรองของเสยี ออกจากไตได้ 3.3 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude 1) สนใจใฝ่ร้ใู นการศึกษา 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคิด 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คณุ ลักษณะของวิชา 1) ความรบั ผิดชอบ 2) กระบวนการกลมุ่ 6. คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : 1. รายงาน เร่ือง โรคท่เี กดิ จากการทำงานผดิ ปกติของไต 2. ใบงาน เรื่อง ส่วนประกอบและการทำงานของหนว่ ยไต 3. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เร่อื ง การดำรงชวี ิตของมนุษย์ 4. แบบฝึกทักษะ เรอ่ื ง การรักษาดลุ ภาพของรา่ งกาย 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ 1 ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรียน/ขนั้ ตง้ั คำถาม 1. ครแู จ้งตวั ช้วี ดั ประจำหน่วยการเรยี นรู้ให้นกั เรยี นทราบ 2. ครูให้นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง การรักษาดลุ ยภาพของนำ้ และแรธ่ าตใุ นรา่ งกาย 3. ครถู ามคำถาม เพ่ือกระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี นวา่ ทำไมเราจงึ จำเปน็ ตอ้ งดม่ื น้ำ แล้วใหน้ กั เรียน โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บุญเป่ยี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 4 รว่ มกนั ระดมความคิดการตอบคำถาม (แนวตอบ ในรา่ งกายของมนุษยม์ ีนำ้ เป็นองค์ประกอบถึง 65-70% ซงึ่ น้ำมสี ว่ นชว่ ยในการปรบั อุณหภูมขิ องรา่ งกาย ลำเลียงแกส๊ สารอาหาร และของเสยี ที่ผ่านเขา้ -ออกจากเซลล์ แต่รา่ งกายจะ สูญเสียน้ำไปจากการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เราจงึ ต้องดื่มนำ้ ไปทำแทนน้ำท่สี ญู เสยี ไป) 4. ครูอธิบายใหน้ กั เรยี นฟงั วา่ ในกิจกรรมตา่ ง ๆ ของมนษุ ยจ์ ะมขี องเสียเกิดขึ้น จงึ ต้องมกี ารขบั ของ เสียออกจากร่างกาย และถามคำถามนักเรยี นว่า รา่ งกายของมนุษย์กำจัดของเสยี ในรูปแบบใดบ้าง (แนวตอบ ร่างกายมนุษย์กำจดั ของเสยี ออกจากรา่ งกาย ทั้งทางเหงอื่ ปัสสาวะ อุจจาระ และการ หายใจ) ขน้ั สำรวจและคน้ พบ/ขัน้ การเตรียมการคน้ หาคำตอบ 1. ครอู ธิบายใหน้ ักเรียนฟงั วา่ น้ำมคี วามสำคญั ต่อร่างกายมนุษย์ โดยมหี นา้ ทช่ี ่วยการปรับอณุ หภมู ิ ของร่างกาย ชว่ ยลำเลยี งแก๊ส สารอาหาร และของเสียทีผ่ า่ นเข้า-ออกจากเซลล์ 2. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาความตอ้ งการน้ำ และการสูญเสยี น้ำของรา่ งกายมนษุ ยใ์ นแต่ละวนั แล้วถาม นกั เรยี นว่า ร่างกายได้รับนำ้ และสญู เสียน้ำในแตล่ ะในรปู แบบใดบา้ ง และปริมาณเท่าไร (แนวตอบ แต่ละวนั รา่ งกายจะไดร้ บั น้ำจากอาหาร เครอื่ งดมื่ ประมาณ 2.5 ลิตร แต่รา่ งกายจะสญู เสยี นำ้ ออกจากร่างกายทางเหงอ่ื การหายใจ ปสั สาวะ และอุจจาระประมาณ 2.5 ลิตร เช่นกัน) 3. ครถู ามนักเรียนวา่ ถา้ ปรมิ าณน้ำทรี่ บั เข้าสู่รา่ งกายและปริมาณน้ำท่ีถูกขบั ออกจากรา่ งกายไมส่ มดลุ กัน จะมีผลอย่างไร แลว้ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ระดมความคดิ การตอบคำถาม (แนวตอบ มีผลต่อการเปล่ียนแปลงความเขม้ ขน้ ของเลอื ด และความดนั เลือด รวมถึงการทำงานของ อวัยวะและระบบตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เชน่ ผู้ทีม่ อี าการท้องเสยี อยา่ งรุนแรงจะสูญเสยี น้ำออกจาก รา่ งกายปรมิ าณมาก จงึ ทำให้มีอาการตัวซีด มือเท้าเยน็ หมดแรง เปน็ ตะคริว และอาจถึงกบั ชอ็ กได้ เปน็ ต้น) 4. ครูอธบิ ายให้นักเรียนฟังว่า ร่างกายจะมีไตเป็นอวยั วะสำคัญในการรักษาดลุ ยภาพของนำ้ และเกลือ แร่ในรา่ งกาย รวมถึงการกำจัดของเสยี ทีเ่ กิดจากกระบวนการเมแทบอลิซมึ ต่าง ๆ ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ /ขน้ั ดำเนนิ การคน้ หาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ 1. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกับ ปริมาณน้ำทีร่ ่างกายไดร้ ับและสูญเสียในแต่ละวัน และ ผลกระทบจากการขาดนำ้ ชั่วโมงที่ 2 ข้ันสำรวจและค้นพบ/ขน้ั การเตรยี มการค้นหาคำตอบ 1. ครทู บทวนความรูเ้ ดิมจากชวั่ โมงท่แี ล้วให้นักเรียนทราบ พอสงั เขป 2. ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาโครงสร้างของไตท่เี ป็นอวัยวะสำคัญในการรักษาดุลยภาพของนำ้ และเกลอื แร่ ในร่างกาย และข้ันตอนการกำจดั ของเสียออกจากรา่ งกาย 3. ครูอธบิ ายใหน้ กั เรียนฟงั ว่า ภายในไตจะประกอบดว้ ยหนว่ ยไตมากถงึ 1 ลา้ นหนว่ ย ซ่ึงทำหนา้ ที่ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เปีย่ ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 5 กรองของเสียและสง่ิ แปลกปลอมออกจากกระแสเลือด และรักษาสมดลุ ของนำ้ และเกลือแรใ่ น รา่ งกาย โดยเลือดเข้าสไู่ ตทางหลอดเลือดรนี ัลอารเ์ ตอรแี ละแตกแขนงเป็นโกลเมอรูลัส นำ้ เลอื ดและ โมเลกุลของสารต่าง ๆ ที่อย่ใู นนำ้ เลือดจะออกจากโกลเมอรูลสั เข้าสู่โบว์แมนสแ์ คปซลู ซ่ึงจะมี เฉพาะของเหลวและสารโมเลกุลขนาดเล็ก ท่ผี า่ นการกรองของโกลเมอรูลสั แต่สารโมเลกุลขนาด ใหญจ่ ะไม่ผ่านการกรอง จากน้ันของเหลวจะเข้าสูท่ อ่ หนว่ ยไต ซงึ่ จะมีการดูดสารท่ีมีประโยชน์กลับ เข้าส่หู ลอดเลือดอีกครงั้ จากนัน้ ของเหลวท่ีไหลผา่ นท่อไตแลว้ จะไปรวมกนั ในกระเพาะปสั สาวะเปน็ นำ้ ปสั สาวะเพื่อขับออกจากร่างกาย 4. ครใู หน้ กั เรียนศกึ ษาปริมาณสารตา่ ง ๆ ในน้ำเลือด ของเหลวท่กี รองได้ และในน้ำปสั สาวะ จาก ตารางที่ 3.1 แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ สารชนดิ ใดบา้ งทีถ่ ูกดดู กลบั ระหวา่ งการกรอง และสารชนดิ ใดบ้าง ทีป่ นออกมากับน้ำปสั สาวะ (แนวตอบ สารท่รี ่างกายจะดูดกลบั ทที่ ่อหนว่ ยไต เชน่ กลโู คส กรดอะมโิ น และไอออนของเกลือแร่ สว่ นสารทป่ี นออกมากบั นำ้ ปัสสาวะ เชน่ นำ้ ยูเรยี กรดยรู ิก และแอมโมเนีย) 5. ครอู ธบิ ายให้นกั เรยี นฟงั ว่า การรักษาดุลยภาพของนำ้ และแร่ธาตุของไตถกู ควบคุมดว้ ยฮอร์โมน แอนติ- ไดอเู รติกท่หี ลงั่ จากตอ่ มใต้สมองส่วนหลงั ซงึ่ จะถูกควบคมุ ด้วยสมองสว่ นไฮโพทาลามสั 6. ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษา กลไกการรักษาสมดุลของน้ำและแร่ธาตุของรา่ งกายมนุษย์ 7. ครอู ธิบายให้นักเรียนฟังวา่ เมือ่ ร่างกายขาดนำ้ หรอื มีนำ้ ในเลือดนอ้ ย เลอื ดจะมีความเขม้ ข้น มากกวา่ ปกติ ทำใหค้ วามดันเลือดต่ำ รู้สกึ กระหายนำ้ ส่งผลให้สมองส่วนไฮโพทาลามัสกระตุ้นตอ่ ม ใต้สมองส่วนหลงั ให้หล่ังฮอร์โมนแอนติไดยเู รติก ซึ่งไปกระตุน้ การดดู น้ำกลับท่ที อ่ หน่วยไต สง่ ผลให้ ปรมิ าณนำ้ ในเลือดและความดนั เลือดสงู ข้นึ และปสั สาวะออกมาน้อย แต่หากร่างกายไดร้ ับนำ้ มาก เกนิ ไป สมองสว่ นไฮโพทาลามสั จะยับยัง้ ตอ่ มใต้สมองสว่ นหลังไมใ่ หห้ ลง่ั ฮอร์โมนแอนติไดยูเรตกิ ทำ ให้ไมม่ กี ารดดู กลับนำ้ จึงปัสสาวะออกมามาก 8. ครูถามคำถามกบั นกั เรียนว่า กรณีผู้ป่วยโรคไต ซึง่ ไตไม่สามารถทำงานได้ จะตรวจพบสารชนิดใด ปนมากบั ปสั สาวะบ้าง เพราะเหตุใด (แนวตอบ กรณขี องผูป้ ว่ ยโรคไต จะพบสารบางชนิดปนออกมากับปสั สาวะ เช่น กลูโคส กรดอะมโิ น เนอ่ื งจากหน่วยไตไมส่ ามารถดดู กลบั สารท่มี ีประโยชนเ์ หลา่ น้ีได้ หรอื อาจพบเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง และ โปรตนี ซงึ่ ปกติจะไมผ่ ่านการกรองของโกลเมอรูลสั ) ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ /ข้นั ดำเนนิ การค้นหาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายเกยี่ วกับสว่ นประกอบและการทำงานของหนว่ ยไต 2. ครูใหน้ ักเรยี นทำใบงาน เรอื่ ง ส่วนประกอบและการทำงานของหนว่ ยไต 4. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ เรอ่ื ง การรกั ษาดุลยภาพของร่างกาย 5. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกับการรักษาดลุ ยภาพของน้ำและแรธ่ าตขุ องไต 6. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบฝึกทกั ษะ เรื่อง การรกั ษาดุลยภาพ โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 6 ขน้ั ขยายความรแู้ ละนำเสนอผลการคน้ หาคำตอบ 1. ครใู ห้นักเรียนสืบค้นข้อมูล เรอ่ื ง โรคท่เี กิดจากการทำงานผิดปกตขิ องไต แล้วจัดทำเป็นรูปเล่ม รายงานส่งครผู ู้สอน ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ครตู รวจสอบผลจากรายงาน เรอ่ื ง โรคทีเ่ กิดจากการทำงานผดิ ปกตขิ องไต 2. ครูตรวจสอบผลจากใบงาน เรอื่ ง สว่ นประกอบและการทำงานของหนว่ ยไต 3. ครตู รวจสอบผลจากแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรื่อง การดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ 4. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบฝกึ ทักษะ เร่อื ง การรกั ษาดุลภาพของรา่ งกาย 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ จำนวน สภาพการใชส้ ื่อ รายการสื่อ 1 ชุด ขนั้ ตรวจสอบความรู้เดิม 1 ชดุ ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น เรือ่ ง การดำรงชีวิตของมนษุ ย์ 1 ชุด ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ 2. ใบงาน เรอ่ื ง ส่วนประกอบและการทำงานของหนว่ ยไต 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้ 3. แบบฝึกทักษะ เรอ่ื ง การรักษาดุลภาพของร่างกาย 4. รายงาน เรือ่ ง โรคทเ่ี กิดจากการทำงานผดิ ปกติของไต 1 ชดุ ขน้ั สำรวจและค้นพบ 4. Microsoft PowerPoint หน่วยที่ 3 การดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ยี ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 7 10. การวดั ผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วิธวี ดั เครอ่ื งมือวดั ฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ นักเรยี นอธบิ าย 1. แบบทดสอบกอ่ น ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน คะแนน ลักษณะสำคัญ เรยี น หนว่ ยการ กอ่ นเรยี น ประเมนิ ตามสภาพ ของไบโอมระดับโลก เรยี นรทู้ ่ี 3 จริง ประเภทตา่ ง ๆ และ ตรวจเล่มรายงาน แบบประเมินเล่ม ยกตวั อยา่ งสิง่ มีชีวิต 2. รายงาน เรือ่ ง โรคที่ รายงาน ระดบั คุณภาพ 2 ท่ีพบในไบโอมระดบั เกดิ จากการทำงาน ผา่ นเกณฑ์ โลกประเภทต่าง ๆ ผิดปกตขิ องไต ตรวจใบงาน เร่อื ง แบบประเมินใบงาน ได้ ร้อยละ 65 ผา่ น 3. ใบงาน เรอ่ื ง ส่วนประกอบและ เกณฑ์ ส่วนประกอบและ การทำงานของ การทำงานของ รอ้ ยละ 65 ผา่ น หน่วยไต เกณฑ์ หน่วยไต 4. แบบฝึกทักษะท่ี ระดบั คณุ ภาพ 2 เร่อื ง การรกั ษาดุล ตรวจแบบฝึกทกั ษะ แบบประเมินแบบฝกึ ผ่านเกณฑ์ ภาพของรา่ งกาย ระดับคุณภาพ 2 6. การนำเสนอผลงาน ที่ เร่ือง การรกั ษา ทักษะ ผา่ นเกณฑ์ 7. พฤติกรรมการ ดลุ ภาพของรา่ งกาย ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ประเมินการ ผลงานทนี่ ำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 8. พฤตกิ รรมการ ผา่ นเกณฑ์ ทำงานรายกลมุ่ นำเสนอผลงาน 9. คณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม อนั พงึ ประสงค์ การทำงาน การทำงานรายบคุ คล รายบุคคล สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกล่มุ สงั เกตความมีวินยั แบบประเมนิ ใฝ่เรียนรแู้ ละมุง่ มั่น คณุ ลักษณะ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 8 แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบประเมินรายงาน คำช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนประเมินชิ้นงาน/ภาระงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขดี ✓ ลงในช่องท่ีตรง กบั ระดบั คะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 4321 1 ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หา 2 ความสมบรู ณ์ของรูปเลม่ รวม 3 ความตรงต่อเวลา ลงช่ือ ................................................... ผูป้ ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ์ สบื บญุ เปยี่ ม) ............./................../............... เกณฑก์ ารประเมนิ รายงาน ประเดน็ ท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ความถูกต้อง 432 1 ของเนื้อหา เนอ้ื หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ รายงานไม่ถูกตอ้ งเป็น 2. ความสมบูรณ์ ส่วนใหญ่ ของรปู เล่ม รายงานถูกต้องครบถว้ น รายงานถกู ต้องเปน็ ส่วน รายงานถูกต้องบาง องค์ประกอบไม่ ครบถว้ น ไมเ่ ปน็ 3. ความตรงต่อ ใหญ่ ประเดน็ ระเบียบ และรปู เล่มไม่ เวลา สวยงาม มอี งคป์ ระกอบครบถว้ น มีองค์ประกอบครบถ้วน มอี งคป์ ระกอบครบถว้ น ส่งชน้ิ งานช้ากว่าเวลาที่ กำหนด 3 วันข้ึนไป สมบรู ณ์ มคี วามเปน็ สมบูรณ์ มคี วามเป็น สมบรู ณ์ แต่ยงั ไม่เปน็ ระเบยี บ และรูปเล่ม ระเบียบ แตร่ ูปเลม่ ไม่ ระเบยี บ และรปู เล่มไม่ สวยงาม สวยงาม สวยงาม ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ สง่ ชนิ้ งานช้ากว่าเวลาท่ี สง่ ชิ้นงานช้ากว่าเวลาท่ี กำหนด กำหนด 1 วัน กำหนด 2 วนั เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ตำ่ กวา่ 6 ปรบั ปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบุญเป่ยี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 9 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำช้ีแจง : ใหผ้ ูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 21 1 เนื้อหาละเอยี ดชดั เจน 2 ความถูกต้องของเนื้อหา   3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย   4 ประโยชนท์ ี่ได้จากการนำเสนอ   5 วิธีการนำเสนอผลงาน     รวม ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบุญเปี่ยม) ............./................../............... เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ สมบูรณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 10 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเหน็   2 การยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของผ้อู ืน่   3 การทำงานตามหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย   4 ความมนี ้ำใจ   5 การตรงตอ่ เวลา   รวม ลงชือ่ ...................................................ผ้ปู ระเมนิ ............./................../.............. เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 11 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน การมี การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี สว่ นร่วมใน รวม ช่อื – สกลุ ความ ฟังคนอนื่ ตามทไี่ ดร้ ับ น้ำใจ การ 15 ท่ี ของนกั เรียน คดิ เห็น มอบหมาย ปรบั ปรุง คะแนน ผลงานกลมุ่ 321321321321321 โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 12 การมี การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี สว่ นร่วมใน รวม ที่ ชอ่ื – สกุล ความ ฟงั คนอ่นื ตามทไ่ี ดร้ ับ น้ำใจ การ 15 ของนกั เรยี น คดิ เห็น มอบหมาย ปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลุ่ม 321321321321321 ลงช่อื ...................................................ผูป้ ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ์ สืบบุญเปีย่ ม) ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย ............../.................../............... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 13 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชี้แจง : ให้ผูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงคด์ า้ น 321 1. มวี นิ ยั รับผิดชอบ 1.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 2.1 รจู้ ักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ัตไิ ด้ 2.2 รจู้ กั จดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 2.3 เชือ่ ฟังคำสงั่ สอนของบดิ า - มารดา โดยไม่โต้แย้ง 2.4 ตั้งใจเรียน 3. อยู่อย่างพอเพียง 3.1 ใช้ทรพั ยส์ ินและสิ่งของของโรงเรยี นอย่างประหยดั 3.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรคู้ ณุ คา่ 3.3 ใช้จา่ ยอย่างประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงนิ 4. มุ่งม่นั ในการทำงาน 4.1 มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการทำงานท่ีได้รบั มอบหมาย 4.2 มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อุปสรรคเพ่อื ใหง้ านสำเรจ็ ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมิน (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เป่ยี ม) ............../.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบตั ชิ ัดเจนและบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั บิ างครง้ั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 51 - 60 ดีมาก 41 - 50 ดี 30 - 40 พอใช้ ตำ่ กวา่ 30 ปรับปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบุญเป่ียม กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 14 แบบบนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ช่ือหนว่ ยการเรยี นรทู้ .่ี ......... เรอื่ ง................................................................ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่.ี .......... เรือ่ ง................................................... รายวิชา วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 รหสั วิชา ว31101 ครูผสู้ อน นางสาวสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ยี ม ตำแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย เวลาทใ่ี ช.้ ................ ชั่วโมง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้อคน้ พบระหว่าง ปัญหาทพ่ี บ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้อื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมสี ่วนรว่ มของผู้เรียน ลงช่อื ..................................................ผู้สอน (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย ความเห็นของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาหรือผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .................................................. (นายกิตตธิ ัช จนั ทรา) รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 15 แบบบนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ท.ี่ ......... เรอื่ ง................................................................ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่.ี .......... เรือ่ ง................................................... รายวิชา วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 รหสั วิชา ว31101 ครูผ้สู อน นางสาวสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ยี ม ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย เวลาทใ่ี ช.้ ................ ชวั่ โมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาทพ่ี บ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้อื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .................................................. (นายกติ ตธิ ัช จนั ทรา) รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 16 แบบบนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ท.ี่ ......... เรอื่ ง................................................................ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่.ี .......... เรือ่ ง................................................... รายวิชา วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 รหสั วิชา ว31101 ครูผ้สู อน นางสาวสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ยี ม ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย เวลาทใ่ี ช.้ ................ ชวั่ โมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาทพ่ี บ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้อื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .................................................. (นายกติ ตธิ ัช จนั ทรา) รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 17 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. สว่ นประกอบใดของหน่วยไตทำหนา้ ทีก่ รองของเสีย 6. ข้อใดเป็นการปอ้ งกันเช้อื โรคและสง่ิ แปลกปลอมทางกาย ออกจากเลอื ด วิภาค 1.ทอ่ รวม 2. ทอ่ หนว่ ยไต 1. การไอ จาม หรือขับเสมหะ 3. โกลเมอรูรสั 4. รนี ลั อารเ์ ตอรี 2. การหล่ังเหงือ่ ของตอ่ มเหงือ่ 5. โบวแ์ มนสแ์ คปซูล 3. การยับยง้ั การเจรญิ ของจลุ นิ ทรยี ใ์ นน้ำลาย 2. สารชนิดใดบา้ งจะไมถ่ ูกดูดกลบั เขา้ ส่หู ลอดเลือด 4. การป้องกันเชอ้ื จลุ นิ ทรียจ์ ากการหลงั่ นำ้ ตา 1. นำ้ 2. โปรตีน 5. การทำลายแบคทีเรยี จากนำ้ ย่อยของกระเพาะอาหาร 3. กลโู คส 4. กรดอะมิโน 7. เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาวในข้อใดมกี ารทำลายเชือ้ โรคอย่างจำเพาะ 5. ไอออนของเกลอื แร่ 1. เบโซฟิล 2. โมโนไซต์ 3. สมองสว่ นใดทำหนา้ ทีค่ วบคมุ สมดลุ น้ำและเกลือใน 3. ลิมโฟไซต์ 4. นิวโทรฟลิ เลอื ด 5. อีโอซโิ นฟลิ 1. พอนด์ 2. ซีรบี รัม 8. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ น้าท่ขี องเซลลท์ ี 3. ซรี เี บลลัม 4. ไฮโพทาลามสั 1. ควบคุมการทำงานของเซลลบ์ ี 5. เมดลั ลาออบลองกาตา 2. ทำลายแอนตเิ จนท่เี ขา้ สรู่ า่ งกาย 4. รา่ งกายลดความเปน็ กรดของกระแสเลือดอยา่ งไร 3. กระตุน้ เซลล์บใี หส้ ร้างแอนติบอดี 1. ขบั Na+ ออกจากเลือด 4. พัฒนาเป็นเซลลพ์ ลาสมาเพ่อื สรา้ งแอนตบิ อดี 2. ดูดกลบั NH4+ เขา้ สู่เลอื ด 5. ควบคมุ การทำงานของเซลลท์ ที ำลายสิง่ แปลกปลอม 3. ขับ HCO3- ออกจากเลอื ด 4. ลดการหายใจออกเพ่ือขบั CO2 9. โรคเอดสเ์ กดิ จากการติดเชอื้ ประเภทใด 5. ขบั สารทม่ี ีส่วนประกอบของ H+ ออกจากเลือด 1. รา 2. ยสี ต์ 3. ไวรสั 4. พยาธิ 5. เมือ่ อุณหภมู ิรา่ งกายสูงกวา่ ปกติ ร่างกายมกี าร 5. แบคทีเรยี ตอบสนองอย่างไร 10. ข้อใดมีโอกาสตดิ เช้ือ HIV น้อยทีส่ ดุ 1. เพิ่มอัตราเมแทบอลซิ ึม 1. การมีเพศสัมพนั ธุ์ 2. ขนลกุ และเกดิ อาหารหนาวสน้ั 2. การรับบรจิ าคเลอื ด 3. ลดการขยายจัวของหลอดเลือด 3. การตดิ ตอ่ จากม่สู่ลกุ 4. ต่อมเหง่ือสร้างเหง่อื เพิ่มมากขึน้ 4. การใช้เข็มฉีดยาร่วมกนั 5. ลดการระเหยและพาความร้อนออกจากรา่ งกาย 5. การรบั ประทานอาหารรว่ มโต๊ะกนั โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กลุม่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 18 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ส่วนประกอบใดของหน่วยไตทำหน้าท่กี รองของเสีย 6. ขอ้ ใดเปน็ การปอ้ งกันเช้อื โรคและส่งิ แปลกปลอมทางกาย ออกจากเลือด วิภาค 1.ทอ่ รวม 2. ท่อหนว่ ยไต 1. การไอ จาม หรือขับเสมหะ 3. โกลเมอรรู สั 4. รีนลั อารเ์ ตอรี 2. การหลั่งเหงอื่ ของตอ่ มเหงือ่ 5. โบว์แมนสแ์ คปซูล 3. การยับย้ังการเจริญของจลุ นิ ทรียใ์ นน้ำลาย 2. สารชนดิ ใดบ้างจะไมถ่ กู ดูดกลบั เข้าสู่หลอดเลือด 4. การปอ้ งกนั เชอื้ จลุ นิ ทรียจ์ ากการหลงั่ นำ้ ตา 1. น้ำ 2. โปรตนี 5. การทำลายแบคทีเรยี จากนำ้ ยอ่ ยของกระเพาะอาหาร 3. กลูโคส 4. กรดอะมิโน 7. เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวในข้อใดมกี ารทำลายเชือ้ โรคอย่างจำเพาะ 5. ไอออนของเกลอื แร่ 1. เบโซฟลิ 2. โมโนไซต์ 3. สมองสว่ นใดทำหน้าทค่ี วบคมุ สมดุลน้ำและเกลอื ใน 3. ลิมโฟไซต์ 4. นิวโทรฟลิ เลอื ด 5. อโี อซิโนฟิล 1. พอนด์ 2. ซีรบี รัม 8. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ น้าท่ีของเซลลท์ ี 3. ซรี ีเบลลมั 4. ไฮโพทาลามสั 1. ควบคุมการทำงานของเซลลบ์ ี 5. เมดัลลาออบลองกาตา 2. ทำลายแอนติเจนท่เี ขา้ สรู่ า่ งกาย 4. ร่างกายลดความเป็นกรดของกระแสเลือดอยา่ งไร 3. กระตุ้นเซลลบ์ ใี หส้ ร้างแอนติบอดี 1. ขับ Na+ ออกจากเลือด 4. พัฒนาเป็นเซลลพ์ ลาสมาเพ่อื สรา้ งแอนตบิ อดี 2. ดูดกลับ NH4+ เข้าสูเ่ ลือด 5. ควบคมุ การทำงานของเซลลท์ ีทำลายสิง่ แปลกปลอม 3. ขับ HCO3- ออกจากเลือด 4. ลดการหายใจออกเพ่ือขบั CO2 9. โรคเอดส์เกิดจากการติดเชอื้ ประเภทใด 5. ขบั สารทีม่ ีส่วนประกอบของ H+ ออกจากเลือด 1. รา 2. ยสี ต์ 3. ไวรัส 4. พยาธิ 5. เม่อื อณุ หภมู ิร่างกายสงู กว่าปกติ รา่ งกายมกี าร 5. แบคทีเรีย ตอบสนองอย่างไร 10. ขอ้ ใดมโี อกาสติดเช้ือ HIV น้อยทีส่ ดุ 1. เพม่ิ อัตราเมแทบอลซิ ึม 1. การมเี พศสมั พนั ธุ์ 2. ขนลุกและเกดิ อาหารหนาวสนั้ 2. การรับบรจิ าคเลือด 3. ลดการขยายจวั ของหลอดเลือด 3. การติดต่อจากม่ส่ลู กุ 4. ต่อมเหง่ือสรา้ งเหงอ่ื เพ่ิมมากข้นึ 4. การใช้เขม็ ฉดี ยารว่ มกนั 5. ลดการระเหยและพาความร้อนออกจากร่างกาย 5. การรับประทานอาหารรว่ มโต๊ะกนั โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปีย่ ม กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 19 ใบงาน เรือ่ ง สว่ นประกอบและการทำงานของหน่วยไต คำชี้แจง : จงระบุโครงสร้างของหน่วยไตตอ่ ไปน้ี และอธิบายข้ันตอนการกรองของเสยี ออกจากหน่วยไต 1. โครงสร้าง...................................................................... 2 ลกั ษณะสำคัญ............................................................... 1 ...................................................................................... ..................................................................................... 2. โครงสร้าง...................................................................... ลักษณะสำคญั ............................................................... 3 ...................................................................................... ..................................................................................... 3. โครงสร้าง...................................................................... 4 ลกั ษณะสำคญั ............................................................... ...................................................................................... ..................................................................................... 4. โครงสรา้ ง...................................................................... ลกั ษณะสำคญั ............................................................... ...................................................................................... ..................................................................................... 5. การกรองของเสยี ท่หี น่วยไต.................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 20 เฉลยใบงาน เรอ่ื ง สว่ นประกอบและการทำงานของหน่วยไต คำช้แี จง : จงระบโุ ครงสร้างของหน่วยไต และอธบิ ายขน้ั ตอนการกรองของเสยี ออกจากหน่วยไตให้ถกู ต้อง 1. โครงสร้าง...โ..ก..ล...เ.ม..อ...ร..ลู ..ัส.................................................. 2 ลักษณะสำคญั ...ก...ล..ุ่.ม..เ..ส..้น...เ..ล..ื.อ..ด...ฝ...อ..ย...ท...ี่อ...ย..ู.่แ...น..บ...ช...ิด...ก..ั.บ. 1 ..โ..บ...ว..์แ..ม...น..แ...ค..ป...ซ..ูล....ท...ำ..ห..น...้า..ท...ี่ก...ร..อ..ง..น...้ำ..เ.ล..ื.อ..ด..ใ..ห...้ผ..่า..น...เ.ข...้า..ส.ู่ ..โ..บ..ว..แ์...ม..น...ส..แ์...ค..ป...ซ..ูล......................................................... 2. โครงสร้าง.โ..บ..ว..์แ...ม..น...ส..์แ..ค...ป..ซ...ูล........................................... ลักษณะสำคัญ.ล..ัก..ษ...ณ...ะ...เ.ป..็น...ท...ร..ง..ก..ล..ม...ท..ห่ี...่อ..ห...ุ้ม............โ..ก..ล... 3 เ.ม...อ..ร..ลู...ัส........................................................................... ..................................................................................... 3. โครงสร้าง...ท...อ่..ห...น...่ว..ย..ไ.ต................................................... 4 ลกั ษณะสำคัญ...ท..่.อ..ท...ี่ข..ด...ไ.ป...ม..า...ท...ำ..ห...น...้า..ท..ี่ด...ูด..ก...ล..ับ...ส..า..ร..ท...ีม่. ี ..ป...ร..ะ..โ.ย...ช..น...เ์ .ข..้า..ส..กู่...ร..ะ..แ..ส...เ.ล..ือ...ด..อ..กี...ค..ร..งั้................................ ..................................................................................... 4. โครงสร้าง....ท...อ่ ..ร..ว..ม......................................................... ลกั ษณะสำคญั ...ท...่อ...ท...ี่ร..ว..ม...ข..อ...ง..เ.ห...ล..ว...จ..า..ก...ก..า..ร..ก...ร..อ...ง..ข..อ...ง ...ห...น...่ว..ย...ไ..ต..ก...่อ...น...ส..่.ง..ต..่.อ..ไ..ป...ย...ัง..ก...ร..ว..ย...ไ..ต....ซ..ึ.่ง..ข...อ..ง..เ..ห...ล..ว...ม. ี ...ล..กั..ษ...ณ....ะ..ค..ล..า้..ย...ป..สั...ส..า..ว..ะ................................................. 5. การทำงานของหนว่ ยไต .......เ.ล...ือ..ด..เ..ข..า้..ส..ู่ห...น..่ว..ย...ไ.ต...ท..า..ง..ห...ล..อ..ด...เ.ล..อื...ด..ร..ีน...ัล..อ..า..ร..์เ..ต..อ..ร..ี..แ..ล...ะ..แ..ต...ก..แ..ข...น..ง..เ.ป...น็ ..ก...ล..ุ่ม..เ..ส..้น...เ.ล.อื ด ..ฝ..อ...ย..ห...ร..ือ..โ..ก..ล...เ.ม...อ..ร..ูล...ัส....ซ..ึ.่ง..น..้ำ..เ..ล..ือ...ด..แ..ล...ะ..ส...า..ร..โ.ม...เ.ล...ก..ุล...ข..น...า..ด..เ..ล..็ก....เ..ช..่น....ก...ล..ูโ..ค..ส....ก...ร..ด..อ...ะ..ม...ิโ.น.....จ..ะ..ผ...่า..น..ก...า..ร..ข..อ...ง..โ.ก...ล.... ..เ.ม...อ..ร..ูล..ัส...เ.ข..้า..ส..ู่โ..บ..ว..์แ...ม..น...ส..์แ..ค...ป..ซ...ลู ....แ..ต..ส่...า..ร..โ.ม...เ.ล..ก..ุล...ข..น...า..ด..ใ.ห...ญ...่..เ.ช..่น....เ..ซ..ล..ล...์เ.ม..ด็...เ.ล..อื...ด..แ..ด...ง...โ..ป..ร..ต...ีน...จ...ะ..ไ.ม...่ผ..่า..น...ก..า..ร..ก..ร..อ...ง... ..จ..า..ก...น..ั้น...ข..อ...ง..เ.ห...ล..ว..ท...ี่ผ...่า..น..ก...า..ร..ก..ร..อ...ง.จ...ะ..เ.ค...ล..ือ่...น..ท...ี่เ.ข...้า..ส..ูท่...่อ...ห..น...่ว..ย..ไ..ต...ซ...ึ่ง..เ.ป...็น...บ..ร...ิเ.ว..ณ...ท...ี่ม...กี ..า..ร..ด...ูด..ก...ล..ับ...น..้ำ....แ..ล..ะ...ส..า..ร..ท...ี่ม..ี.. ..ป..ร...ะ..โ.ย...ช..น...์ .เ..ช..่น....ก...ล..ูโ..ค..ส....ก..ร..ด...อ..ะ...ม..ิโ..น....ไ.อ...อ..อ...น..ข...อ..ง..เ.ก...ล..ือ...แ..ร..่.เ..ข..้า..ส...ู่เ.ล..ือ...ด..อ...ีก..ค...ร..ั้ง...แ...ล..ะ..ข...อ..ง..เ..ห..ล...ว..ท..ี.่เ.ห...ล..ือ..จ...ะ..ผ..่.า..น..ท...่อ.... ..ห..น...่ว..ย..ไ..ต..แ...ล..้ว..ไ..ป..ร..ว..ม...ก..ัน...ใ.น...ก..ร..ะ..เ..พ..า..ะ...ป..ัส..ส...า..ว..ะ..เ.ป...็น..น...ำ้..ป...ัส..ส..า..ว..ะ..เ..พ..ือ่...ก..ำ..จ..ัด...อ..อ...ก..จ..า..ก..ร..า่..ง..ก...า..ย..ต..อ่...ไ.ป................................. โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 21 แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง การรักษาดุลยภาพของร่างกาย คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นเลอื กคำตอบทกี่ ำหนดใหใ้ นแตล่ ะข้อเติมลงในชอ่ งวา่ งให้ถกู ตอ้ ง 1. ปริมาตรและความเข้มข้นของเลือดลดลง/ ปรืมาตรของเลือดลดลง/ ความเข้มข้นของเลือดลดลง/ ปริมาตร และความเขม้ ข้นของเลอื ดเพ่ิมขน้ึ 2. แรงดนั ออสโมตกิ ของเลอื ดลดลง/ แรงดนั ออสโมตกิ ของเลอื ดสงู ข้นึ / แรงดันออสโมติกของเลอื ดคงที่ 3. กระต้นุ / ยับย้ัง 4. ตอ่ มใต้สมองส่วนหนา้ / ต่อมใต้สมองสว่ นกลาง/ ต่อมใตส้ มองสว่ นหลงั 5. หลง่ั / ไมห่ ลงั่ 6. โฮรโ์ มนแอลโดสเทอโรน/ โฮรโ์ มนโพรแลคตนิ / โฮรโ์ มนแอนตไิ ดยูเรตกิ 7. กระตุน้ / ยบั ยัง้ 8. การดูดกลับน้ำลดลง/ การดูดกลับนำ้ เพ่ิมข้ึน/ การดูดกลบั นำ้ เพิม่ ขน้ึ แต่ลดการดูดกลบั กลูโคส 9. ปริมาตรและความเขม้ ข้นของเลอื ดลดลง/ ปรมิ าตรของเลอื ดเพิ่มขึน้ ความเข้มขน้ ของเลอื ดลดลง/ ปริมาตร และความเขม้ ข้นของเลอื ดเพิ่มขน้ึ 10. แรงดนั ออสโมตกิ ของเลือดลดลง/ แรงดันออสโมติกของเลือดสงู ขึ้น/ แรงดันออสโมตกิ ของเลือดคงท่ี เมอื่ มีน้ำในเลอื ดนอ้ ย การขบั ถ่ายปสั สาวะลดลง 1. ………………………………………….. 10. …………………………………………. ………………………………………….. ………………………………………….. 2. ………………………………………….. 9. ………………………………………….. ………………………………………….. ………………………………………….. 3…………… 8. ………………………………………….. ………… 7. …………………………… 4. ………………………………………….. ………………………………………….. 5. ……………………………… 6. ………………………………………….. โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 22 เฉลยแบบฝึกทักษะ เรอ่ื ง การรกั ษาดุลยภาพของรา่ งกาย คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบทก่ี ำหนดให้ในแต่ละข้อเตมิ ลงในช่องว่างใหถ้ กู ต้อง 1. ปรมิ าตรและความเขม้ ข้นของเลอื ดลดลง/ ปรมื าตรของเลือดลดลง/ ความเขม้ ข้นของเลือดลดลง/ ปรมิ าตร และความเขม้ ขน้ ของเลอื ดเพิม่ ขนึ้ 2. แรงดันออสโมตกิ ของเลือดลดลง/ แรงดันออสโมตกิ ของเลอื ดสงู ขึ้น/ แรงดนั ออสโมตกิ ของเลือดคงท่ี 3. กระตุ้น/ ยบั ย้งั 4. ต่อมใต้สมองสว่ นหน้า/ ตอ่ มใตส้ มองสว่ นกลาง/ ตอ่ มใต้สมองส่วนหลงั 5. หลัง่ / ไมห่ ลัง่ 6. โฮรโ์ มนแอลโดสเทอโรน/ โฮรโ์ มนโพรแลคติน/ โฮรโ์ มนแอนตไิ ดยเู รตกิ 7. กระตุ้น/ ยับย้ัง 8. การดดู กลับนำ้ ลดลง/ การดดู กลบั นำ้ เพม่ิ ขึ้น/ การดดู กลับน้ำเพิม่ ข้นึ แตล่ ดการดูดกลับกลโู คส 9. ปริมาตรและความเขม้ ข้นของเลอื ดลดลง/ ปริมาตรของเลือดเพม่ิ ข้นึ ความเข้มขน้ ของเลอื ดลดลง/ ปริมาตร และความเขม้ ข้นของเลือดเพ่ิมข้นึ 10. แรงดนั ออสโมตกิ ของเลือดลดลง/ แรงดันออสโมติกของเลอื ดสงู ขึน้ / แรงดนั ออสโมตกิ ของเลือดคงที่ เมื่อมนี ้ำในเลอื ดนอ้ ย การขบั ถ่ายปสั สาวะลดลง 1. ปรมิ าตรของเลือดลดลง ความ 10. แรงดนั ออสโมตกิ ของ เขม้ ขน้ ของเลือดเพม่ิ ขึ้น เลือดลดลง 2. แรงดนั ออสโมตกิ ของเลือดสงู ข้นึ 9. ปริมาตรของเลือดเพ่มิ ขนึ้ ความ เข้มข้นของเลอื ดลดลง 3. กระตนุ้ 4. ตอ่ มใตส้ มองส่วนหลัง 8. การดูดกลบั นำ้ เพม่ิ ขน้ึ 5. หล่งั 7. กระตนุ้ 6. ฮอร์โมนแอนติไดยเู รตกิ โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บุญเปยี่ ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 23 แบบฝึกทักษะ เรอื่ ง การรกั ษาดุลยภาพของร่างกาย คำช้แี จง ใหน้ กั เรยี นนำคำศัพท์ท่ีกำหนดให้เตมิ หน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กนั ก. กลโู คส ข. โกลเมอรลู ัส ค. ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน จ. ไฮโพทาลามัส ง. ท่อหน่วยไต ไอออน ฉ. โบว์แมนส์แคปซลู ช. ทอ่ รวม ซ. ฮอร์โมนแอนตไิ ดยเู รตกิ ฌ. ตอ่ มเหงอื่ ฎ. ตอ่ มใต้สมองสว่ นหลัง ฏ. แอมโมเนียมไอออน ฐ. เมดลั ลาออบลองกาตา ฑ. ต่อมใตส้ มองส่วนหนา้ ฒ. ฮอร์โมนแอนโดสเทอโรน ณ. ยูเรีย …………………….. 1. สารทีร่ ่างกายดดู กลบั เขา้ กระแสเลอื ดเพอ่ื ลดความเป็นกรดของเลือด …………………….. 2. ทำหน้าท่ีควบคุมสมดุลน้ำและอุณหภูมใิ นร่างกาย …………………….. 3. ทำหนา้ ท่ีดูดกลับสารทมี่ ีประโยชน์ เชน่ กลโู คส กรดอะมิโน เขา้ สกู่ ระแสเลอื ด …………………….. 4. สารที่ปนออกมาพรอ้ มกับน้ำปัสสาวะ …………………….. 5. กลุ่มเสน้ เลือดฝอยทท่ี ำหน้าที่กรองนำ้ เลือดเข้าสโู่ บวแ์ มนสแ์ คปซูล …………………….. 6. สารทร่ี า่ งกายดูดกลบั เข้ากระแสเลอื ดเพ่ือลดความเป็นเบสของเลอื ด …………………….. 7. ทำหน้าที่ห่อห้มุ กล่มุ เสน้ เลือดฝอยของหน่วยไต …………………….. 8. ทำหน้าท่ีหลัง่ ฮอร์โมนแอนติไดยเู รติก เพอื่ กระต้นุ การดูดกลับนำ้ ที่ท่อหน่วยไต …………………….. 9. บริเวณที่รวมของเหลวท่มี ีลักษณะคล้ายปัสสาวะจากการทำงานของหนว่ ยไต …………………….. 10. สารท่ีทอ่ หน่วยไตดูดกลับเพือ่ นำกลบั มาใช้ประโยชน์ โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บุญเปี่ยม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 24 เฉลยแบบฝึกทกั ษะ เร่อื ง การรกั ษาดลุ ยภาพของร่างกาย คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นนำคำศพั ทท์ ีก่ ำหนดให้เตมิ หนา้ ขอ้ ความท่มี คี วามสัมพนั ธ์กนั ข. กลโู คส ข. โกลเมอรลู สั ค. ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน จ. ไฮโพทาลามสั ง. ท่อหน่วยไต ไอออน ฉ. โบวแ์ มนสแ์ คปซลู ช. ท่อรวม ซ. ฮอร์โมนแอนติไดยเู รตกิ ฌ. ตอ่ มเหง่ือ ฎ. ต่อมใตส้ มองส่วนหลงั ฏ. แอมโมเนียมไอออน ฐ. เมดัลลาออบลองกาตา ฑ. ตอ่ มใต้สมองสว่ นหน้า ฒ. ฮอรโ์ มนแอนโดสเทอโรน ณ. ยูเรยี …………ค………….. 1. สารทีร่ ่างกายดูดกลบั เขา้ กระแสเลือดเพื่อลดความเปน็ กรดของเลือด …………จ………….. 2. ทำหน้าท่คี วบคุมสมดุลน้ำและอณุ หภมู ิในร่างกาย …………ง………….. 3. ทำหน้าทด่ี ดู กลับสารทีม่ ปี ระโยชน์ เช่น กลโู คส กรดอะมิโน เข้าสูก่ ระแสเลือด …………ณ………….. 4. สารทป่ี นออกมาพรอ้ มกับนำ้ ปสั สาวะ …………ข………….. 5. กลุม่ เสน้ เลอื ดฝอยที่ทำหน้าที่กรองนำ้ เลือดเขา้ สูโ่ บว์แมนส์แคปซลู …………ฏ………….. 6. สารท่ีรา่ งกายดดู กลับเข้ากระแสเลือดเพอ่ื ลดความเป็นเบสของเลอื ด …………ฉ………….. 7. ทำหน้าที่หอ่ หมุ้ กลมุ่ เสน้ เลือดฝอยของหน่วยไต …………ฎ………….. 8. ทำหน้าท่ีหลั่งฮอรโ์ มนแอนติไดยเู รติก เพือ่ กระตุ้นการดูดกลบั นำ้ ที่ทอ่ หนว่ ยไต …………ช………….. 9. บริเวณทีร่ วมของเหลวท่มี ีลักษณะคล้ายปัสสาวะจากการทำงานของหน่วยไต …………ก………….. 10. สารที่ทอ่ หนว่ ยไตดูดกลับเพ่อื นำกลบั มาใช้ประโยชน์ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 25 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 เรื่อง การดำรงชีวติ ของมนุษย์ แผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง การรักษาดุลยภาพของกรด-เบส และอุณหภมู ิในร่างกาย รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ รหสั วิชา ว31101 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 น้ำหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2 ช่ัวโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั ร่างกายมกี ลไกในการรกั ษาดุลยภาพของดกรด-เบสในร่างกายโดยการทำงานของปอดและไต ซึง่ ปอด ทำหน้าท่ีขบั CO2 จากการหายใจออกเพ่ือลดระดับ H+ จากกระบวนการเมแทบอลซิ ึมตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ส่วน ไตเมื่อเลือดมีความเป็นกรดสูงจะขับสารที่มีส่วนประกอบของไฮโดรเจนไอออนและขับแอมโมเนียมไอออน (NH4+) ออกจากเลือด ดูดกลับสารบางชนิด เช่น โซเดียมไอออน (Na+) และไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO3-) แต่เมือ่ เลือดมีความเป็นเบสสูง (pH สงู ) กจ็ ะเกิดกระบวนการทีต่ รงกนั ขา้ ม ร่างกายมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของอณุ หภูมิในร่างกาย โดยมีศูนย์ควบคุมอยู่ที่สมองส่วนไฮโพ- ทาลามัสที่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณไปกระตุ้นหรือยับยั้งกระบวนการเมแทบอลิซึมต่าง ๆ ซึ่งหากอุณหภูมิของ ร่างกายสูงขึ้นกว่าช่วงปกติ ร่างกายจะตอบสนองโดยการลดอัตราเมแทบอลิซึม เพิ่มการขยายตัวของหลอด เลือด ต่อมเหงื่อสร้างเหง่ือเพิม่ ข้ึน เพิ่มการระเหยและการพาความร้อนออกจากร่างกาย แต่หากอุณหภูมิของ ร่างกายตำ่ กว่าช่วงปกติ ร่างกายจะตอบสนองโดยการเพิ่มอัตราเมแทบอลซิ ึม ลดการขยายตวั ของหลอดเลือด ต่อมเหงื่อสร้างเหงือ่ นอ้ ยลงหรือไม่สร้างเหงื่อ ขนลุกเกดิ อาการหนาวสั่น ลดการระเหยและการพาความรอ้ น ออกจากรา่ งกาย 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ดั ช้นั ปี/ผลการเรียนรู/้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสง่ิ มชี วี ติ หนว่ ยพน้ื ฐานของสงิ่ มีชวี ิต การลำเลียงสารผา่ นเซลล์ ความสมั พนั ธ์ ของโครงสร้าง และหนา้ ท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนษุ ยท์ ท่ี ำงานสัมพันธก์ นั ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ท่ีของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ทท่ี ำงานสัมพนั ธก์ นั รวมท้ังนำ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ม.4/3 อธบิ ายการควบคมุ ดุลยภาพของกรด-เบสของเลอื ดโดยการทำงานของไตและปอด ม.4/4 อธบิ ายการควบคมุ ดุลยภาพของอณุ หภูมภิ ายในรา่ งกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด ผิวหนัง และกลา้ มเน้อื โครงร่าง โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบญุ เปีย่ ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 26 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge 1) อธบิ ายการรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในรา่ งกายโดยการทำงานของไตและปอด 2) อธิบายการรักษาดลุ ยภาพของอณุ หภมู ิในร่างกายโดยการทำงานของระบบหมุนเวยี นเลอื ด ผวิ หนงั และกล้ามเน้อื โครงรา่ งได้ 3) เปรียบเทียบกลไกการรกั ษาดลุ ยภาพของอณุ หภมู ิในร่างกายเมือ่ อณุ หภูมภิ ายนอกสงู กวา่ / ตำ่ กว่าอุณหภูมขิ องรา่ งกายได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 1) เขยี นกลไกการการรักษาดุลยภาพของอณุ หภมู ิในรา่ งกายเม่อื อุณหภูมิภายนอกร่างกาย เปลยี่ นแปลง 3.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude 1) สนใจใฝร่ ใู้ นการศึกษา 4. สมรรถนะสำคญั ของนกั เรียน 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคิด 5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1) ความรบั ผิดชอบ 2) กระบวนการกล่มุ 6. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : 1. การอภปิ รายการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมใิ นรา่ งกายของสตั วต์ ่าง ๆ 2. ผังสรปุ เร่ือง กลไกการรักษาดุลยภาพอุณหภมู ิในรา่ งกาย 3. แบบฝึกทกั ษะ เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บอุณหภูมิในร่างกาย 4. แบบฝึกทกั ษะ เรอื่ ง การรกั ษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 27 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชวั่ โมงที่ 1 ขน้ั นำเขา้ ส่บู ทเรยี น/ขั้นต้ังคำถาม 1. ครูกระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนดว้ ยการอธิบายวา่ ร่างกายของมนุษยแ์ ละสิง่ มีชวี ิตต่าง ๆ ประกอบด้วยสารชีวโมเลกลุ หลายชนดิ ทง้ั คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมัน ซึง่ จะมีการเกิดปฏิกริ ิยา เคมี ต่าง ๆ มาควบคุมทำให้เกิดภาวะสมดลุ โดยปฏิกิริยาเคมีทีเ่ กิดขึน้ จะมเี อนไซมเ์ ปน็ ตัวเรง่ ปฏกิ ิรยิ าเคมีแทบท้ังสน้ิ 2. ครูถามนกั เรียนว่า เอนไซมค์ อื อะไร มคี วามสำคญั ต่อร่างกายอย่างไร (แนวตอบ เอนไซม์เปน็ โปรตีนท่ีสร้างจากสงิ่ มีชวี ิต ทำหนา้ ท่ีเรง่ ปฏกิ ริ ิยาเคมีโดยการลดพลังงานก่อ กัมมนั ต์ของปฏิกิริยา ซึง่ หากรา่ งกายมสี ภาวะไมเ่ หมาะสมตอ่ การทำงานของเอนไซม์ ทง้ั จากความเปน็ กรด-เบส อุณหภูมจิ ะทำใหเ้ อนไซมเ์ สียสภาพ และส่งผลกระทบตอ่ ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย) ข้ันสำรวจและคน้ พบ/ขัน้ การเตรยี มการค้นหาคำตอบ 1. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรยี นฟงั ว่า ความเป็นกรด-เบสของรา่ งกายจะมีผลต่อการทำงานของเอนไซมต์ ่าง ๆ รา่ งกาย เชน่ เอนไซม์เปปซิน ทำหนา้ ทยี่ อ่ ยสลายโปรตนี ในลำไสเ้ ล็ก จะทำงานไดด้ ใี นสภาวะ แวดลอ้ มท่ีเป็นกรด (pH = 2) ขณะทเ่ี อนไซมท์ รปิ ซนิ จะทำหน้าทีย่ ่อยสลายโปรตนี ในกระเพาะ อาหาร ทำงานไดด้ ใี นสภาวะแวดลอ้ มท่ีเปน็ เบส (pH = 8) 2. ครอู ธิบายให้นักเรยี นฟงั ว่า ร่างกายจะมีการดลุ ยภาพของกรด-เบสโดยการรกั ษาดุลยภาพของ H+ และให้นักเรยี นศกึ ษาสมการการหายใจระดบั เซลล์ 3. ครถู ามคำถามกบั นักเรยี นวา่ หาก CO2 ทเี่ กิดจากการหายใจระดับเซลล์ จะส่งผลต่อ H+ อย่างไร (แนวตอบ CO2 ทเ่ี กดิ ขึน้ จะรวมตัวกบั นำ้ ในเซลล์เม็ดเลอื ดแดงเกิดเป็นกรดคารบ์ อนกิ (H2CO3) ท่ีจะ แตกตัวใหไ้ ฮโดรเจนไอออน (H+) กบั ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO3-) ) 4. ครอู ธิบายให้นักเรียนฟงั วา่ รา่ งกายจะรกั ษา H+ ทส่ี งู ขนึ้ จากการหายใจระดับเซลล์ โดยหายใจออก เพ่อื ขับ CO2 ออก ซ่งึ จะช่วยลด H+ ทำใหค้ วามเป็นกรดของเลอื ดลดลง 5. ครูใหน้ กั เรียนศึกษา การหายใจออกเพ่ือขับ CO2 ออก มีผลทำใหค้ วามเป็นกรดของเลือดลดลง โดย เกดิ จากการแลกเปลย่ี นแก๊สระหว่างถงุ ลมปอดกับเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง ซง่ึ แกส๊ CO2 ที่อยูใ่ นเลือดจะ แพร่เขา้ สู่ถงุ ลมปอดเพื่อขบั ออกจากรา่ งกายโดยการหายใจออก และเมอ่ื CO2 ลดลงจะส่งผลให้ H+ ในเลือดลดลง ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป/ขน้ั ดำเนนิ การค้นหาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเก่ียวกบั การรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสโดยการทำงานของปอด โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปีย่ ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 4 28 ช่วั โมงที่ 2 ข้ันสำรวจและคน้ พบ/ข้นั การเตรยี มการคน้ หาคำตอบ 1. ครทู บทวนความรเู้ ดิมจากชั่วโมงท่แี ล้วใหน้ กั เรียนทราบ พอสังเขป 2. ครถู ามคำถามกบั นักเรยี นวา่ เพราะเหตุใด เม่อื เราออกกำลังกายอย่างหนัก ร่างกายจงึ มอี ัตราการ หายใจทมี่ ากขึ้น (แนวตอบ เมอ่ื เราออกกำลังกายอยา่ งหนัก จงึ มีการหายใจระดบั เซลล์เพิ่มมากขน้ึ ทำใหเ้ กิด CO2 มากข้นึ และจะรวมตัวกบั นำ้ ในเซลล์เมด็ เลอื ดแดงเกิดเปน็ กรดคาร์บอนกิ (H2CO3) ท่จี ะแตกตัวให้ ไฮโดรเจนไอออน (H+) กบั ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน (HCO3-) ส่งผลทำใหเ้ ลอื ดมีความเปน็ กรด สูงขน้ึ รา่ งกายจึงต้องหายใจออกเพือ่ กำจดั CO2 มีผลทำให้ H+ ในเลอื ดลดลง จึงทำใหค้ วามเปน็ กรด ของเลือดลดลง) 3. ครูอธิบายใหน้ กั เรยี นฟังว่า ไตเปน็ อีกอวัยวะสำคญั ทร่ี ักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในเลอื ด และให้ นกั เรียนศึกษาการทำงานของไตในการรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือด ซ่งึ เมื่อเลือดมคี วามเป็น กรดสูง (pH ตำ่ ) หน่วยไตจะขบั สารท่มี ีส่วนประกอบของไฮโดรเจนไอออน และขับแอมโมเนียม ไอออน (NH4+) ออกจากเลือด ดดู กลับสารบางชนดิ เช่น โซเดียมไอออน (Na+) และไฮโดรเจน คารบ์ อเนตไอออน (HCO3-) แต่หากเลือดมีความเป็นเบสสูง (pH สงู ) กจ็ ะเกดิ กระบวนการ ที่ตรงกนั ข้าม 4. ครอู ธบิ ายให้นกั เรยี นฟงั วา่ การตรวจเลอื ดหรือปัสสาวะจะทำใหท้ ราบสารต่าง ๆ ซง่ึ หากมีคา่ ท่ี ผิดปกตจิ ะเปน็ สัญญาณเตือนถึงความผิดปกตขิ องอวยั วะต่าง ๆ ของรา่ งกายไดเ้ ช่นกัน 4. ครอู ธิบายให้นักเรยี นฟงั ว่า นอกจากกรด-เบสจะมีผลตอ่ การทำงานของเอนไซม์แลว้ อุณหภมู ยิ งั เปน็ อีกปจั จัยสำคญั ซึง่ ปกตริ า่ งกายของมนษุ ย์จะมีอณุ หภมู อิ ยู่ในช่วง 35.85-37.70 องศาเซลเซียส แต่หากอุณหภมู ิสงู หรือต่ำกวา่ ช่วงดังกลา่ ว ร่างกายจะมีกลไกตอบสนองต่าง ๆ 5. ครถู ามคำถามกบั นกั เรยี นวา่ เพราะเหตุใด เม่ือเราป่วยและมีอาการไข้ขึ้นสงู รา่ งกายจงึ มเี หง่ือออก มากกว่าปกติ (แนวตอบ เม่อื เราปว่ ยและมอี าการไข้ขนึ้ สงู ร่างกายจะมีอุณหภมู ิสูงกว่าปกติ ทำใหต้ ้องปรับตวั เพอ่ื ให้ อุณหภูมลิ ดลง โดยตอ่ มเหง่อื จะหลั่งเหงอื่ เพ่ิมมากขนึ้ เพอื่ เพิม่ การระเหยและพาความร้อนออกจาก ร่างกาย) 6. ครูให้นักเรยี นศกึ ษากลไกการรกั ษาดุลยภาพของอณุ หภูมใิ นร่างกาย โดยอาศยั การตอบสนองของ ระบบหมุนเวียนเลอื ด ผวิ หนัง และกลา้ มเนื้อโครงรา่ ง เมอ่ื อณุ อณุ หภมู ภิ ายนอกรา่ งกาย เปลย่ี นแปลง 7. ครใู ห้นักเรยี นเปรียบเทยี บกลไกการรกั ษาดุลยภาพของรา่ งกายจากตารางท่ี 3.2 แล้วถามนักเรยี น วา่ หากนกั เรยี นเดินทางไปเท่ียวในประเทศท่ีมีหมิ ะตก รา่ งกายของนักเรยี นจะมกี ารปรบั ตัวอยา่ งไร (แนวตอบ หากนักเรียนเดนิ ทางไปเทย่ี วในประเทศทม่ี หี มิ ะตก แสดงวา่ อณุ หภมู ภิ ายนอกร่างกายต่ำ โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 4 29 กวา่ อณุ หภูมภิ ายในร่างกาย รา่ งกายจะมีการตอบสนองโดยเพิ่มอตั ราเมแทบอลิซมึ ลดการขยายตวั ของหลอดเลอื ด ตอ่ มเหงอื่ สร้างเหงื่อนอ้ ยลงหรือไม่สร้างเหง่ือ ขนลุกเกดิ อาการหนาวสน่ั ลดการ ระเหยและการพาความรอ้ นออกจากร่างกาย) 8. ครอู ธิบายให้นกั เรยี นฟังวา่ จากข้อมูลท่ีศกึ ษาจะเหน็ ว่ามนษุ ย์สามารถควบคุมอุณหภมู ิในร่างกาย ต่อการเปล่ียนแปลงของอณุ หภูมภิ ายนอกได้ รวมถงึ สงิ่ มชี ีวติ กลุ่มอน่ื ๆ เช่น สัตวเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยนำ้ นม สัตวป์ ีก เรียกสัตวก์ ล่มุ นีว้ ่า สตั ว์เลอื ดอนุ่ แต่สัตวบ์ างกลุ่ม เช่น สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน สัตวส์ ะเทินนำ้ สะเทนิ บก และสัตว์พวกปลา จะไม่สามารถควบคุมอุณหภมู ขิ องร่างกายได้ อุณหภูมิของรา่ งกายจึง แปรผันตามอณุ หภูมภิ ายนอกรา่ งกาย เรียกสัตวก์ ลมุ่ น้วี า่ สัตว์เลือดเย็น ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป/ขัน้ ดำเนนิ การคน้ หาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ 1. ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกับ การรกั ษาดุลยภาพของกรด-เบส โดยการทำงานของไต 3. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทกั ษะ เรื่อง การเปรียบเทยี บอุณหภูมิในร่างกาย 4. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายเก่ยี วกับการรกั ษาดุลยภาพของอุณหภมู ิในร่างกาย 5. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบฝกึ ทักษะ เรอ่ื ง การรักษาดลุ ยภาพของอุณหภูมิในรา่ งกาย 1. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกบั การรักษาดลุ ยภาพของอุณหภูมิในร่างกายของสัตว์ต่าง ๆ ขน้ั ขยายความรูแ้ ละนำเสนอผลการค้นหาคำตอบ 1. ครใู ห้นักเรียนทำผงั สรุป เรือ่ ง กลไกการรักษาดุลยภาพอณุ หภมู ใิ นรา่ งกาย ลงในกระดาษ ขน้ั สรุปและประเมนิ ผล 1. ครูตรวจสอบผลจากการอภปิ รายการรกั ษาดุลยภาพของอุณหภูมใิ นร่างกายของสตั วต์ า่ ง ๆ 2. ครตู รวจสอบผลจากผงั สรปุ เร่ือง กลไกการรกั ษาดลุ ยภาพอุณหภูมใิ นร่างกาย 3. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบฝกึ ทกั ษะ เร่อื ง การเปรยี บเทียบอุณหภูมิในรา่ งกาย 4. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบฝึกทกั ษะ เรอ่ื ง การรกั ษาดลุ ยภาพของอณุ หภูมิในรา่ งกาย 9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ จำนวน สภาพการใชส้ ่ือ 1 ชุด ข้นั ขยายความรู้ รายการสอื่ 1 ชุด ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ 1. ผงั สรุป เรื่อง กลไกการรักษาดลุ ยภาพอุณหภูมิในรา่ งกาย 1 ชุด ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป 2. แบบฝึกทักษะ เรอื่ ง การเปรียบเทยี บอุณหภูมิในรา่ งกาย 3. แบบฝึกทกั ษะที่ เรื่อง การรกั ษาดุลยภาพของอุณหภมู ใิ น ร่างกาย โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 30 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ วธิ ีวัด เครื่องมือวดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ช้นิ งาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ 1) อธิบายการรกั ษา 1. ผังสรปุ เรอ่ื ง กลไก ตรวจผงั สรปุ เรอ่ื ง แบบประเมนิ ช้นิ งาน คะแนน ระดับคุณภาพ ดุลยภาพของกรด- การรกั ษาดุลยภาพ กลไกการรักษาดลุ ย ร้อยละ 65 ผา่ นเกณฑ์ เบสในรา่ งกายโดย อณุ หภูมิในร่างกาย ภาพอณุ หภมู ิใน ระดับคณุ ภาพ การทำงานของไต ร่างกาย ร้อยละ 65 ผา่ นเกณฑ์ และปอด 2. แบบฝกึ ทกั ษะ ตรวจแบบฝกึ ทักษะ แบบประเมินแบบฝกึ ระดับคุณภาพ 2) อธบิ ายการรักษา เรื่อง การเปรียบ เร่อื ง การ ทกั ษะ รอ้ ยละ 65 ผา่ นเกณฑ์ ดลุ ยภาพของ เทียบอณุ หภูมิใน เปรยี บเทียบ ระดบั คณุ ภาพ 2 อุณหภมู ใิ นรา่ งกาย ร่างกาย อณุ หภูมใิ น ร่างกาย ผ่านเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 โดยการทำงานของ 3. แบบฝึกทกั ษะ ตรวจแบบฝกึ ทกั ษะ แบบประเมินแบบฝกึ ผ่านเกณฑ์ ระบบหมนุ เวยี น เรอ่ื ง การรักษาดุลย เรื่อง การรักษา ทักษะ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ เลอื ด ผิวหนงั และ ภาพของอุณหภมู ิใน ดุลยภาพของ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ กล้ามเนื้อโครงรา่ งได้ ร่างกาย อณุ หภมู ใิ นรา่ งกาย 3) เปรยี บเทียบกลไก 5. การนำเสนอผลงาน ประเมินการ ผลงานท่ีนำเสนอ การรกั ษาดุลยภาพ นำเสนอผลงาน ของอุณหภมู ิใน 6. พฤติกรรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ร่างกายเมอ่ื อุณหภูมิ ทำงานรายบุคคล การทำงาน การทำงานรายบุคคล ภายนอกสงู กว่า/ รายบุคคล ตำ่ กวา่ อุณหภูมขิ อง 7. พฤติกรรมการ สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ร่างกายได้ ทำงานรายกลมุ่ การทำงานรายกลุม่ การทำงานรายกล่มุ 8. คุณลักษณะ สังเกตความมวี ินัย แบบประเมนิ อันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้และมุง่ ม่นั คุณลกั ษณะ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 4 31 แบบประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชี้แจง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 3 21 1 เนอื้ หาละเอียดชัดเจน 2 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา   3 ภาษาที่ใชเ้ ข้าใจง่าย   4 ประโยชน์ทีไ่ ด้จากการนำเสนอ   5 วิธีการนำเสนอผลงาน     รวม ลงชอ่ื ...................................................ผ้ปู ระเมิน (นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบุญเปี่ยม) ............./................../............... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรบั ปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 32 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของผู้อน่ื   3 การทำงานตามหน้าทที่ ี่ได้รับมอบหมาย   4 ความมีน้ำใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชือ่ ...................................................ผ้ปู ระเมนิ นางสาวสุดาภรณ์ สบื บุญเป่ยี ม ............./................../.............. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบุญเป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 33 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน การมี การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี สว่ นร่วมใน รวม ช่อื – สกลุ ความ ฟังคนอนื่ ตามทไี่ ดร้ ับ น้ำใจ การ 15 ท่ี ของนกั เรียน คดิ เห็น มอบหมาย ปรบั ปรุง คะแนน ผลงานกลมุ่ 321321321321321 โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 34 การมี การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี สว่ นร่วมใน รวม ท่ี ชอ่ื – สกลุ ความ ฟงั คนอ่นื ตามทไ่ี ดร้ ับ น้ำใจ การ 15 ของนกั เรยี น คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลุ่ม 321321321321321 ลงช่อื ...................................................ผูป้ ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ์ สืบบุญเปีย่ ม) ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย ............../.................../............... เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 35 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อันพึงประสงคด์ า้ น 321 1. มีวินัย รบั ผดิ ชอบ 1.1 ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับของครอบครวั มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน 2. ใฝเ่ รียนรู้ 2.1 รจู้ ักใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ 2.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 2.3 เช่อื ฟงั คำส่งั สอนของบิดา - มารดา โดยไมโ่ ตแ้ ยง้ 2.4 ตั้งใจเรียน 3. ม่งุ มั่นในการทำงาน 3.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ ับมอบหมาย 3.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ตอ่ อุปสรรคเพ่ือใหง้ านสำเรจ็ ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ์ สืบบญุ เปยี่ ม) ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ิชัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ตั บิ างครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 51 - 60 ดีมาก 41 - 50 ดี 30 - 40 พอใช้ ต่ำกวา่ 30 ปรับปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 36 แบบบนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ท.ี่ ......... เรอื่ ง................................................................ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่.ี .......... เรือ่ ง................................................... รายวิชา วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 รหสั วิชา ว31101 ครูผ้สู อน นางสาวสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ยี ม ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย เวลาทใ่ี ช.้ ................ ชวั่ โมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาทพ่ี บ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้อื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน ลงช่อื ..................................................ผู้สอน (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................. (นายกติ ตธิ ัช จนั ทรา) รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบุญเป่ยี ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 37 แบบบนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ท.ี่ ......... เรอื่ ง................................................................ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่.ี .......... เรือ่ ง................................................... รายวิชา วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 รหสั วิชา ว31101 ครูผ้สู อน นางสาวสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ยี ม ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย เวลาทใ่ี ช.้ ................ ชวั่ โมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาทพ่ี บ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้อื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .................................................. (นายกติ ตธิ ัช จนั ทรา) รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 38 แบบบนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ช่ือหนว่ ยการเรยี นรทู้ .่ี ......... เรอื่ ง................................................................ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่.ี .......... เรือ่ ง................................................... รายวิชา วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 รหสั วิชา ว31101 ครูผสู้ อน นางสาวสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ยี ม ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย เวลาทใ่ี ช.้ ................ ชั่วโมง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้อคน้ พบระหว่าง ปัญหาทพ่ี บ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้อื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมสี ่วนรว่ มของผู้เรียน ลงช่อื ..................................................ผู้สอน (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย ความเห็นของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาหรือผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................. (นายกิตตธิ ัช จนั ทรา) รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบุญเป่ยี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 39 แบบฝกึ ทักษะ เรื่อง การรักษาดลุ ยภาพอุณหภมู ิในรา่ งกาย คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนเปรยี บเทียบกลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภมู ิในร่างกายต่อไปน้ี โครงสรา้ งของร่างกาย อุณหภูมิภายนอกสงู กว่าอณุ หภมู ิ อณุ หภูมภิ ายนอกตำ่ กว่าอณุ หภมู ิ 1. ตอ่ มเหงอ่ื ภายในร่างกาย ภายในร่างกาย ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... 2. หลอดเลือดฝอยทผ่ี ิวหนงั ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... 3. กลา้ มเนือ้ โครงรา่ ง ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... 4. รขู ุมขน ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... 5. อัตราเมแทบอลซิ มึ ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 40 เฉลยแบบฝึกทกั ษะ เรื่อง การรักษาดลุ ยภาพอณุ หภูมิในรา่ งกาย คำช้แี จง ให้นักเรยี นเปรียบเทยี บกลไกการรกั ษาดุลยภาพของอณุ หภมู ใิ นรา่ งกายต่อไปนี้ โครงสร้างของรา่ งกาย อุณหภมู ิภายนอกสงู กว่าอณุ หภูมิ อณุ หภมู ิภายนอกตำ่ กวา่ อณุ หภูมิ 1. ตอ่ มเหงือ่ ภายในร่างกาย ภายในร่างกาย ตอ่ มเหงือ่ หลั่งเหงอื่ มากขึ้น เพือ่ เพิ่ม ตอ่ มเหงื่อไมห่ ลัง่ เหงือ่ เพอ่ื ลดการ การระเหยและการพาความร้อน ระเหยและการพาความรอ้ น 2. หลอดเลือดฝอยทผ่ี วิ หนัง หลอดเลือดฝอยที่ผวิ หนงั ขยายตัว หลอดเลือดฝอยที่ผิวหนังหดตัว เพื่อเพม่ิ การแผ่รงั สีความร้อน เพอ่ื ลดการแผ่รงั สีความร้อน 3. กลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง กล้ามเนอื้ โครงร่างไม่หดตัว กลา้ มเนือ้ โครงรา่ งหดตัวเรว็ ขึน้ ทำให้รา่ งกายหนาวสน่ั 4. รขู ุมขน รูขมุ ขนขยายตัว ทำใหข้ นเอนราบ รูขุมขนหดตวั ทำให้ขนลุกชัน 5. อตั ราเมแทบอลซิ มึ ลดอัตราเมแทบอลิซึมของรา่ งกาย เพมิ่ อตั ราเมแทบอลซิ มึ ของ รา่ งกาย โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 41 แบบฝกึ ทักษะ เรือ่ ง การรักษาดุลยภาพของอุณหภมู ใิ นร่างกาย คำช้ีแจง ให้นกั เรียนเขียนเคร่ืองหมาย ✓ หน้าข้อความทถ่ี ูกต้อง และเขียนเคร่ืองหมาย × หนา้ ข้อความ ท่ไี มถ่ กู ต้อง พร้อมท้ังแก้ไขข้อความนนั้ ใหถ้ กู ต้อง ………. 1. การหายใจออกเป็นกลไกในการรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในร่างกายประเภทหนงึ่ ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 2. ปรมิ าณ CO2 จากกระบวนการเมแทบอลิซมึ ของรา่ งกาย มีผลต่อปริมาณ H+ ในเลือด ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 3. เมื่อเลือดมี pH ต่ำ หน่วยไตจะดูดกลับ NH4+ เขา้ สู่เลือด และขับ HCO3- ออกจากเลือด ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 4. ปอดและไตเป็นอวัยวะสำคัญในการรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสของร่างกาย ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 5. ศูนย์กลางควบคมุ ดลุ ยภาพของอุณหภมู ิในร่างกายอยู่ทีส่ มองสว่ นเซรเี บลลมั ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 6. ตอ่ มหงื่อทท่ี ำหน้าทีห่ ล่ังเหงอ่ื เพือ่ พาความร้อนออกจากรา่ งกายพบอยู่ในชน้ั หนังกำพรา้ ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 7. โครงสร้างทีช่ ่วยรักษาดลุ ยภาพของอุณหภมู ิในรา่ งกาย ประกอบด้วยระบบหมนุ เวียนเลอื ด ผิวหนงั และกล้ามเนื้อโครงร่าง ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 8. หากอุณหภูมิในร่างกายสงู กว่าภายนอกร่างกาย รา่ งกายจะมอี ัตราเมแทบอลซิ ึมต่างๆ เพ่ิมขนึ้ เพอื่ พา ความร้อนออกจากร่างกาย ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 9. เมอ่ื ภายนอกมีอณุ หภมู ิต่ำกวา่ ภายในร่างกาย ร่างกายจะตอบสนองโดยการขยายตวั ของหลอดเลือด ต่อมเหง่ือสร้างเหง่ือลดลง และเกดิ อาการหนาวสนั่ ……………………………………………………………………………………………………………………… ………. 10. ส่งิ มีชีวิตกลุม่ สตั ว์เล้อื ยคลานและสัตว์สะเทินนำ้ สะเทินบก จดั อยู่ในกลุ่มสัตวเ์ ลอื ดอุน่ ที่สามารถ รักษาอุณหภูมิของรา่ งกายให้คงทีไ่ ด้ ……………………………………………………………………………………………………………………… โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ยี ม กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 42 เฉลยแบบฝกึ ทักษะ เรอ่ื ง การรักษาดลุ ยภาพของอณุ หภูมิในร่างกาย คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเขียนเครื่องหมาย ✓ หน้าข้อความท่ีถกู ตอ้ ง และเขยี นเคร่อื งหมาย × หนา้ ข้อความ ทไ่ี มถ่ ูกต้อง พรอ้ มท้ังแกไ้ ขขอ้ ความนัน้ ให้ถกู ต้อง ……✓…. 1. การหายใจออกเปน็ กลไกในการรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในรา่ งกายประเภทหนง่ึ ……✓…. 2. ปริมาณ CO2 จากกระบวนการเมแทบอลซิ ึมของร่างกาย มผี ลต่อปรมิ าณ H+ ในเลอื ด ……× …. 3. เม่อื เลอื ดมี pH ตำ่ หน่วยไตจะดดู กลับ NH4+ เข้าสู่เลอื ด และขับ HCO3- ออกจากเลอื ด เมื่อเลือดมี pH ตำ่ หนว่ ยไตจะขับ NH4+ ออกจากเลือด และดดู กลับ HCO3- เข้าสู่เลอื ด ……✓…. 4. ปอดและไตเปน็ อวัยวะสำคัญในการรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสของร่างกาย ……×…. 5. ศูนย์กลางควบคมุ ดุลยภาพของอุณหภูมิในรา่ งกายอยู่ทีส่ มองสว่ นเซรีเบลลัม ศูนย์กลางควบคมุ ดุลยภาพของอณุ หภมู ิในร่างกายอยูท่ ่ีสมองส่วนไฮโพทาลามัส ……×…. 6. ตอ่ มหง่ือท่ีทำหน้าท่ีหลั่งเหงอื่ เพ่ือพาความร้อนออกจากรา่ งกายพบอยู่ในช้นั หนังกำพร้า ต่อมหง่อื ทที่ ำหน้าท่ีหลัง่ เหงอื่ เพือ่ พาความรอ้ นออกจากร่างกายพบอยู่ในช้ันหนงั แท้ ……✓…. 7. โครงสรา้ งทชี่ ว่ ยรกั ษาดุลยภาพของอณุ หภมู ใิ นร่างกาย ประกอบด้วยระบบหมุนเวียนเลอื ด ผิวหนงั และกลา้ มเนือ้ โครงร่าง ……×…. 8. หากอณุ หภมู ิในร่างกายสูงกวา่ ภายนอกรา่ งกาย ร่างกายจะมอี ตั ราเมแทบอลซิ มึ ต่างๆ เพิ่มขึ้น เพื่อ พาความร้อนออกจากรา่ งกาย หากอณุ หภมู ิในรา่ งกายสงู กว่าภายนอกร่างกาย รา่ งกายจะมีอัตราเมแทบอลิซึมตา่ งๆ ลดลง เพอ่ื ลดอุณหภมู ภิ ายในรา่ งกายเข้าส่สู ภาวะปกติ ……✓…. 9. เม่อื ภายนอกมอี ณุ หภมู ิต่ำกว่าภายในรา่ งกาย รา่ งกายจะตอบสนองโดยการขยายตัวของหลอด เลือด ต่อมเหงอ่ื สรา้ งเหงอื่ ลดลง และเกิดอาการหนาวส่ัน ……×…. 10. สง่ิ มชี วี ิตกลมุ่ สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทนิ น้ำสะเทินบก จัดอยู่ในกลุ่มสัตวเ์ ลอื ดอุ่น ท่ีสามารถ รกั ษาอุณหภูมขิ องร่างกายใหค้ งที่ได้ สงิ่ มีชีวิตกลุ่มสัตวเ์ ลือ้ ยคลานและสตั วส์ ะเทินน้ำสะเทนิ บก จัดอยู่ในกลมุ่ สตั ว์เลือดเย็น ท่ไี ม่สามารถ รกั ษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงทไี่ ด้ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 43 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 เรอ่ื ง การดำรงชีวติ ของมนษุ ย์ แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 3 เร่อื ง ระบบภูมคิ ุม้ กัน รายวชิ า วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ รหัสวชิ า ว31101 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2566 น้ำหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคัญ ร่างกายมกี ลไกป้องกัน ทำลายเชือ้ โรคและสิง่ แปลกปลอมออกเปน็ 2 ระบบ ไดแ้ ก่ 1. ระบบภูมิค้มุ กนั แบบไมจ่ ำเพาะ มคี วามสามารถในการป้องกนั ทำลายเชอ้ื โรคและสิง่ แปลกปลอมได้เพยี ง ระดบั หน่เึ ท่ากนั ซึง่ แบ่งกลไกการทำงานออกเป็น 3 ระบบ ไดแ้ ก่ การปอ้ งการทางกายภาพ เชน่ ผวิ หนัง เย่อื บผุ ิว การปอ้ งกนั โดยสารเคมี เชน่ สารเคมใี นตอ่ มนำ้ ตา ต่อมนำ้ ลาย กระเพาะอาหาร และต่อมเหง่อื และการกลนื กนิ ของเซลล์โดยการทำงานของเซลลเ์ ม็ดเลือดขาวชนิดฟาโกไซต์ 2. ระบบภูมคิ มุ้ กนั แบบจำเพาะ เป็นกลไกป้องกนั ทำลายเชื้อโรคและส่งิ แปลกปลอมที่มีความจำเพาะต่อ แอนติเจนแตล่ ะชนดิ อาศัยการทำงานของเซลลเ์ ม้ดเลอื ดขาวลิมโฟไซต์ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ เซลล์บแี ละเซลลท์ ี ซึง่ เซลลท์ ีจะพัฒนาเปน็ เซลล์พลาสมาเพ่ือสร้างแอนติเจนเข้าทำลายส่ิงแปลกปลอม ส่วนเซลลท์ ีทำหน้าที่ จดจำและระบุชนดิ ของเชือ้ โรค 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัดชนั้ ปี/ผลการเรยี นร้/ู เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสิง่ มีชวี ิต หนว่ ยพ้นื ฐานของส่ิงมชี วี ิต การลำเลยี งสารผ่านเซลล์ ความสมั พันธ์ ของโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท่ี ำงานสัมพนั ธก์ นั ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ทข่ี องอวยั วะต่าง ๆ ของพืชท่ีทำงานสมั พนั ธ์กนั รวมทง้ั นำ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ ม.4/5 อธิบายและเขยี นแผนผังเกย่ี วกับการตอบสนองของร่างกายแบบไมจ่ ำเพาะ และ แบบ จำเพาะตอ่ สิ่งแปลกปลอมของร่างกาย 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge 1) อธิบายการทำงานของระบบภุมคิ มุ้ กันแบบไมจ่ ำเพาะได้ 2) อธบิ ายการทำงานของระบบภุมคิ ุ้มกนั แบบจำเพาะได้ โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปยี่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 44 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 1) เขยี นกลไกการทำงานของเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวชนิดฟาโกไซตไ์ ด้ 2) เขียนกลไกการทำงานของเซลลบ์ ีและเซลล์ทไี ด้ 3.3 คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ : Attitude 1) สนใจใฝร่ ้ใู นการศึกษา 4. สมรรถนะสำคัญของนกั เรียน 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคิด 5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คุณลักษณะของวิชา 1) ความรบั ผิดชอบ 2) กระบวนการกล่มุ 6. คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : 1. แผนผัง เรื่อง เซลล์เม็ดเลือดขาว 2. ใบงาน เรอื่ ง เซลล์เม็ดเลือดขาวกล่มุ ฟาโกไซต์ 3. แบบฝกึ ทักษะ เร่อื ง ภูมคิ ุม้ กนั 4. แบบฝึกทักษะ เรือ่ ง การทำงานของภมู คิ ุ้มกนั 5. ใบงาน เรื่อง การทำงานของเซลล์บีและเซลล์ที 6. สถานการณ์จำลอง เรือ่ ง การทำงานของเซลล์บแี ละเซลล์ที 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรียน/ข้นั ตั้งคำถาม 1. ครกู ระต้นุ ความสนใจของนักเรยี น โดยนำภาพแบคทเี รีย ไวรสั เชอื้ รามาให้นักเรียนดู แลว้ อธบิ าย วา่ สง่ิ แวดล้อมรอบตวั เรามีสงิ่ มชี วี ติ เหลา่ น้ีอยู่ ซ่ึงเราอาจไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปลา่ และ เมือ่ รา่ งกายได้รับสิ่งเหล่าน้เี ขา้ ไปอาจทำใหเ้ กดิ ภาวะเจบ็ ปว่ ยตามมาได้ 2. ครใู ช้คำถาม เพื่อทบทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นวา่ เช้อื โรคและส่ิงแปลกปลอมสามารถเขา้ สู่ รา่ งกายได้ทางใดบ้าง (แนวตอบ เชอ้ื โรคหรือส่ิงแปลกปลอมสามารถเขา้ สู่รา่ งกายไดห้ ลายทาง ท้งั ทางผวิ หนัง ระบบหายใจ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 45 ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมุนเวยี นโลหติ ) ข้นั สำรวจและค้นพบ/ขั้นการเตรยี มการคน้ หาคำตอบ 1. ครอู ธบิ ายให้นักเรยี นฟงั วา่ เมือ่ ร่างกายเกดิ บาดแผล เชอื้ โรคและสง่ิ แปลกปลอมต่าง ๆ ใน ส่งิ แวดล้อมจะเข้าสูร่ ่างกาย เรยี กเช้ือโรคและส่ิงแปลกปลอมเหลา่ น้วี ่า แอนติเจน 2. ครูถามนักเรียนว่า ร่างกายของเรามีกลไกต่อต้านเช้อื โรคและสงิ่ แปลกปลอมเหลา่ นีอ้ ย่างไร (แนวตอบ ร่างกายมกี ลไกตอ่ ตา้ นเช้อื โรคและสง่ิ แปลกปลอมท่เี ขา้ ส่รู ่างกายทห่ี ลากหลาย ทั้งการ ป้องกนั จากสิง่ กดี ขวางภายนอกร่างกาย เช่น ผิวหนัง เป็นต้น การปอ้ งกันจากสารเคมีที่รา่ งกายสร้าง ข้ึน เช่น เอนไซม์ นำ้ ย่อย เปน็ ตน้ และการปอ้ งกนั ของเซลล์เมด็ เลอื ดขาวชนิดตา่ ง ๆ ซ่งึ การป้องกัน เหล่านี้จะถกู แบง่ ออกเปน็ 2 ระบบ คอื ระบบภูมิคุ้มกันแบบไมจ่ ำเพาะ และระบบภมู คิ ุ้มกันแบบ จำเพาะ) 3. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรยี นฟงั ว่า ระบบภูมิค้มุ กนั แบบไมจ่ ำเพาะ มีความสามารถในการปอ้ งกนั และ ทำลายเชือ้ โรคและส่งิ แปลกปลอมท่ไี ม่สูงนกั ซ่ึงมกี ลไกการทำงานแบ่งออกเป็น 3 ระบบ ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ /ขั้นดำเนินการคน้ หาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ 1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกบั ระบบภูมคิ ้มุ กนั แบบไมจ่ ำเพาะจากการปอ้ งกันทาง กายภาพ และสารเคมใี นรา่ งกาย 2. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบฝกึ ทกั ษะ เรือ่ ง ภูมคิ ุ้มกัน ช่วั โมงท่ี 2 ขัน้ สำรวจและค้นพบ/ขั้นการเตรยี มการคน้ หาคำตอบ 1. ครูทบทวนความรูเ้ ดิมจากช่วั โมงที่แล้วใหน้ กั เรียนทราบ พอสงั เขป 2. ครอู ธิบายใหน้ กั เรียนฟงั วา่ นอกจากกลไกการป้องกนั และทำลายเชอ้ื โรคทง้ั 2 ระบบที่ผา่ นมา ยังมี กลไกการปอ้ งกันเชือ้ โรคและส่งิ แปลกปลอมโดยการทำงานของเซลล์เมด็ เลอื ดขาวชนิดฟาโกไซต์ ซงึ่ จะทำลาย สง่ิ แปลกปลอมด้วยวิธีฟาโกไซโทซิส หรือการกลืนกนิ ของเซลล์ 3. ครใู ห้นกั เรยี นศึกษาเซลลเ์ มด็ เลือดขาวชนดิ ฟาโกไซตต์ ่าง ๆ ซึ่งมีหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั และ เปรียบเทยี บลักษณะ และการทำลายของเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวตา่ ง ๆ 4. ครใู ห้นักเรียนศึกษากลไกการทำงานของเซลล์เม็ดเลอื ดขาวชนดิ ฟาโกไซต์ เม่ือมเี ชอ้ื โรคหรือ สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่รา่ งกาย 5. ครูอธิบายใหน้ กั เรยี นฟังวา่ จากท่เี รยี นผ่านมาเปน็ ระบบภูมคิ ุ้มกนั แบบไม่จำเพาะ แตห่ ากร่างกาย ได้รบั เชื้อโรคที่รุนแรง หรอื มีความจำเพาะ รา่ งกายจะมกี ลไกทำลายเชอ้ื โรคและส่งิ แปลกปลอม ที่ เรยี กวา่ ระบบภูมิคมุ้ กันแบบจำเพาะ 6. ครอู ธิบายให้นกั เรียนฟงั ว่า ระบบภูมิค้มุ กันแบบจำเพาะอาศัยการทำงานของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาวลิม โฟไซต์ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ เซลลบ์ ีและเซลล์ที ซ่งึ เซลลท์ ีจะพัฒนาเปน็ เซลลพ์ ลาสมาเพอื่ สรา้ งแอนตเิ จน โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบุญเปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 46 เข้าทำลายสิง่ แปลกปลอม และเซลลท์ ีทำหน้าที่จดจำและระบชุ นิดของเชื้อโรคตา่ ง ๆ 7. ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษา กลไกการทำงานของเซลล์บแี ละเซลล์ทีในการทำลายเชอ้ื โรคและสิ่ง แปลกปลอม 8. ครูแบง่ นกั เรยี นออกเปน็ 3 กลุ่ม รวมกันวางแผนการจำลองสถานการณก์ ารทำงานของเซลลบ์ ีและ เซลลท์ ีในการทำลายเชือ้ โรคและสิ่งแปลกปลอม ซ่ึงแต่ละกล่มุ มีตวั แสดง ดงั น้ี - เชอ้ื โรค - แอนติเจน - เซลลเ์ มด็ เลือดขาวฟาโกไซต์ - เซลลบ์ ี - เซลลท์ ี - เซลล์พลาสมา - แอนติบอดี - เซลลเ์ มมอรี ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ วางแผน เพอ่ื จำลองสถานการณใ์ นช่ัวโมงต่อไป 9. ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละกล่มุ จดั เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์เพือ่ ใชใ้ นการจำลองสถานการณ์ การทำงานของ เซลลบ์ ีและเซลล์ทีในการทำลายเชื้อโรคและสิง่ แปลกปลอม ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ /ขนั้ ดำเนินการค้นหาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ 1. ครูสมุ่ เลือกนักเรยี น 4 คน ออกมาอธิบายลักษณะและบทบาทของเซลล์เมด็ เลือดขาวแต่ละชนดิ 2. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 3 คน ออกมาอธิบายกลไกการทำงานของเซลล์เมด็ เลอื ดขาวชนิดฟาโกไซต์ 3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ยี วกบั การกลนื กนิ ของเซลล์ 4. ครูให้นกั เรยี นทำใบงานท่ี เรอ่ื ง เซลล์เมด็ เลือดขาวกล่มุ ฟาโกไซต์ 5. ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมาเสนอ แผนการจำลองสถานการณก์ ารทำงานของเซลลบ์ ีและเซลลท์ ี ในการทำลายเช้ือโรคและสิง่ แปลกปลอม 6. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกับแผนการจำลองสถานการณก์ ารทำงานของเซลลบ์ ีและ เซลลท์ ีในการทำลายเช้อื โรคและสิ่งแปลกปลอมของแต่ละกลมุ่ เพ่ือใหน้ ักเรยี นนำไปปรบั ใช้ในการ จำลองสถานการณ์จรงิ ในชวั่ โมงต่อไป 7. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ออกมาจำลองสถานการณ์ การทำงานของเซลล์บีและเซลล์ทใี นการทำลาย เชือ้ โรคและสง่ิ แปลกปลอม ในเวลา 5 นาที 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกย่ี วกบั ระบบภูมคิ ้มุ กนั แบบจำเพาะ 9. ครใู หน้ กั เรียนทำใบงานท่ี เรอื่ ง การทำงานของเซลลบ์ แี ละเซลล์ที 10. ครูให้นกั เรียนทำแบบฝึกทกั ษะ เร่อื ง การทำงานของระบบภมู คิ ้มุ กัน ขนั้ ขยายความรแู้ ละนำเสนอผลการค้นหาคำตอบ 1. ครูใหน้ ักเรยี นสืบคน้ เรอ่ื ง เซลล์เมด็ เลอื ดขาว มเี น้อื หาประกอบด้วย ประเภทของเซลลเ์ ม็ดเลือด ขาว ลักษณะของเซลล์เม็ดเลือดขาว หน้าท่แี ละการทำงานของเซลลเ์ ม็ดเลือดขาว และความ ผิดปกติของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว แลว้ จัดทำแผนผัง โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บุญเปยี่ ม กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 47 ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ครูตรวจสอบผลจากการทำแผนผงั เรอื่ ง เซลล์เมด็ เลอื ดขาว 2. ครตู รวจสอบผลจากใบงาน เร่ือง เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวกลุ่มฟาโกไซต์ 3. ครูตรวจสอบผลจากการทำแบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ภูมคิ มุ้ กัน 4. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบฝกึ ทักษะ เรอ่ื ง การทำงานของภูมคิ ุ้มกนั 5. ครูตรวจสอบผลจากใบงาน เรื่อง การทำงานของเซลล์บแี ละเซลลท์ ี 6. ครูตรวจสอบผลจากสถานการณ์จำลอง เร่อื ง การทำงานของเซลล์บแี ละเซลล์ที 9. ส่ือการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ จำนวน สภาพการใช้สอ่ื รายการสอ่ื 1 ชดุ ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ 1 ชดุ ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 1. แผนผัง เรื่อง เซลล์เม็ดเลือดขาว 1 ชุด ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรุป 2. ใบงาน เร่ือง เซลล์เม็ดเลือดขาวกลุ่มฟาโกไซต์ 1 ชุด ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ 3. แบบฝึกทักษะ เร่ือง ภมู ิคุ้มกนั 1 ชดุ ขนั้ ขยายความรู้ 4. แบบฝึกทักษะ เรื่อง การทำงานของภมู คิ ุม้ กนั 1 ชุด ขน้ั ขยายความรู้ 5. ใบงาน เรอ่ื ง การทำงานของเซลล์บีและเซลล์ที 6. สถานการณ์จำลอง เร่อื ง การทำงานของเซลล์บีและเซลล์ที โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 48 10. การวัดผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ วี ัด เคร่อื งมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรียนรู้ ช้นิ งาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ 1) อธบิ ายการทำงาน 1. แผนผงั เรื่อง เซลล์ ตรวจแผนผัง เร่ือง แบบประเมนิ ชิ้นงาน คะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 ของระบบภุมิคมุ้ กนั เมด็ เลือดขาว เซลล์เมด็ เลอื ดขาว ผ่านเกณฑ์ แบบไมจ่ ำเพาะได 2. ใบงาน เรื่อง เซลล์ ตรวจใบงาน เรือ่ ง แบบประเมนิ ใบงาน ระดับคุณภาพ รอ้ ยละ 65 2) อธบิ ายการทำงาน เมด็ เลือดขาวกลมุ่ เซลล์เมด็ เลอื ดขาว ผา่ นเกณฑ์ ของระบบภุมิคมุ้ กัน ฟาโกไซต์ กลมุ่ ฟาโกไซต์ ระดับคณุ ภาพ แบบจำเพาะได้ 3. แบบฝึกทักษะ ตรวจแบบฝกึ ทกั ษะ แบบประเมินแบบฝกึ รอ้ ยละ 65 ผ่านเกณฑ์ 3) เขยี นกลไกการ เร่ือง ภูมคิ ้มุ กนั เร่ือง ภมู คิ มุ้ กัน ทักษะ ระดบั คุณภาพ รอ้ ยละ 65 ทำงานของเซลลเ์ ม็ด 4. แบบฝึกทักษะ เรื่อง ตรวจแบบฝกึ ทักษะ แบบประเมนิ แบบฝกึ ผา่ นเกณฑ์ เลอื ดขาวชนดิ ฟาโก การทำงานของ เรอ่ื ง การทำงาน ทักษะ ระดบั คุณภาพ 2 ไซตไ์ ด้ ผา่ นเกณฑ์ ภูมิคุม้ กนั ของภูมคิ ุ้มกนั ระดบั คุณภาพ 2 4) เขียนกลไกการ 5. ใบงาน เร่อื ง การ ตรวจใบงาน เรื่อง แบบประเมนิ ใบงาน ผา่ นเกณฑ์ ทำงานของเซลลบ์ ี ทำงานของเซลลบ์ ี การทำงานของ ผลงานท่นี ำเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 และเซลล์ทไี ด้ และเซลล์ที เซลล์บีและเซลล์ที ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ การ 6. การนำเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ นำเสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 7. พฤติกรรมการ สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ทำงานรายบคุ คล การทำงาน การทำงานรายบคุ คล รายบคุ คล 8. พฤติกรรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ทำงานรายกลมุ่ การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม 9. คุณลักษณะ สงั เกตความมวี นิ ัย แบบประเมนิ อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้และม่งุ ม่นั คุณลักษณะ ในการทำงาน อนั พึงประสงค์ โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 4 49 แบบประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระงาน แบบประเมนิ แผนผงั คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินช้นิ งาน/ภาระงานของนกั เรยี นตามรายการที่กำหนด แลว้ ขดี ✓ ลงในช่องท่ีตรง กบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 ความถกู ต้องของเนอ้ื หา 2 ความสมบูรณ์ของรูปเล่ม รวม 3 ความตรงต่อเวลา ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบุญเปยี่ ม) ............./................../............... เกณฑก์ ารประเมนิ รายงาน ประเด็นทีป่ ระเมิน ระดับคะแนน 4. ความถกู ตอ้ ง 432 1 ของเนือ้ หา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ รายงานไมถ่ ูกตอ้ งเป็น 5. ความสมบูรณ์ ส่วนใหญ่ ของรปู เลม่ รายงานถกู ตอ้ งครบถว้ น รายงานถูกต้องเปน็ สว่ น รายงานถูกตอ้ งบาง องคป์ ระกอบไม่ ครบถว้ น ไม่เปน็ 6. ความตรงต่อ ใหญ่ ประเด็น ระเบียบ และแผนผังไม่ เวลา สวยงาม มอี งค์ประกอบครบถว้ น มอี งคป์ ระกอบครบถว้ น มอี งคป์ ระกอบครบถ้วน ส่งชน้ิ งานชา้ กว่าเวลาท่ี กำหนด 3 วนั ข้ึนไป สมบูรณ์ มคี วามเป็น สมบูรณ์ มคี วามเป็น สมบรู ณ์ แตย่ งั ไมเ่ ป็น ระเบียบ และแผนผัง ระเบียบ แต่แผนผงั ไม่ ระเบยี บ และแผนผงั ไม่ สวยงาม สวยงาม สวยงาม ส่งชิน้ งานภายในเวลาท่ี สง่ ชิน้ งานช้ากวา่ เวลาท่ี ส่งช้นิ งานช้ากวา่ เวลาที่ กำหนด กำหนด 1 วัน กำหนด 2 วัน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 11-12 ดีมาก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ำกวา่ 6 ปรับปรงุ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บุญเป่ียม กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 50 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 3 21 1 เนอื้ หาละเอียดชัดเจน 2 ความถกู ต้องของเน้ือหา   3 ภาษาท่ีใช้เข้าใจงา่ ย   4 ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากการนำเสนอ   5 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน     รวม ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมนิ (นางสาวสุดาภรณ์ สบื บุญเป่ียม) ............./................../............... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บุญเป่ยี ม กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook