Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่2 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก (16 ชม.) (5 แผน)ราช22

หน่วยที่2 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก (16 ชม.) (5 แผน)ราช22

Published by Sudaporn Suboonpiam, 2022-04-21 03:44:19

Description: หน่วยที่2 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก (16 ชม.) (5 แผน)ราช22

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 51 ใบงาน เฉลย เร่ือง สมอง คำช้ีแจง : ระบุและอธิบายหน้าท่ีของสมองส่วนต่าง ๆ ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1 6 2 35 4 1 2 สมองส่วน....เ.ซ...ร..ีบ...ร..มั ................................................................ สมองส่วน....ไ..ฮ..โ..พ..ท...า..ล..า..ม...สั ....................................................... หนา้ ท่ี...ค..ว...บ..ค...ุม..ค...ว..า..ม..ค...ิด....ค..ว..า..ม..จ...ำ...ส...ต..ิป...ัญ...ญ...า...แ...ล..ะ....เ.ป..็น...ศ..นู...ย..์. หน้าท่ี...ค...ว..บ...ค..ุม...อ..ุณ....ห...ภ..ูม...ิ .ก..า...ร..เ.ต..้.น..ข...อ..ง..ห...ัว..ใ.จ....ค..ว..า..ม...ด..ัน...เ.ล...ือ..ด.... .ค...ว..บ..ค...ุม...ก..า..ร..ท...ำ..ง.า..น...ต..า่..ง..ๆ....เ.ช...่น....ก..า..ร..ส..ัม...ผ..ัส.....ก...า..ร..ม..อ..ง..เ..ห..น็ ....ก..า..ร... .ค...ว..า..ม...ต..้อ...ง..ก..า..ร..พ...ื้.น..ฐ...า..น....ส...ร..้า..ง..ฮ..อ...ร..์โ.ม...น...ป..ร...ะ..ส..า..ท...ม...า..ค..ว...บ..ค...ุม.... .ไ..ด..้ย..นิ.....ก..า..ร..ร..บั ...ร..ส...ก...า..ร..ด..ม...ก..ล..น่ิ................................................... .ก...า..ร..ห..ล...ัง่ ..ฮ..อ..ร..์.โ.ม..น...จ..า..ก...ต..อ่..ม...ใ.ต...้ส..ม...อ..ง.......................................... 3 4 สมองส่วน.......พ...อ..น...ส..์.............................................................. สมองสว่ น......เ.ม..ด...ัล..ล...า..อ..อ..บ...ล..อ...ง..ก..า..ต..า........................................ หน้าท่ี....ค...ว..บ...ค..ุ.ม..ก...า..ร..เ.ค...ี้ย..ว....ก..า..ร...ห..า..ย...ใ.จ....ก...า..ร..เ.ค...ล..ื่อ...น..ไ..ห...ว..ข..อ...ง.. หนา้ ที่...ค..ว...บ..ค...ุม..ก...า..ร..ท..ำ..ง..า..น...ข..อ..ง..ร..ะ...บ..บ...ป..ร...ะ..ส..า..ท...อ..ัต...โ.น...ว.ตั...ิ .เ..ช..่น.... ..ใ..บ...ห...น..้า....เ.ป...็น...ท..า..ง..ผ...่า..น..ข...อ..ง..ก...ร..ะ..แ..ส...ป..ร...ะ..ส..า..ท...ร..ะ..ห...ว..่า..ง..เ.ซ..ร..ี.บ..ร..มั... .ก...า..ร..ด..ต...้น..ข...อ..ง..ห..ัว..ใ..จ....ก..า..ร..ห...า..ย..ใ.จ....ค..ว..า..ม...ด..ัน...เ.ล..อื...ด...ก...า..ร..จ..า..ม....ก..า..ร... ..ก...ับ...เ.ซ..ร..ีเ..บ..ล...ล..มั ....แ..ล...ะ..เ.ซ..ร..เี..บ..ล...ล..มั ...ก..บั ...ไ.ข..ส...ัน..ห...ล..ัง........................... .ส...ะ..อ..กึ....ก...า..ร..อ..า..เ.จ..ีย...น....ก..า..ร..ก..ล...ืน................................................... 5 6 สมองส่วน.....เ.ซ..ร...เี .บ...ล..ล..ัม............................................................ สมองสว่ น.......ท...า..ล...า..ม..สั............................................................ หนา้ ท่ี....ค..ว..บ...ค..ุม...ก..า..ร..เ..ค..ล..่ือ...น..ไ..ห...ว..แ..ล..ะ..ก...า..ร..ท..ร..ง..ต...ัว..ข..อ..ง..ร..า่..ง..ก..า..ย..... หนา้ ท่ี.......เ..ป...็น...ศ..ู.น..ย...์ร..ว..บ...ร..ว...ม..ก...ร..ะ..แ...ส..ป...ร..ะ..ส...า..ท...เ.ข...้า..แ..ล...ะ..อ..อ...ก... ............................................................................................... ..แ..ล...ะ..แ..ย...ก..ก...ร..ะ..แ...ส..ป...ร..ะ..ส...า..ท..ส...่ง..ไ..ป..ย...ัง..ส..ม...อ..ง..ส...่ว..น...ท...ี่ส..ัม...พ...ัน...ธ..์ก..ั.บ... ............................................................................................... ..ก..ร..ะ..แ...ส..ป...ร..ะ..ส...า..ท..น...ัน้ ................................................................. โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชีววทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 52 การทดลองการส่งกระแสประสาทของเสน้ ประสาทไขสนั หลังของกบ ก. เ ้สนประสาทไข ัสนหลัง ่ีทไป ัยงขากบ ข. ตัดรากล่างของเส้นประสาทไขสันหลังระหว่าง ุจด 1 ักบ 2 ค. ัตดรากบนของเส้นประสาทไข ัสนห ัลงระหว่าง ุจด 3 ักบ 4  โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบุญเปีย่ ม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 53 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอื่ ง ระบบประสาทและอวยั วะรบั ความรู้สึก แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เรอื่ ง การทำงานของระบบประสาท รายวิชา ชวี วทิ ยา5 รหสั วิชา 30245 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 นำ้ หนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 2 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั การทำงานของระบบประสาทแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนรับความรู้สึกและส่วนสั่งการ ซึ่งส่วนสง่ั การแบง่ การทำงานออกเปน็ 2 ระบบ ไดแ้ ก่ - ระบบประสาทโซมาติก เป็นระบบประสาทภายใต้อำนาจจิตใจ ถูกสั่งการโดยสมองส่วนเซรีบรัม แบ่งออกเป็น 2 ระบบ ได้แก่ รีเฟล็กซแ์ อกชนั เป็นการทำงานของระบบประสาทผ่านไขสันหลงั เพยี งอย่างเดียว และรเี ฟล็กอาร์กเป็นการทำงานของระบบประสาทที่ผา่ นไขสันหลงั และสมอง - ระบบประสาทอัตโนวัติ เป็นระบบประสาทนอกอำนาจจิตใจ ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อวยั วะท่อี ยูน่ อกอำนาจจติ ใจ แบง่ ออกเปน็ 2 ระบบ ได้แก่ ระบบประสาทซมิ พาเทติกและระบบประสาทพารา ซิมพาเทติก ซึ่งระบบประสาท 2 ระบบนีจ้ ะทำงานในสภาวะท่ตี รงขา้ มกนั 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้วี ดั ชนั้ ป/ี ผลการเรยี นรู/้ เป้าหมายการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ 10. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ าย เปรียบเทยี บ และยกตวั อย่างการทำงานของระบบประสาทโซมาตกิ และ ระบบประสาทอัตโนวัติ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge 1) อธบิ าย เปรยี บเทียบ และยกตวั อยา่ งการทำงานของระบบประสาทโซมาตกิ และ ระบบประสาทอัตโนวตั ิ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) เขยี นแผนผังแสดงการทำงานของระบบประสาทโซมาติก 3.3 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude 1) สนใจใฝ่รู้ในการศึกษาและมงุ่ มนั่ ในการทำงาน โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบุญเปยี่ ม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 54 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการสังเกต 2) ทกั ษะการเปรียบเทยี บ 3) การลงความเห็นจากขอ้ มูล 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. คณุ ลักษณะของวิชา 1) ความอยากรอู้ ยากเห็น 2) ความมวี ิจารณญาณ 3) ความใจกว้าง 6. คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : 1) ใบงาน เรือ่ ง ระบบประสาทอัตโนวัติ 2) ใบงาน เรือ่ ง การทำงานของระบบประสาท 3) แผนผัง เร่ือง การทำงานของระบบประสาทโซมาติก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมงที่ 1-2 ข้ันนำ กำหนดขอบเขตของปัญหา 1. ใชก้ ิจกรรมนำเข้าสูก่ ารเรยี น โดยส่มุ ตัวแทนนกั เรยี น 1 คน ออกมาหน้าชั้นเรียน ใช้คอ้ นขนาดเล็ก เคาะท่เี อ็นใต้หวั เขา่ เบา ๆ ใหน้ ักเรยี นในชัน้ เรยี นสงั เกตการตอบสนองทีเ่ กดิ ข้ึน 2. ถามคำถามนักเรียน ดงั น้ี - เมื่อใช้ค้อนขนาดเล็กเคาะท่ีเอน็ ใต้หัวเข่าจะเกดิ เหตุการณ์ใดขึ้น (แนวตอบ: ขาของนักเรยี นจะกระตกุ ทันที) - นักเรียนคดิ ว่า การกระตกุ ขาของนกั เรียนเม่ือถกู เคาะท่เี อ็นใต้หวั เข่าถกู ส่ังการจากสมองหรอื ไม่ (แนวตอบ: ไม่ถูกสั่งการจากสมอง (นกั เรยี นอาจยงั ไมส่ ามารถตอบคำถามไดถ้ กู ต้อง)) 3. ให้นกั เรียนนึกถึงเหตุการณท์ ีเ่ กิดขึน้ ในชีวิตประจำวัน เช่น - การยกเทา้ หนเี มอ่ื เหยยี บเศษแก้วของมีคม โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบุญเปยี่ ม กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 55 - การยกมอื หนเี มื่อสมั ผัสของร้อน - การยกน้วิ หนอี อกจากหนามกุหลาบ 4. ถามคำถามนักเรยี นเพื่อใหน้ ักเรียนไดร้ ่วมกนั วเิ คราะห์ว่า “การตอบสนองท่เี กดิ ขึ้นจากเหตุการณ์ ในขอ้ ที่ 3. กบั การตอบสนองเมอื่ ถูกเคาะที่เอ็นใต้หัวเข่าเหมอื นหรอื แตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร” (แนวตอบ: แตกต่างกัน เนื่องจากการตอบสนองท่เี กิดขนึ้ จากเหตกุ ารณใ์ นข้อที่ 3 ถูกสั่งการจากท้ัง สมองและไขสนั หลัง แต่การตอบสนองเม่อื ถกู เคาะท่ีเอ็นใตห้ วั เข่าถูกสั่งการณ์จากไขสนั หลังเพยี งอยา่ งเดียว (นกั เรียนอาจยังไมส่ ามารถตอบคำถามไดถ้ กู ต้อง)) 5. อธิบายใหน้ ักเรยี นฟังว่า การตอบสนองทเี่ กิดขึ้นข้างต้นล้วนเกดิ จากการสง่ั การหนว่ ยปฏบิ ัตงิ านที่ สามารถควบคุมได้ เชน่ กล้ามเนอ้ื แขน กลา้ มเนือ้ ขา กล้ามเนอื้ บรเิ วณนิ้ว แล้วถามคำถามนกั เรียนเพื่อให้ นักเรยี นไดร้ ว่ มกันวเิ คราะหว์ ่า “การทำงานของอวัยวะภายในร่างกาย เช่น หวั ใจ ปอด กระเพาะอาหาร ถูกสงั่ การเชน่ เดียวกับกลา้ มเนื้อแขน กลา้ มเนอ้ื ขา หรอื กลา้ มเน้อื บริเวณนิ้วหรอื ไม่ เพราะเหตุใด” (แนวตอบ: ถูกส่งั การในลกั ษณะท่แี ตกตา่ งกนั เนอื่ งจากอวยั วะภายในเป็นหนว่ ยปฏิบตั ิงานที่ไม่ สามารถควบคุมได้ (นกั เรยี นอาจยงั ไม่สามารถตอบคำถามได้ถกู ต้อง)) ขัน้ สอน แสดงและอธิบายทฤษฏี 1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม 4-5 ศึกษาการทำงานของระบบประสาทโซมาติก รว่ มกนั เขยี นแผนผงั แสดงการ ทำงานของประสาทโซมาติก โดยใชส้ ถานการณท์ ่ีพบในชวี ติ ประจำวนั กลุ่มละ 2 สถานการณ์ แบง่ เป็นรเี ฟลก็ ซ์ แอกชัน 1 สถานการณ์ และรีเฟลก็ อารก์ 1 สถานการณ์ ลงในกระดาษ A4 2. สุ่มเลือกนกั เรียนอย่างน้อย 3 กลุ่ม นำเสนอแผนผงั แสดงการทำงานของรีเฟล็กซแ์ อกชัน สุ่มเลือก นักเรยี นอย่างน้อย 3 กลมุ่ นำเสนอแผนผงั แสดงการทำงานของรีเฟลก็ อาร์ก 3. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ สบื คน้ ขอ้ มูลและศกึ ษาการทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ พรอ้ ม เปรยี บเทยี บความแตกต่างของระบบประสาทซิมพาตกิ และระบบประสาทพาราซมิ พาเทตกิ ของอวัยวะตา่ ง ๆ ในร่างกาย 4. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันทำใบงาน เรื่อง ระบบประสาทอัตโนวตั ิ 5. สุ่มเลือกนกั เรยี นกลมุ่ ท่ีเหลอื (จาการสุม่ เลอื กในขอ้ ท่ี 2) ออกมาเฉลยใบงาน (แบ่งตามจำนวนขอ้ / จำนวนกลมุ่ นักเรยี นทเ่ี หลอื ในขอ้ ท่ี 2) 6. ถามคำถามเพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี น เช่น - หากมอื สมั ผัสกบั กานำ้ รอ้ น รา่ งกายมีการตอบสนองรปู แบบใดและอยา่ งไร (แนวตอบ: รีเฟลก็ ซ์แอกชัน โดยหน่วยรบั ความรสู้ กึ ท่มี ือจะสง่ กระแสประสาทไปยงั ไขสันหลัง ซงึ่ จะ สัง่ การไปยังกล้ามเนอื้ บรเิ วณแขนใหก้ ระตกุ มอื หนี) - อวัยวะหรอื โครงสรา้ งใดของรา่ งกายถกู ควบคุมโดยระบบประสาทโซมาตกิ และระบบ ประสาทอัตโนวัติ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 56 (แนวตอบ: กลา้ มเนื้อโครงร่างถูกควบคุมโดยระบบประสาทโซมาตกิ ส่วนกล้ามเนือ้ เรียบ กลา้ มเนอื้ หัวใจ อวยั วะภายในของรา่ งกาย และตอ่ มไร้ทอ่ ถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนวัต)ิ - ศูนยก์ ลางการส่งั การของระบบประสาทอตั โนวตั ิอยบู่ ริเวณใดของร่างกาย (แนวตอบ: ระบบประสาทซิมพาเทติกมีศูนย์ส่ังการอยบู่ รเิ วณไขสนั หลังบรเิ วณอกและบั้นเอว สว่ น ระบบประสาทพาราซมิ พาเทติกมีศูนย์สง่ั การอยบู่ รเิ วณสมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา และไขสันหลังบริเวณ กระเบนเหนบ็ ) -“ขณะทมี่ รกตกำลังขบั รถ ในทันใดน้ันมีสนุ ัขว่ิงตดั หน้ารถ มรกตจึงเหยยี บเบรกและหกั หลบทนั ที ทำให้ปลอดภยั ทั้งคนและสนุ ขั ” จาเหตกุ ารณข์ ้างตน้ เป็นการทำงานของระบบประสาทแบบรีเฟลก็ ซ์หรือไม่ อย่างไร (แนวตอบ: ไมใ่ ช้การทำงานของระบบประสาทแบบรีเฟล็กซ์ เนือ่ งจากมีการใชส้ มองควบคมุ เท้าใน การเหยียบเบรกและควบคมุ มือในการหมนุ พวงมาลัย ซง่ึ ทำงานของระบบประสาทแบบรเี ฟล็กซจ์ ะเกิดจากการ สง่ั การโดยไขสันหลังเทา่ นนั้ โดยไม่ผา่ นสมอง) - จากเหตกุ ารณ์ของมรกตข้างตน้ หลงั การเหยียบเบรกและหักหลบทนั ที มรกตมอี าการตกใจ หวั ใจเต้นแรงและเรว็ และมเี หง่อื ออกทมี ือจำนวนมาก อาการดงั กลา่ วเกดิ จากการทำงานของระบบประสาทใด (แนวตอบ: เปน็ การทำงานของระบบประสาทอตั โนวัตแิ บบซิมพาเทตกิ ) ข้นั สรุป ตรวจสอบและสรปุ 1. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปเกีย่ วกบั การทำงานของระบบประสาท เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ดังน้ี การ ทำงานของระบบประสาทรอบนอก แบง่ ออกเป็น 2 ระบบ ไดแ้ ก่ - ระบบประสาทโซมาติก ทำหน้าทส่ี ่ังการหนว่ ยปฏบิ ัติงานทีบ่ งั คบั ได้ แบ่งออกเปน็ รีเฟลก็ ซแ์ อกชนั เปน็ การสั่งการโดยผ่านไขสันหลังเพยี งอย่างเดยี ว และรเี ฟล็กอารก์ เปน็ การส่งั การโดยผ่านสมองและไขสนั หลงั - ระบบประสาทอัตโนวตั ิ ทำหนา้ ท่สี ัง่ การหน่วยปฏบิ ตั งิ านท่ีไม่สามารถบังคับได้ แบง่ ออกเป็นระบบ ประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซมิ พาเทติก 2. นักเรียนเขยี นแผนผงั สรุปการทำงานของระบบประสาทโซมาติก แบง่ ออกเปน็ รเี ฟล็กซ์แอกชันและ รีเฟลก็ อาร์ก ลงในกระดาษ A4 3. นกั เรยี นเปรยี บเทียบการทำงานของระบบประสาทซิมพาเทตกิ กับระบบประสาทพาราซมิ พาเทติก ลงในสมุดบันทกึ ของนักเรียน ฝึกปฏบิ ัติ 1. นักเรยี นทำใบงาน เร่ือง การทำงานของระบบประสาท โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บุญเป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 57 ข้นั ประเมนิ 1. ประเมนิ ความรู้เกยี่ วกับ เรือ่ ง การทำงานของระบบประสาท โดยสงั เกตพฤติกรรมการตอบคำถาม ตรวจ ใบงาน และตรวจแผนผัง 2. ประเมินทักษะและกระบวนการ โดยสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล การทำงานกลุม่ และ การนำเสนอผลงาน 3. ประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยสงั เกตพฤตกิ รรมความสนใจใฝ่รูใ้ นการศึกษาและความ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ จำนวน สภาพการใชส้ อ่ื รายการส่อื 1 ชุด ขั้นสอน 1 ชุด ขั้นสอน 1. ใบงาน เร่ือง ระบบประสาทอตั โนวตั ิ 1 ชุด ขน้ั สอน 2. ใบงาน เร่อื ง การทำงานของระบบประสาท 1 ชุด ขัน้ สอน 3. PowerPoint เร่ือง ระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรสู้ ึก 4. แผนผัง เรื่อง การทำงานของระบบประสาทโซมาติก โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบุญเปยี่ ม กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 58 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ ประเดน็ / การเรียนรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน วิธวี ัด เคร่ืองมอื วัดฯ เกณฑ์การให้ คะแนน 1. อธิบาย 1. ใบงาน เร่ือง ระบบ ตรวจใบงาน เรอื่ ง ใบงาน เรื่อง ระบบ รอ้ ยละ 60 ผ่าน เปรียบเทียบ และ ประสาทอตั โนวัติ ระบบประสาทอัต ประสาทอตั โนวัติ เกณฑ์ ยกตัวอย่างการ โนวตั ิ ทำงานของระบบ 2. ใบงาน เรือ่ ง การ ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เร่ือง การทำงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ น ประสาทโซมาติก ทำงานของระบบ การทำงานของ ของระบบประสาท เกณฑ์ และระบบ ประสาท ระบบประสาท ประสาทอัตโนวตั ิ (K) 3. แผนผงั เร่อื ง ตรวจแผนผัง เร่ือง แบบประเมินแผนผงั รอ้ ยละ 60 ผ่าน 2. เขยี นแผนผงั แสดง การทำงานของระบบ การทำงานของ เกณฑ์ การทำงานของระบบ ประสาทโซมาติก ระบบประสาท ประสาทโซมาตกิ (P) โซมาติก 3. สนใจใฝร่ ้ใู น 4. พฤติกรรมการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพดี การศึกษาและมุ่งมน่ั ทำงานรายบคุ คล ในการทำงาน (A) การทำงาน การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล 5. พฤตกิ รรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพดี ทำงานรายกล่มุ การทำงานรายกลมุ่ การทำงานรายกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ 6. คุณลักษณะ สงั เกตความมวี ินัย แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพดี อันพึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรแู้ ละม่งุ มั่น คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 59 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเหน็   2 การยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่ืน   3 การทำงานตามหน้าท่ีทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย   4 ความมนี ้ำใจ   5 การตรงตอ่ เวลา   รวม ลงช่อื ...................................................ผู้ประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบุญเป่ยี ม) ............./................../............... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เปยี่ ม กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 60 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ คำชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน การมี การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี สว่ นรว่ มใน รวม ชื่อ – สกลุ ความ ฟังคนอนื่ ตามที่ไดร้ บั น้ำใจ การ 15 ลำดับท่ี ของนกั เรียน คดิ เห็น มอบหมาย ปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลุ่ม 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผูป้ ระเมนิ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม) ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ............../.................../............... ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 61 แบบประเมินผงั มโนทัศน์/แผ่นพับ/ปา้ ยนิเทศ/แผนภาพ คำชีแ้ จง : ใหผ้ ้สู อนประเมินชนิ้ งาน/ภาระงานของนกั เรยี นตามรายการท่ีกำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่องที่ตรง กบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 ความสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา รวม ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............../................../................ เกณฑ์การประเมนิ ผังมโนทัศน์/แผน่ พับ/ปา้ ยนิเทศ/แผนภาพ ประเด็นทปี่ ระเมนิ ระดับคะแนน 5. ความ 432 1 สอดคล้องกับ ผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 6. ความถูกตอ้ ง จดุ ประสงคท์ ุกประเดน็ จดุ ประสงคเ์ ปน็ จดุ ประสงค์บางประเดน็ เนอื้ หาสาระของผลงาน ของเนื้อหา ไม่ถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ เน้ือหาสาระของผลงาน เนือ้ หาสาระของผลงาน เน้อื หาสาระของผลงาน ถูกตอ้ งครบถ้วน ถูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางประเด็น 7. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานมคี วามน่าสนใจ ผลงานไมม่ คี วาม สรา้ งสรรค์ แตย่ งั ไม่มแี นวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดง สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ ใหม่ ถึงแนวคิดแปลกใหม่ 8. ความตรงตอ่ เวลา และเปน็ ระบบ แต่ยังไม่เปน็ ระบบ สง่ ช้นิ งานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชน้ิ งานช้ากวา่ เวลาท่ี กำหนด 2 วนั กำหนด 3 วันขึ้นไป สง่ ช้นิ งานภายในเวลาที่ ส่งชิน้ งานชา้ กวา่ เวลาท่ี กำหนด กำหนด 1 วัน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14-16 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบุญเปย่ี ม กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 62 แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงค์ด้าน 32 1 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตรยิ ์ 1.2 เข้าร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถอื ปฏิบตั ติ ามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษัตริย์ตามท่โี รงเรียนจดั ข้ึน 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ข้อมลู ทถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ จริง 2.2 ปฏบิ ัตใิ นส่งิ ทถ่ี ูกตอ้ ง 3. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครัว มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟังคำสงั่ สอนของบดิ า - มารดา โดยไมโ่ ต้แย้ง 4.4 ต้ังใจเรยี น 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรียนอย่างประหยดั 5.2 ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และรคู้ ณุ ค่า 5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยัดและมกี ารเก็บออมเงิน 6. มุ่งม่ันในการทำงาน 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพื่อให้งานสำเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย 7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ ักการดูแลรกั ษาทรัพยส์ มบัตแิ ละสงิ่ แวดล้อมของหอ้ งเรยี นและ โรงเรียน ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../............... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน 51-60 ดีมาก พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั บิ างครง้ั ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ตำ่ กว่า 30 ปรบั ปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 63 แบบบนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ ชอื่ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่.ี ......... เรื่อง................................................................ แผนการจดั การเรยี นรู้ท.ี่ .......... เรอ่ื ง................................................... รายวชิ า.......................................... ชัน้ ....................... รหสั วชิ า....................... ครผู สู้ อน นางสาวสุดาภรณ์ สืบบุญเปี่ยม ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย เวลาท่ใี ช้................. ชั่วโมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผ้ทู ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.................................................. (..............................................) รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวิชาการ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาทพ่ี บ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรียนรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผ้เู รยี น ลงช่อื ..................................................ผ้สู อน นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม) ตำแหน่ง ครผู ้ชู ่วย โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บุญเป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาชีววทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 64 ใบงาน เรอื่ ง ระบบประสาทอตั โนวตั ิ คำช้ีแจง : เปรียบเทียบผลของระบบประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซิมพาเทติกต่อ อวัยวะต่าง ๆ เน้ือเยื่อหรอื อวยั วะ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก หวั ใจ ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ตอ่ มน้ำตา ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. กล้ามเนอื้ ยดึ ม่านตา ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ต่อมนำ้ ลาย ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. กระเพาะอาหาร และลำไสเ้ ล็ก ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ตบั อ่อน ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ปอด ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. มดลูก ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. อวัยวะสืบพนั ธเ์ุ พศ ชาย ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. กระเพาะปัสสาวะ ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปยี่ ม กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชีววทิ ยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 65 ใบงาน เฉลย เร่ือง ระบบประสาทอตั โนวัติ คำช้ีแจง : เปรียบเทียบผลของระบบประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซิมพาเทติกต่อ อวัยวะต่าง ๆ เน้อื เยื่อหรืออวัยวะ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก หัวใจ ..เ.ต...้น...แ...ร..ง..แ...ล..ะ...เ..ร..็ว....อ...ัต...ร..า..ก...า..ร..ส...ูบ...ฉ...ีด... .เ..ต..น้...ช..า้..แ..ล...ะ..เ.บ...า...อ...ัต..ร..า..ก..า..ร..ส...บู ..ฉ...ีด..เ..ล..ือ...ด... ..เ.ล..ือ...ด..เ.พ...่มิ..ข...น้ึ .......................................... ..ล..ด..ล...ง.................................................... ตอ่ มนำ้ ตา ..ก..ร..ะ..ต...ุ้น..ใ..ห..ห้...ล..ง่ั..น...ำ้ ..ต..า..ม...า.ก...ก..ว..่า..ป...ก..ต...ิ ....... .ค..ว..บ...ค..ุม...ใ.ห...ห้...ล..ัง่ ..น..ำ้..ต...า..ป..ก...ต..ิ..................... ............................................................. ............................................................. กลา้ มเนอ้ื ยึดมา่ นตา ..ห..ด...ต..วั..เ.ม...่ือ..ม...อ..ง..ภ...า..พ..ใ..น..ร..ะ...ย..ะ..ใ..ก..ล..้........... ..ค...ล..า..ย..ต...วั ..เ.ม..ือ่...ม..อ...ง.ภ...า..พ...ใ.น...ร..ะ..ย..ะ...ไ.ก..ล......... ............................................................. ............................................................. ต่อมน้ำลาย ..ล..ด...ก..า..ร..ห...ล..่ัง..น..ำ้..ล...า..ย...ท...ำ..ใ.ห...้น...ำ้ ..ล..า..ย..ข..น้....... ..เ..พ...ิ่ม...ก..า..ร..ห...ล...ั่ง..น...้ำ..ล...า..ย..ใ..ห...้อ..ย...ู่ใ..น...ร..ะ...ด..ับ... ............................................................. ..ป...ก..ต...ิ ................................................... กระเพาะอาหาร ..ย..ับ...ย..ง้ั..ก..า..ร..เ.ค...ล..ือ่..น...ไ..ห..ว..แ...บ..บ...เ.พ...ร..ิส...ต..ัล...ซ..ิส... .ก...ร..ะ..ต...ุ้น..ก...า..ร..เ.ค...ล..ื่อ...น..ไ..ห...ว..แ..บ...บ...เ.พ...ร..ิส...ต..ัล.... และลำไส้เล็ก ..แ..ล..ะ...ก..า..ร..ส..ร..า้..ง..เ.อ...น..ไ..ซ..ม...์ ......................... .ซ...ิส..แ..ล...ะ..ก..า..ร..ส..ร..้า..ง..เ.อ...น..ไ..ซ..ม...์ ..................... ตับอ่อน ..ย..ับ...ย..ง้ั..ก..า..ร..ห...ล..่ัง..น...ำ้ .ย...อ่ ..ย..แ...ล..ะ..เ..อ..น...ไ.ซ...ม..์...... .ก..ร..ะ...ต..้นุ...ก..า..ร..ห..ล...ั่ง..น..ำ้..ย..อ่...ย..แ..ล...ะ..เ.อ...น..ไ..ซ..ม...์ .... ............................................................. ............................................................. ปอด ...ก..ร...ะ..ต...ุ้น...ก...า..ร..ข...ย..า..ย...ต..ั.ว..ข...อ..ง..ห...ล...อ..ด...ล...ม.. .ก..ร..ะ...ต..ุน้...ก..า..ร..บ..ีบ...ต..วั...ข..อ..ง..ห...ล..อ..ด...ล..ม...ฝ..อ..ย....... ...ฝ..อ..ย...................................................... ............................................................. มดลกู ..บ..บี...ต..ัว..ล...ด..ล..ง........................................... .บ...ีบ..ต...วั ..เ.พ...่มิ ..ข..ึน้.......................................... ............................................................. ............................................................. อวยั วะสบื พันธเ์ุ พศ ..ก..ร..ะ...ต..ุ้น...ก..า..ร..ห...ล..่งั..น..้ำ..อ...ส..ุจ..ิใ..น..เ..พ..ศ...ช..า..ย........ ..ก...ร..ะ..ต..นุ้...อ..ง..ค...ช..า..ต..ใิ..ห..แ้...ข..ง็..ต..วั..ใ..น..เ..พ..ศ...ช..า..ย.... ชาย ............................................................. ............................................................. กระเพาะปสั สาวะ ...ก..ร..ะ...ต..ุ้น...ใ.ห...้ก...ร..ะ..เ.พ...า..ะ..ป...ัส..ส...า..ว..ะ..ค..ล...า..ย..ต..ัว.. .ก...ร..ะ..ต...ุ้น...ใ..ห..้.ก..ร..ะ...เ.พ...า..ะ..ป...ัส...ส..า..ว...ะ..บ...ีบ...ต..ั.ว... ...แ..ล..ะ...ย..บั...ย..งั้ ..ไ.ม...ใ่ .ห...้ป..ัส...ส..า..ว..ะ....................... .แ...ล..ะ..ข...ับ..ป...ัส..ส..า..ว..ะ..................................... โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 66 ใบงาน เร่ือง การทำงานของระบบประสาท คำชี้แจง : เปรยี บเทียบโครงสรา้ งและการทำงานของระบบประสาทโซมาตกิ และระบบประสาทอตั โนวัติ ข้อเปรยี บเทียบ ระบบประสาทโซมาตกิ ระบบประสาทอตั โนวตั ิ การควบคมุ ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... หนว่ ยปฏบิ ัติงาน ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... จำนวนเซลลป์ ระสาทสั่งการ ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... จำนวนปมประสาทของเซลล์ ....................................................... ....................................................... ส่ังการท่ีอยนู่ อกระบบประสาท ....................................................... ....................................................... ส่วนกลาง ……………………………………………….. ……………………………………………….. เสน้ ใยประสาท ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... ร่างแหประสาท ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... สารสอ่ื ประสาท ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... ………………………………………………. ………………………………………………. ....................................................... ....................................................... หนา้ ท่ี ....................................................... ....................................................... ………………………………………………. ………………………………………………. ลักษณะการทำงาน ....................................................... ....................................................... ....................................................... ....................................................... โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 67 ใบงาน เฉลย เร่ือง การทำงานของระบบประสาท คำช้ีแจง : เปรียบเทียบโครงสรา้ งและการทำงานของระบบประสาทโซมาตกิ และระบบประสาทอัตโนวตั ิ ขอ้ เปรยี บเทียบ ระบบประสาทโซมาติก ระบบประสาทอตั โนวตั ิ การควบคมุ ..ภ...า..ย..ใ..ต..อ้...ำ.น...า..จ..จ..ิต...ใ.จ......................... ..ภ...า..ย..น...อ..ก...อ..ำ..น...า..จ..จ..ิต..ใ..จ..................... ....................................................... ....................................................... หนว่ ยปฏบิ ตั ิงาน ..ก..ล...้า..ม..เ.น...ื้อ..โ..ค..ร..ง..ร..า่..ง.......................... ..ก...ล..้า..ม...เ.น...ื้อ...ห..ัว..ใ..จ...ก...ล..้า..ม...เ.น...ื้อ...เ.ร..ีย..บ..... ....................................................... ..แ...ล..ะ..ต...่อ..ม...ต..า่..ง...ๆ............................... จำนวนเซลล์ประสาทส่งั การ ..1....เ.ซ..ล..ล...์ ......................................... ..2....เ.ซ...ล..ล..์......................................... ....................................................... ....................................................... จำนวนปมประสาทของเซลล์ ..ไ..ม..่ม..ี............................................... ..ม...ี.1....ป...ม.......................................... สัง่ การทอี่ ยูน่ อกระบบประสาท ....................................................... ....................................................... สว่ นกลาง ……………………………………………….. ……………………………………………….. เยื่อไมอีลนิ ท่ีหุม้ เสน้ ใยประสาท ..ม...ีเ.ย..ื่อ..ไ..ม..อ...ีล..นิ...ห..มุ้............................... ..ม..ี.เ.ย...ื่.อ..ไ..ม...อ..ี.ล..ิ.น..ห...ุ้ม...เ..ฉ..พ...า..ะ...เ.ซ...ล...ล..์ ... ....................................................... ..ป..ร..ะ...ส..า..ท..ก...่อ..น...ไ.ซ...แ..น...ป..ส...์ .................. รา่ งแหประสาท ..ไ..ม..่ม..ีร..่า..ง..แ...ห..ป...ร..ะ..ส..า..ท......................... .ม...ีร...่า..ง..แ...ห..ป...ร..ะ...ส..า...ท..เ..ฉ..พ...า..ะ...บ...ร..ิเ..ว..ณ... ....................................................... .ท...า..ง..เ.ด..นิ...อ..า..ห...า..ร................................ สารสอื่ ประสาท ..แ..อ...ซ..ิต...ลิ ..โ.ค...ล..ีน................................... ..น..อ...ร..์อ..ะ...ด..ร..ีน...า..ล..ี.น....(.ร..ะ..บ...บ...ป..ร..ะ...ส..า..ท... ....................................................... ..ซ..ิ.ม..พ...า..เ..ท...ต..ิ.ก..)...แ..ล...ะ..แ...อ...ซ..ิต...ิล...โ.ค...ล..ีน... ………………………………………………. …(ร…ะ…บ…บ…ปร…ะ…ส…าท…พ…า…รา…ซ…มิ …พ…าเ…ท…ติก…). ..ป...ร..ับ...ส..ม..ด...ุล..ข...อ..ง..ร..่า..ง..ก...า..ย..ซ...ึ่ง..เ.ป...็น..ผ...ล.. ..ป...ร..ับ...ส..ม...ด..ุล..ข...อ..ง..ร..่า..ง..ก...า..ย..ซ...ึ่ง..เ.ป...็น..ผ...ล.. หน้าที่ ..จ...า...ก...ก...า..ร...เ..ป...ล...ี.่.ย...น...แ...ป...ล...ง...ข...อ...ง.. ..จ...า...ก...ก...า..ร...เ..ป...ล...ี.่.ย...น...แ...ป....ล...ง..ข...อ...ง.. …ส…่งิ แ…ว…ด…ล…อ้ ม…ภ…า…ย…นอ…ก…ร…า่ ง…ก…าย………. …ส…่ิงแ…ว…ด…ล…้อม…ภ…า…ย…ใน…ร…า่ ง…ก…าย…………. ลกั ษณะการทำงาน ..ก...ร..ะ..ต..ุ้น............................................ ..ก...ร..ะ..ต..ุ้น...แ..ล...ะ..ย..ับ...ย..ั้ง........................... ....................................................... ....................................................... โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 68 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรูส้ กึ แผนจัดการเรียนรทู้ ่ี 5 เรอ่ื ง อวยั วะรบั ความร้สู ึก รายวชิ า ชีววทิ ยา5 รหัสวิชา 30245 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 น้ำหนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ เวลาท่ใี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั มนุษย์มีอวัยวะรับสัมผัสประกอบด้วยตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ซึ่งอวัยวะรับสัมผัสแต่ละอวัยวะมี การทำงานแตกตา่ งกนั ดงั น้ี - ตา เมือ่ แสงตกกระทบกบั วตั ถุและสะท้อนเข้าสนู่ ัยน์ตา แสงผ่านรูมา่ นตาโดยมีเลนส์ตาทำหน้าที่รวม แสงไปตกบริเวณเรตนิ าทีป่ ระกอบดว้ ยเซลลร์ ปู แทง่ และเซลล์รูปกรวย แล้วแปลเป็นกระแสประสาทส่งไปทาง เสน้ ประสาทสมองคู่ที่ 2 เข้าสสู่ มองส่วนออพตกิ โลบ - หู เมือ่ คลน่ื เสยี งผ่านเข้าหู จากหูส่วนนอก หูสว่ นกลาง และหสู ว่ นใน คลน่ื เสียงจะทำให้ของเหลวใน คอเคลียส่ันสะเทือน แลว้ แปลเปน็ กระแสประสาทส่งไปยงั เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 8 เพอ่ื เขา้ ส่สู มองส่วนเซรีบรัม และยังทำหน้าทร่ี บั รูก้ ารทรงตัวของร่างกายโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของของเหลวในเซมิเซอรค์ ิวลาร์แคแนล แล้วแปลเปน็ กระแสประสาทสง่ ไปยังเส้นประสาทสมองคูท่ ่ี 8 เพือ่ เข้าสู่สมองสว่ นเซรีเบลลมั - จมูก เมื่อโมเลกุลสารเคมีผ่านเข้าจมูก ออลแฟกทอรีเซลล์ทำหน้าที่รับกลิ่นและแปลเป็นกระแส ประสาทสง่ ไปยังเส้นประสาทสมองคู่ท่ี 1 นำเข้าส่สู มองส่วนเซรีบรมั - ลน้ิ มีตุ่มรบั รสทำหนา้ ทร่ี ับรสและแปลเปน็ กระแสประสาทส่งไปตามเสน้ ประสาทสมองคู่ที่ 7 และ 9 เข้าสู่สมองสว่ นเซรีบรัม - ผวิ หนัง มเี ซลล์ประสาทรับความรู้สึกจำนวนมาก ทั้งการสัมผัส แรงกด ความรอ้ น ความเยน็ ซ่ึงจะส่ง กระแสประสาทไปยังสมอง 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้ีวัดชั้นป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ 7. สบื ค้นข้อมูล อธบิ ายโครงสร้างและหน้าท่ีของ ตา หู จมกู ลิน้ และผวิ หนังของมนุษย์ ยกตวั อย่าง โรคตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง และบอกแนวทางในการดูแลปอ้ งกนั และรักษา 8. สงั เกต และอธิบายการหาตำแหน่งของจุดบอด โฟเวีย และความไวในการรับสมั ผัสของผิวหนัง โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บุญเป่ยี ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 69 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge 1) อธบิ ายโครงสร้างและหน้าที่ของอวยั วะรบั ความรสู้ กึ ต่าง ๆ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) หาตำแหนง่ ของจดุ บอดและโฟเวีย และทดสอบความไวในการรับสัมผัสของผวิ หนงั 2) สืบคน้ ข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่เก่ียวขอ้ งกับอวยั วะรบั ความรสู้ กึ 3) สร้างแบบจำลองแสดงโครงสร้างของอวยั วะรบั ความรสู้ ึก 3.3 คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude 1) นำความรูม้ าใช้ในการดแู ลรักษาและป้องกันอันตรายของอวยั วะรบั ความร้สู ึก (A) 2) สนใจใฝ่ร้ใู นการศกึ ษาและมุง่ มัน่ ในการทำงาน (A) 4. สมรรถนะสำคัญของนกั เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการสงั เกต 2) ทักษะการสำรวจคน้ หา 3) ทกั ษะการจำแนกประเภท 4) ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล 5) ทักษะการจัดกระทำและสอื่ ความหมายข้อมูล 6) ทกั ษะการสรา้ งแบบจำลอง 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1) ความอยากรอู้ ยากเหน็ 2) ความมวี ิจารณญาณ 3) ความใจกวา้ ง 6. คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : 1) แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรสู้ ึก 2) ใบงาน เรื่อง อวยั วะรบั ความรสู้ ึก 3) ผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง อวัยวะรับความรสู้ ึก โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปยี่ ม กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชีววทิ ยา5 มัธยมศึกษาปที ี่ 6/1 70 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ 1-2 ขั้นนำ การใช้ความรูเ้ ดิมเชอ่ื มโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge) 1. จัดกจิ กรรมโดยสุ่มเลือกนักเรียน 5 คน ออกมาเปน็ ตัวแทนนักเรียน ใหน้ กั เรยี นแต่ละคนปิดตา ดมกลน่ิ และชิมรสลกู อมรสชาติต่าง ๆ แล้วถามคำถามนักเรยี นทั้ง 5 คน ว่า นกั เรียนทราบหรอื ไม่ว่า ลกู อมที่ นักเรยี นชมิ เป็นรสอะไร (แนวตอบ: คำตอบข้ึนอยกู่ บั รสของลกู อมที่ใช้ทำกจิ กรรม) 2. ถามคำถามเช่ือมโยงกบั กิจกรรม ดงั นี้ - จากกจิ กรรมข้างตน้ นกั เรยี นใชอ้ วัยวะรบั รู้สึกใดบ้างในการทำกจิ กรรม (แนวตอบ: ใช้จมูกในการดมกลิ่นและใช้ลน้ิ ในการรับรส) - นอกจากจมกู และลิ้น ร่างกายยงั มอี วัยวะรับความรู้สึกอ่ืน ๆ อีกหรือไม่ (แนวตอบ : ตา หู และผิวหนงั ) 3. ทบทวนความรู้ เร่อื ง อวัยวะรับความรู้สึกของรา่ งกาย ว่า อวัยวะรบั ความรสู้ ึกเป็นระบบท่ีร่างกาย สรา้ งขน้ึ มาเพ่อื ทำหนา้ ท่ีในการตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าที่มากระตุ้นรา่ งกายในรปู แบบต่าง ๆ ประกอบด้วยอวัยวะ ต่าง ๆ ดังนี้ - ตา เปน็ อวัยวะรบั ความรู้สกึ จากส่ิงเรา้ ประเภทแสง - หู เป็นอวัยวะรับความรสู้ ึกจากสิ่งเรา้ ประเภทเสียง - จมูก เป็นอวัยวะรับความรูส้ ึกจากส่ิงเรา้ ประเภทสารเคมี - ล้ิน เป็นอวัยวะรับความรู้สกึ จากส่งิ เรา้ ประเภทสารเคมี - ผวิ หนงั เป็นอวยั วะรับความร้สู ึกจากสิ่งเรา้ ประเภทการสมั ผัสต่าง ๆ เชน่ อุณหภูมิ ความเจบ็ ปวด แรงกดแรงดึง 4. ถามคำถาม กบั นกั เรยี นวา่ “อวยั วะรบั ความรู้สกึ มโี ครงสรา้ งท่ีเหมาะสมตอ่ การทำหนา้ ทอี่ ยา่ งไร” (แนวตอบ: อวัยวะรับความรู้สึกมีลักษณะพื้นฐานประกอบด้วยเซลล์รับความรู้สึก ซึ่งเป็นโครงสร้าง พิเศษเพื่อรบั ความรู้สึกต่าง ๆ เช่น ตามีเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยที่ไวตอ่ การรับแสง หูมีเซลล์ขนภายใน คลอเคลียและเซมิเซอร์คิวลาร์แคเนลซึ่งไวต่อการเปลี่ยนแปลงของของเหลวที่เกิดจากคลื่นเสียงหรือการ เปลย่ี นแปลงการทรงตัว จมูกมอี อลแฟกทอรีเซลลท์ ไี่ วตอ่ การรับกล่นิ (โมเลกุลสารเคมี) ลน้ิ มีเซลลร์ บั รสท่ีไวต่อ การรับรส(โมเลกุลสารเคมี) และผิวหนังมีหน่วยรับความรู้สึกซึ่งไวต่อการรับสัมผัสต่าง ๆ เซลล์เหล่านี้จะ สามารถแปลสัญญาณจากสิ่งเร้าที่ได้รับเป็นกระแสประสาทและส่งไปแปลผลที่สมองเพื่อเกิดพฤติกรรม ตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าท่ไี ดร้ บั (นักเรยี นอาจยงั ไม่สามารถตอบคำถามได้)) โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 71 ขนั้ สอน รู้ (Knowing) 1. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ กล่มุ ละ 4-5 คน ร่วมกนั สบื ค้นขอ้ มูลและศึกษา เร่ือง โครงสรา้ งของตา และการ มองเหน็ ภาพ จากแบบจำลองโครงสร้างของนยั นต์ า 2. นักเรียนแต่ละกล่มุ ทำกิจกรรม การหาตำแหนง่ ของจุดบอดและโฟเวีย เพ่อื หาตำแหนง่ ของจุดบอด และ โฟเวียในการมองเห็นได้ 3. สุ่มเลือกนักเรียนอย่างน้อย 3 กลุ่ม นำเสนอผลและอภิปรายผลกิจกรรม การหาตำแหน่งของจุด บอดและโฟเวีย แล้วถามคำถามทา้ ยกจิ กรรมกบั นกั เรยี น ดังนี้ - เพราะเหตใุ ดเม่ือเลอ่ื นกระดาษเขา้ มาใกล้นยั น์ตา ตาขวาจึงมองไม่เห็นเคร่อื งหมายจุด และตาซ้ายจึง มองเห็นเครื่องหมายบวก (แนวตอบ: ภาพเคร่อื งหมายจดุ ตกลงท่จี ดุ บอดของนยั น์ตาขวาพอด)ี - จากกิจกรรม สามารถระบุได้หรือไม่วา่ จุดบอดอยเู่ ยอื้ งไปดา้ นใดของตา (แนวตอบ: จุดบอดของตาแต่ละขา้ งเยือ้ งไปทางด้านใกล้จมูก ดังนั้น ตาขวาจึงมีจุดบอดอยู่ด้านซ้าย ของตา ตาซา้ ยจึงมีจดุ บอดอยดู่ ้านขวาของตา) - ตาสามารถมองเห็นสขี องอุปกรณ์ไดช้ ัดเจน เมื่ออปุ กรณน์ ัน้ อย่ใู นทศิ ใด (แนวตอบ: เมือ่ อุปกรณเ์ คลื่อนทีใ่ กล้แนวการมองเห็นของตาจึงสามารถบอกสไี ด้ชดั เจน) 4. ถามคำถามเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น เชน่ - หากแสงตกกระทบบริเวณเรตนิ าที่มีเซลล์รปู กรวยจำนวนมากจะเห็นภาพไดช้ ัดเจนหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ: เห็นภาพชัดเจน เนื่องจากเซลลร์ ปู กรวยสามารถแยกความแตกต่างของแสงได้ แต่ตอ้ งการ แสงสว่างทเ่ี พียงพอ) - หากมองวตั ถุที่อยไู่ กล เอ็นยดึ เลนส์และกลา้ มเน้ือยึดเลนสจ์ ะมีลักษณะอยา่ งไร (แนวตอบ: กลา้ มเนอ้ื ยดึ เลนสจ์ ะคลายตวั เอ็นยึดเลนสจ์ ะตึง เลนส์ตาจะโคง้ จุดโฟกัสอยู่ไกลเลนส)์ - ส่วนประกอบใดของกล้องจลุ ทรรศน์ทำหน้าที่เดยี วกับม่านตา และทำหน้าท่ใี ด (แนวตอบ: ไดอะแฟรม ซ่งึ ทำหนา้ ทปี่ รบั ปรมิ าณแสงทเ่ี ข้าส่เู ลนสใ์ หเ้ หมาะสม) - เพราะเหตใุ ดเมือ่ เข้าไปในห้องท่ีมแี สงสลวั ในชว่ งแรกจะมองเห็นได้ไมช่ ัดเจน แต่เมอื่ เวลาผ่านไปจะ มองเห็นได้ชดั เจนขึ้น ท้ังทไ่ี มไ่ ดเ้ พิ่มความสวา่ ง (แนวตอบ: นัยน์ตาของมนุษยต์ ้องการระยะเวลาในการปรับให้ชินต่อการมองเหน็ ภาพ ซึ่งเมื่อเปล่ียน จากบริเวณที่มีแสงสว่างมากไปยังบริเวณที่มีแสงสว่างน้อยจะทำให้ม่านตาปรับไม่ทัน แต่เมื่อเวลาผ่านไป ระบบประสาทอัตโนวัติจะกระตุ้นให้กล้ามเน้ือม่านตาคอ่ ย ๆ หดตัว รูม่านตาจึงเปดิ กว้างมากขึ้น แสงที่ตก บนเรตินามมี ากขึ้น ทำใหม้ องเหน็ ภาพได้ชดั เจนขน้ึ ) - ภาพทต่ี กบนเรตินาเปน็ ภาพชนดิ ใด (แนวตอบ: ภาพจริงหวั กลับ) โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเป่ยี ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/1 72 - หากร่างกายขาดวิตามิน A จะส่งผลตอ่ การมองเห็นอย่างไร (แนวตอบ: ส่งผลต่อการมองเห็นในบรเิ วณที่มีแสงน้อย เมื่อร่างกายขาดวิตามนิ A จะทำให้เซลล์รูป แท่งขาดเรตินอลจึงส่งผลให้ขาดโรดอพซิน ซึ่งกระบวนการมองเห็นเกิดจากแสงกระตุ้นให้โรดอฟซิน เปลี่ยนเป็นเรตินอลกับออปซิน แล้วเกิดกระแสประสาทไปยงั สมองเพือ่ แปลเป็นภาพ เมื่อโรดอฟซนิ น้อยการ เปลีย่ นแปลงดังกลา่ วจงึ เกดิ น้อย ทำใหม้ องไมเ่ ห็นภาพในบริเวณทม่ี ีแสงนอ้ ย) ชั่วโมงท่ี 3-4 รู้ (Knowing) 1. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั สืบคน้ ข้อมูลและศึกษา เรือ่ ง โครงสร้างของหู และการไดย้ ิน จาก แบบจำลองโครงสร้างของหู 2. ถามคำถามนกั เรยี นเพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน ดงั นี้ - ลกั ษณะของใบหูและช่องหูมีส่วนช่วยในการไดย้ นิ อยา่ งไร (แนวตอบ: ใบหูท่มี ลี กั ษณะแผก่ วา้ งช่วยดกั คลน่ื เสียงใหเ้ ขา้ หูงา่ ยขึ้น และชอ่ งหูที่เป็นทอ่ ยาวชว่ ยให้ เสยี ง เคลอื่ นที่ไปยังหูส่วนกลางไดเ้ ร็วขึ้น) - ท่อยูสเตเชยี นทำหน้าท่อี ย่างไร (แนวตอบ: ปรับความดันระหวา่ งหูสว่ นกลางและหูส่วนใน) - เพราะเหตใุ ดจงึ รสู้ กึ ปวดแก้วหูเมอื่ ขึ้นดอยทอี่ ยู่สูงจากระดบั น้ำทะเลมาก ๆ และรา่ งกายมีกลไกแก้ไข อยา่ งไร (แนวตอบ: เม่อื ขน้ึ ดอยทอี่ ยสู่ งู จากระดับนำ้ ทะเลมากจะมกี ารเปลยี่ นแปลงความดันของอากาศในหู ส่วนนอกทำให้เยอ่ื แก้วหูตงึ จึงรสู้ ึกปวดแก้วหู ร่างกายมกี ลไกปรับสมดุลโดยปรับความดันภายในหูส่วนกลางให้ เท่ากบั หูส่วนนอก) - การสั่นของของเหลวในคอเคลียและในเซมเิ ซอรค์ ิวลารแ์ คแนลมผี ลต่อร่างกายแตกต่างกนั อย่างไร (แนวตอบ: การสั่นของของเหลวเป็นการเปล่ยี นสญั ญาณเสยี งเป็นกระแสประสาทส่งไปยงั สมอง แต่ การส่ันของของเหลวในเซมิเซอร์คิวลาร์แคแนลเกดิ จากการเปล่ียนแปลงทิศทางของศรษี ะหรือการส่งตัว และ กระตนุ้ การส่งกระแสประสาทไปยังสมอง) - เพราะเหตุใดเมอ่ื เล่นปัน่ จง้ิ หรดี หลาย ๆ รอบ แล้วหยุดยนื ตรง จงึ ไมส่ ามารถทรงตวั ได้ตามปกติ (แนวตอบ: ของเหลวในเซมิเซอร์ควิ ลารแ์ คแนลยังเคล่ือนที่อย่ทู ำให้เซลลร์ บั ความรสู้ กึ ยังทำงานอยู่ เช่นกัน ซ่งึ ส่งสญั ญาณไปควบคุมกลา้ มเนื้อที่เก่ียวกบั การทรงตัวท้ังสองข้างของร่างกายไมเ่ ทา่ กนั จึงไมส่ ามารถ ทรงตัวได้ตามปกต)ิ 3. นักเรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกันสบื ค้นข้อมลู และศึกษา เรื่อง โครงสร้างของจมกู และการดมกลิ่น จาก แบบจำลองโครงสรา้ งของจมกู 4. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันสืบคน้ ขอ้ มลู และศกึ ษา เรอ่ื ง โครงสร้างของลิ้น และการรบั รส จาก แบบจำลองโครงสรา้ งของลนิ้ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเป่ยี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 73 5. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ กลมุ่ รว่ มกนั สบื คน้ ขอ้ มลู และศึกษา เรอื่ ง โครงสร้างของผวิ หนัง และการรับ ความรูส้ ึกต่าง ๆ จากแบบจำลองโครงสรา้ งของผิวหนงั 6. นักเรยี นแต่ละกล่มุ ทำกจิ กรรม ความไวของผิวหนังแต่ละบรเิ วณ เพื่อตรวจสอบความไวของการรับ ความรู้สึกของผวิ หนังแตล่ ะบริเวณ 7. สมุ่ เลอื กนกั เรียนอย่างน้อย 3 กลมุ่ นำเสนอผลและอภปิ รายผลกิจกรรม ความไวของผิวหนงั แต่ละ บริเวณ แล้วถามคำถามทา้ ยกจิ กรรม ดงั นี้ - นักเรียนสรุปผลกจิ กรรมน้ีไดอ้ ยา่ งไร (แนวตอบ: ผิวหนงั แตล่ ะบรเิ วณของร่างกายรบั ความรู้สกึ ได้แตกตา่ งกนั เนอื่ งจากมจี ำนวนปลาย ประสาทแตกต่างกนั บรเิ วณทีม่ ีปลายประสาทอยู่มากจะรับความรูส้ กึ ได้มาก สว่ นบริเวณท่ีมีปลายประสาทอยู่ นอ้ ยจะรับความรู้สกึ ได้นอ้ ย) - แตล่ ะบรเิ วณของรา่ งกายรับสมั ผสั ไดเ้ หมือนหรอื แตกต่างกัน อย่างไร (แนวตอบ: ขึน้ อยู่กับผลการทำกิจกรรมของนกั เรียนบริเวณปลายนว้ิ จะมจี ำนวนปลายประสาทมากจงึ สามารถแยกได้ แตบ่ ริเวณต้นคอมีจำนวนปลายประสาทนอ้ ยอาจไมส่ ามารถแยกได้) 8. ถามคำถามเพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น เชน่ - การรับรคู้ วามอรอ่ ยของอาหารประกอบดว้ ยใชอ้ วยั วะรบั ความรสู้ กึ ใดบ้าง และอวยั วะรบั ความรูส้ ึก ต่าง ๆ ทำงานร่วมกันอย่างไร (แนวตอบ: ใชล้ ิ้น จมกู และตา เพอ่ื รับรูค้ วามอรอ่ ยของอาหาร โดยลิน้ ทำหนา้ ท่รี บั รสอาหาร จมูกทำ หน้าที่รับกลิ่นอาหาร และตาทำหน้าที่รับภาพอาหาร ซึ่งหากขาดอวัยวะรับความรู้สึกหนึ่งไปอาจทำให้ รับประทานอาหารไม่อร่อยได้ เช่น ในช่วงที่เป็นหวัดและมีน้ำมูก เยื่อจมูกจะถูกปกคลุมด้วยเมือกจึงทำให้ ความสามารถในการรับกล่นิ ลดลง) - เพราะเหตุใดเมือ่ ลบู เสน้ ขนเบา ๆ จึงรับรคู้ วามรู้สึกได้เช่นกัน (แนวตอบ: บริเวณโคนเสน้ ขนมีปลายประสาทพันอยู่ จงึ สามารถรับความรู้สกึ ได้) 9. นักเรียนทำใบงาน เร่อื ง อวยั วะรับความรสู้ กึ 10. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ 5 กล่มุ ทำกิจกรรม โรคท่ีเกี่ยวข้องกับอวยั วะรบั ความรสู้ กึ เพอื่ สืบคน้ ข้อมลู เกยี่ วกับโรค ต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับอวยั วะรบั สมั ผัสตา่ ง ๆ และบอกแนวทางในการดูแลและรกั ษาโรค โดย แบ่งกลุม่ ดังน้ี - กลุ่มที่ 1 โรคท่ีเก่ียวขอ้ งกับตา - กลุม่ ท่ี 2 โรคที่เกีย่ วข้องกบั หู - กลุ่มที่ 3 โรคที่เกีย่ วข้องกบั จมกู - กลุม่ ที่ 4 โรคที่เกย่ี วขอ้ งกับลนิ้ - กลมุ่ ที่ 5 โรคที่เก่ียวขอ้ งกบั ผวิ หนัง จดั ทำป้ายนเิ ทศเพ่อื นำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ยี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 74 ช่ัวโมงที่ 5-6 ขัน้ สอน ข้นั เขา้ ใจ (Understanding) 1. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (ตามกลุ่มในกิจกรรม โรคที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะรับความรู้สึก) ส่งตัวแทนกลุ่ม กล่มุ ละ 3 คน ออกมาอธบิ ายโครงสร้างและการทำงานของอวัยวะรบั ความรู้สกึ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย โดยระหว่าง การนำเสนอใหน้ กั เรียนในชน้ั เรยี นร่วมแสดงความคิดเหน็ และครคู อยเพม่ิ เต่ิมในประเด็นทข่ี าดหายไป 2. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอปา้ ยนิเทศหน้าช้ันเรยี น กลุ่มละ 10 นาที โดยระหวา่ งที่นกั เรยี นนำเสนอ ให้นกั เรียนกล่มุ อืน่ ๆ ร่วมกนั เสนอแนะ และครูคอยเพ่มิ เติมประเด็นที่ขาดหายไป 3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายกจิ กรรม โรคที่เกีย่ วข้องกับอวัยวะรับความรู้สึก เพื่อให้ได้ข้อสรปุ ดงั น้ี โรคทเี่ ก่ียวกับอวยั วะรบั สัมผัสมหี ลายโรค แต่ละโรคมีแนวทางในการดูแลและรกั ษาโรคแตกตา่ งกนั เช่น - ตอ้ หนิ (glaucoma) เป็นโรคที่เกิดจากความดนั ในลูกตาสงู และไปกดเสน้ ประสาทตา เนอ่ื งจากการ ถ่ายเทของของเหลวในตาขัดข้อง หรือเกิดจากการใช้ยาหยอดตาบางชนิดบ่อยเกินไป มีวิธีการรักษาโดยลด ความดนั ของลูกตาโดยใช้ยาท่มี ีสมบัติขับของเหลวในลูกตา แต่หากเปน็ มากต้องผา่ ตัดระบายของเหลวในลูกตา เพอ่ื ลดความดันในลกู ตา - ต่อกระจก (cataract) เป็นโรคที่เกดิ จากเลนส์ตาขุ่นมั่วทำให้เห็นภาพมั่วเหมอื นมองผ่านหมอก มี วิธีการรกั ษาโดยการผา่ ตัดเปล่ยี นเลนส์ตา อาการตาเพลยี เป็นอาการปวดรอบ ๆ ตาและหนา้ ผาก เนื่องจากใช้ สายตามากเกนิ ไปหรือมีแสงสว่างน้อยเกินไป มีวธิ ีแกไ้ ขโดยการจัดแสงใหเ้ หมาะสมและพักสายตา - โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน (Meniere’s disease) เกิดจากความผิดปกติของน้ำในหูชั้นในซึ่งเกิดจาก การระบายของของเหลวในหูชั้นในที่ผิดปกติ สารเคมีของน้ำในหูไม่สมดุล การติดเชื้อ การบาดเจ็บบริเวณ ศรี ษะ หรอื ความบกพร่องทางพันธุกรรม ผู้ป่วยจะมอี าการวิงเวียนศีรษะ หูออื้ สูญเสียการได้ยิน ซ่ึงอาการมัก เกิดขึ้นอย่างกระทันหนั ต่อเนื่อง และเกิดขึ้นกบั หูข้างใดข้างหนึ่ง มีวิธีการรักษาโดยการรับประทานยา ฉีดยา การใช้เครื่องช่วยฟงั หรอื การผ่าตัด - โรคหนู ้ำหนวก เกดิ จากการติดเช้อื แบคทีเรยี ในหูช้นั กลาง ทำให้เกดิ หนองซงึ่ จะดนั เย่อื แก้วหูให้ทะลุ เป็นรแู ละรนู นั้ อาจไมส่ ามารถปิดเองได้ ผูป้ ่วยมีอาการหูอื้อ หตู ุง มขี องเหลวหรือหนองไหลออกจากหูชั้นกลาง มีวธิ กี ารรกั ษาโดยการใชย้ าตา้ นจุลชพี หรอื การผา่ ตัด - โรคไซนัสอกั เสบ (sinusitis) เป็นภาวะทีเ่ ยื่อบุบริเวณโพรงอากาศข้างจมูกเกดิ การอักเสบจากการ ติดเชื้อแบคทีเรียที่ผา่ นเขา้ มาทางกระบวนการหายใจ ทำให้มีอาการคัดจมูก มีน้ำมูกข้น ปวดบริเวณจมูก ตา โหนกแก้ม หน้าผาก และฟัน ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น มีวิธีการรักษาโดยการใช้ยาพ่น ยารับประทาน หรือการ ผา่ ตดั - โรคจมกู อกั เสบชนิดแพ้ (allergic rhinitis) เปน็ โรคทม่ี ีการอกั เสบของเนื้อเย่ือจมูกทำให้มีอาการ บวมแดงและมีเมือกภายในโพรงจมูกมากกว่าปกติ มีสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เกิดจาก โรคภมู ิแพ้ หรือการเปลย่ี นแปลงทางอากาศ มีวธิ ีการรักษาโดยการหลีกเล่ียงสารก่อภูมแิ พ้ การใช้ยา หรือการ ใหว้ ัคซนี ภมู แิ พ้ในผปู้ ่วยทม่ี อี าการรุนแรง โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 75 - ลนิ้ อักเสบ (glossitis) เป็นภาวะท่ลี น้ิ มอี าการอักเสบ บวม เปลีย่ นสี ผิวของลนิ้ มีลักษณะเปล่ียนไป จากเดิม หรือตุม่ รับรสไดร้ ับความเสียหาย ทำให้เกิดอาการบวม ปวด และสง่ ผลตอ่ การรับรสอาหารหรือการพูด มีสาเหตุเกิดจากการบาดเจ็บที่เกิดบริเวณปากซึ่งอาจส่งผลต่อลิ้น การแพ้ยาบางชนิด การแก้ยาสีฟันหรือ ผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปาก พฤติกรรมการบริโรคอาหารที่ก่อให้เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน หรือการติดเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา หรือเชื้อไวรัส มีวิธีการรักษาจะขึ้นอยู่กับสาเหตุของการเกิดโรค ซึ่งอาจเป็นใช้การดูแล สุขภาพของช่องปาก การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการบรโิ ถค หรือการรักษาด้วยยา - เกลื้อน (Tinea versicolor) เกิดจากเชื้อ Malassezia spp. ทำให้ผู้ป่วยมีผื่นขึ้นตามผิวหนังใน บริเวณที่มีต่อมไขมันมาก เช่น หน้าอก หลัง ไหล่ ซอกคอ ลำคอ ต้นแขน หน้าท้อง ใบหน้า และผู้ป่วยอาจมี อาการคันในช่วงที่มีเหงื่อออกมาก มีวธิ ีการรกั ษาโดยการใช้ยาแบบทา (ในกรณที ี่มีผืน้ ไมม่ าก) ยาแบบดิน (ใน กรณีทีม่ ีผ่ืนมากและเป็นบรเิ วณกว้าง) หรืออาจใชส้ มุนไพรรักษาโรคเกลือ้ น - โรคเริม (herpes) เกิดจากการติดเชื้อไวรัส HPV (Herpes Simplex Virus) ผู้ป่วยจะมีตุ่มน้ำใส บริเวณท่ตี ดิ เชื้อ เช่น ปาก อวัยวะเพศ ทวารหนัก ต้นขา ทำใหม้ อี าการปวด แสบทีแ่ ผล โรคเรมิ เป็นโรคผิวหนัง ที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาด เนื่องจากเชื้อไวรัสจะยังคงแฝงอยู่ในร่างกายแม้อาการของโรคจะสงบลงแล้ว และอาจจะกลับมาแสดงอาการอกี หากร่างกายมีระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ การรักษาจึงเป็นการบรรเทาอาการ เจ็บปวดและควบคุมการแพรก่ ระจายของเชอ้ื ไวรัส - โรคอีสุกอีใส (chickenpox/varicella) เป็นโรคติดต่อทางผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสวีซีวี (Varicella Zoster Virus: VZV) ผู้ปว่ ยจะเกดิ ผ่นื เปน็ จุดแดง ๆ ตามรา่ งกายและจะเรม่ิ กลายเป็นตมุ่ พองขนาด เล็กที่มีน้ำใส อีกทั้งยังมีอาการไข้ต่ำ รู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว เหนื่อยง่าย ปวดศีรษะ และเจ็บคอ โดยทั่วไปการ รักษาโรคอีสกุ อีใสเป็นการประคับประคองตามอาการที่เกดิ ขึ้นกบั ผูป้ ่วยเป็นหลกั เพื่อช่วยบรรเทาอาการของ โรคให้ดขี น้ึ เชน่ การทานยาในกล่มุ ตา้ นการอบั เสบ การใชย้ าทาภายนอกเพื่อลดอาการคนั และเกบ็ ความชื้นแก่ ผวิ หนัง แตใ่ นผ้ปู ่วยทมี่ อี าการรุนแรงอาจต้องใช้ยาในกลุ่มต้านไวรสั เพอ่ื ช่วยฆา่ เชอื้ 4. นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สกึ ขน้ั ลงมือทำ (Doing) นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม (ตามกลมุ่ ทีแ่ บ่งในกจิ กรรม โรคทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับอวยั วะรบั ความรู้สึก) สรา้ งแบบจำลอง โครงสร้างของอวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมและมี ราคาถูก เพื่อใชเ้ ป็นแบบจำลองสำหรับการศกึ ษาของนักเรียนในรุ่นตอ่ ไป โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 76 ขนั้ สรุป 1. นกั เรยี นและครูร่วมกันสรุป เรื่อง อวัยวะรบั ความรู้สกึ เพื่อให้ไดข้ อ้ สรปุ วา่ รา่ งกายมนุษยม์ ีอวยั วะ รบั ความรสู้ กึ ประกอบด้วยอวยั วะตา่ ง ๆ ซ่งึ มีโครงสรา้ งและหน้าทีแ่ ตกต่างกนั ดงั น้ี - ตา เมอ่ื แสงตกกระทบกับวัตถุและสะทอ้ นเขา้ สู่นัยนต์ า แสงผ่านรูม่านตาโดยมเี ลนสต์ าทำหน้าท่ีรวม แสงไปตกบรเิ วณเรตนิ าทปี่ ระกอบด้วยเซลล์รูปแท่งและเซลล์รปู กรวย แล้วแปลเปน็ กระแสประสาทส่งไปทาง เส้นประสาทสมองคทู่ ี่ 2 เขา้ ส่สู มองสว่ นออพติกโลบ - หู เมอ่ื คลน่ื เสยี งผ่านเข้าหู จากหูส่วนนอก หูส่วนกลาง และหสู ว่ นใน คลน่ื เสยี งจะทำให้ของเหลวใน คอเคลียสน่ั สะเทือน แลว้ แปลเปน็ กระแสประสาทสง่ ไปยงั เส้นประสาทสมองคทู่ ่ี 8 เพอ่ื เขา้ สูส่ มองส่วนเซรีบรมั และยงั ทำหนา้ ทรี่ ับร้กู ารทรงตวั ของรา่ งกายโดยอาศยั การเปลี่ยนแปลงของของเหลวในเซมเิ ซอรค์ ิวลารแ์ คแนล แลว้ แปลเป็นกระแสประสาทส่งไปยงั เส้นประสาทสมองคทู่ ่ี 8 เพื่อเข้าสูส่ มองส่วนเซรเี บลลัม - จมกู เมอ่ื โมเลกุลสารเคมผี า่ นเข้าจมกู ออลแฟกทอรีเซลล์ภายในจมกู ทำหนา้ ทรี่ ับกล่นิ และแปลเป็น กระแสประสาทสง่ ไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 นำเขา้ สู่สมองส่วนเซรบี รมั - ลน้ิ มีตมุ่ รบั รสทำหน้าทรี่ บั รสและแปลเป็นกระแสประสาทสง่ ไปตามเสน้ ประสาทสมองคทู่ ี่ 7 และ 9 เข้าสู่สมองสว่ นเซรีบรัม - ผิวหนัง มีเซลลป์ ระสาทรับความรูส้ กึ จำนวนมาก ทงั้ การสัมผสั แรงกด ความร้อน ความเย็น ซึ่งจะ สง่ กระแสประสาทไปยงั สมอง 2. นักเรยี นเขยี นผงั มโนทศั น์ เร่ือง อวัยวะรบั ความร้สู กึ อธิบายถึงโครงสร้าง การทำงาน และความ ผดิ ปกติทีเ่ กิดขึน้ จากอวัยวะรับความรูส้ กึ ต่าง ๆ ข้ันประเมนิ ผล 1. ประเมินความรูเ้ กีย่ วกับ เรื่อง อวยั วะรบั ความรสู้ กึ โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม ตรวจ ผงั มโนทัศน์ และตรวจป้ายนเิ ทศ 2. ประเมินทกั ษะและกระบวนการ โดยสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ การทำปฏบิ ัตกิ าร การสรา้ ง แบบจำลอง และการนำเสนอผลงาน 3. ประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยสงั เกตพฤตกิ รรมความสนใจใฝ่รใู้ นการศึกษาและความ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบุญเปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 77 9. ส่ือการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ จำนวน สภาพการใช้สื่อ 1 ชุด ขน้ั นำ รายการสื่อ 1 ชดุ ขน้ั สอน 1 ชุด ขน้ั สอน 1) ใบงาน เร่ือง อวยั วะรบั ความรู้สึก 2) แบบจำลองโครงสร้างของตา หู จมกู ลิน้ และผิวหนงั 1 ชดุ ข้ันสอน 3) PowerPoint เร่ือง ระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรสู้ กึ 4) แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ระบบประสาทและอวยั วะรับ 1 ชดุ ขั้นสอน ความรู้สึก 1 ชดุ ขั้นสรุป 5. ป้ายนเิ ทศ เร่อื ง โรคท่เี ก่ียวขอ้ งกบั อวยั วะรับความรู้สึก 6. ผังมโนทัศน์ เรื่อง อวยั วะรบั ความรสู้ ึก โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/1 78 10. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมอื วดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธบิ ายโครงสร้าง 1. แบบทดสอบก่อน กอ่ นเรียน คะแนน ประเมนิ ตามสภาพ และหน้าท่ขี ออวยั วะ เรยี น หน่วยการ จรงิ รับความรู้สึกต่างๆ(K) เรยี นรู้ที่ 2 ระบบ ระดับคุณภาพดี ผา่ นเกณฑ์ 2. หาตำแหน่งของ ประสาทและอวัยวะรับ ร้อยละ 65 ผ่าน จุดบอดและโฟเวีย ความรสู้ กึ เกณฑ์ และทดสอบความไว 2. ผังมโนทศั น์ เร่อื ง ตรวจผงั มโนทัศน์ แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพดี เรื่อง อวัยวะรับ ผังมโนทศั น์ ผา่ นเกณฑ์ ในการรับสัมผสั ของ อวยั วะรับความรสู้ กึ ความรู้สกึ ตรวจใบงานที่ 6 ใบงานท่ี 6 ระดบั คุณภาพดี ผิวหนัง (P) เรื่อง อวยั วะรับ ผา่ นเกณฑ์ ความรู้สกึ 3. สืบคน้ ข้อมูล 3. ใบงานที่ 6 เรือ่ ง ตรวจป้ายนเิ ทศ แบบประเมินป้ายนิเทศ ระดับคณุ ภาพดี เรื่อง โรคทเี่ กย่ี ว ผา่ นเกณฑ์ เกยี่ วกบั โรคท่ี อวยั วะรบั ความรสู้ กึ ข้องกับอวัยวะรบั ความรูส้ กึ ระดับคณุ ภาพ 2 เก่ยี วข้องกบั อวัยวะ ตรวจแบบจำลอง แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ อวัยวะรบั ความรู้สกึ แบบจำลอง ระดบั คุณภาพ 2 รบั ความรู้สกึ (P) 4. ป้ายนิเทศ เรอ่ื ง โรค ผ่านเกณฑ์ 4. สรา้ งแบบจำลอง ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับอวยั วะ ระดบั คุณภาพ 2 แสดงโครงสร้างของ รับความรู้สกึ ผา่ นเกณฑ์ อวัยวะรบั ความรู้สกึ (P) 5. แบบจำลอง อวยั วะ ตรวจประเมิน ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร 5. นำความรูม้ าใช้ใน รบั ความรู้สกึ การปฏิบตั ิการ การดูแลรกั ษาและ ป้องกนั อนั ตรายของ 6. การปฏิบตั ิการ อวยั วะรบั ความรูส้ กึ (A) 7. การนำเสนอผลงาน ประเมินการ ผลงานที่นำเสนอ 6. สนใจใฝร่ ใู้ น นำเสนอผลงาน การศกึ ษาและมุ่งมนั่ ในการทำงาน (A) 8. พฤติกรรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ทำงานรายกลุม่ การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกลมุ่ 9. คุณลกั ษณะ สังเกตความมวี นิ ัย แบบประเมนิ อันพึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรแู้ ละมงุ่ ม่นั คณุ ลกั ษณะ ในการทำงาน อนั พึงประสงค์ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 79 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 3 21 1 เน้ือหาละเอียดชดั เจน 2 ความถูกต้องของเน้ือหา   3 ภาษาท่ใี ช้เข้าใจงา่ ย   4 ประโยชน์ที่ไดจ้ ากการนำเสนอ   5 วิธีการนำเสนอผลงาน     รวม ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม) ............./................../............... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 80 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ คำชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน การมี การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี สว่ นรว่ มใน รวม ชื่อ – สกลุ ความ ฟังคนอนื่ ตามที่ไดร้ บั น้ำใจ การ 15 ลำดับท่ี ของนกั เรียน คดิ เห็น มอบหมาย ปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลุ่ม 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผูป้ ระเมนิ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม) ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ............../.................../............... ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 81 แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาตไิ ด้ กษัตริย์ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมทสี่ รา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรียน 1.3 เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏบิ ัติตามหลักศาสนา 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมที่เกี่ยวกบั สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ตามทโ่ี รงเรียนจัดขนึ้ 2. ซื่อสตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มูลทถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นส่งิ ทีถ่ กู ตอ้ ง 3. มีวินยั รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจำวนั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รจู้ กั จดั สรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชื่อฟังคำสง่ั สอนของบดิ า - มารดา โดยไมโ่ ตแ้ ย้ง 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและส่งิ ของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอย่างประหยัดและรคู้ ุณคา่ 5.3 ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทไี่ ด้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพอ่ื ให้งานสำเรจ็ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คณุ ค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ ักการดแู ลรกั ษาทรพั ย์สมบตั แิ ละสิ่งแวดลอ้ มของห้องเรยี นและ โรงเรยี น ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../............... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัตชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน 51-60 ดีมาก พฤตกิ รรมที่ปฏิบัตบิ างครง้ั ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ต่ำกวา่ 30 ปรับปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเป่ียม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 82 แบบประเมนิ การปฏิบตั กิ าร คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินการปฏิบตั กิ ารของนักเรยี นตามรายการทก่ี ำหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องท่ตี รงกับ ระดบั คะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 การปฏิบตั กิ ารทดลอง 2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัตกิ าร รวม 3 การนำเสนอ ลงช่ือ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ................./................../.................. โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 83 เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏิบตั ิการ ประเด็นที่ประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 ตอ้ งให้ความช่วยเหลอื 4. การปฏบิ ตั กิ าร ทำการทดลองตาม ทำการทดลองตาม ต้องให้ความช่วยเหลือ อย่างมากในการทำการ ทดลอง และการใช้ ทดลอง ข้ันตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ ขน้ั ตอน และใช้อุปกรณ์ บา้ งในการทำการ อุปกรณ์ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ ตอ้ งได้รบั คำแนะนำบ้าง อุปกรณ์ 5. ความ มีความคลอ่ งแคล่ว มคี วามคลอ่ งแคล่ว ขาดความคลอ่ งแคลว่ ทำการทดลองเสร็จ ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ไมท่ ันเวลา และทำ คล่องแคล่ว ในขณะทำการทดลอง แตต่ อ้ งได้รับคำแนะนำ จึงทำการทดลองเสรจ็ อปุ กรณ์เสียหาย บา้ ง และทำการทดลอง ไม่ทนั เวลา ในขณะ โดยไม่ตอ้ งไดร้ บั เสรจ็ ทนั เวลา ตอ้ งให้ความช่วยเหลือ บนั ทกึ และสรุปผล ตอ้ งใหค้ ำแนะนำในการ อย่างมากในการบันทกึ ปฏิบตั กิ าร คำชแ้ี นะ และทำการ การทดลองได้ถูกต้อง บันทกึ สรปุ และ สรุป และนำเสนอผล แต่การนำเสนอผล นำเสนอผลการทดลอง การทดลอง ทดลองเสรจ็ ทนั เวลา การทดลองยงั ไม่เปน็ ขนั้ ตอน 6. การบันทึก สรุป บันทกึ และสรุปผล และนำเสนอผล การทดลองได้ถูกต้อง การทดลอง รัดกมุ นำเสนอผลการ ทดลองเป็นขั้นตอน ชัดเจน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ำกว่า 6 ปรบั ปรงุ โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา5 มัธยมศึกษาปที ี่ 6/1 84 แบบประเมนิ แบบจำลอง แผนฯ ท่ี 5 คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินแบบจำลองของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 4321 1 ความสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ 2 ความถูกต้องของเนือ้ หา 3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 การเลือกใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ รวม ลงชอื่ ................................................... ผ้ปู ระเมิน …............../................../.................. เกณฑ์การประเมนิ รายงาน ประเดน็ ทป่ี ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. ความ แบบจำลองสอดคล้อง แบบจำลอสอดคลอ้ ง แบบจำลอสอดคลอ้ งกับ แบบจำลอไม่สอดคลอ้ ง สอดคลอ้ งกบั กบั จดุ ประสงค์ กับจุดประสงคเ์ ปน็ จดุ ประสงคบ์ างประเด็น กับจดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์ ทุกประเด็น สว่ นใหญ่ 2. ความถูกต้อง เนอ้ื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ ของเนื้อหา แบบจำลองถกู ตอ้ ง แบบจำลองถกู ต้องเป็น แบบจำลองถูกตอ้ ง แบบจำลองไมถ่ ูกตอ้ ง ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเดน็ เป็นสว่ นใหญ่ 3. ความคดิ ผลงานแสดงถงึ ความคดิ ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานมคี วามนา่ สนใจ ผลงานไม่มีความ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ แตย่ ังไมม่ แี นวคิด นา่ สนใจ และไมแ่ สดง และเปน็ ระบบ แต่ยงั ไมเ่ ปน็ ระบบ แปลกใหม่ ถงึ แนวคิดแปลกใหม่ 4. การเลือกใช้ เลอื กใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ เลอื กใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ที่ เลอื กใช้วสั ดุอปุ กรณท์ ี่ เลอื กใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ วัสดุอุปกรณ์ ท่เี หมาะสม หางา่ ย เหมาะสม และมรี าคา เหมาะสม แต่มรี าคา ที่ไมเ่ หมาะสม และมีราคาถูก ถกู แพง และมรี าคาแพง เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 15-16 ดมี าก 12-14 ดี 8-11 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบุญเปี่ยม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/1 85 แบบประเมินผงั มโนทัศน์/แผน่ พบั /ปา้ ยนเิ ทศ/แผนภาพ คำชี้แจง : ให้ผูส้ อนประเมินช้นิ งาน/ภาระงานของนกั เรียนตามรายการท่ีกำหนด แล้วขดี ✓ ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 ความสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา 3 ความคดิ สร้างสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา รวม ลงช่อื ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............../................../................ เกณฑก์ ารประเมนิ ผังมโนทัศน์/แผน่ พบั /ปา้ ยนิเทศ/แผนภาพ ประเด็นทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน 9. ความ 432 1 สอดคล้องกับ ผลงานไมส่ อดคล้องกับ จดุ ประสงค์ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 10. ควา จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงคเ์ ป็น จดุ ประสงคบ์ างประเดน็ เนอื้ หาสาระของผลงาน มถกู ต้องของ ไม่ถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ เนือ้ หา ส่วนใหญ่ ผลงานไมม่ ีความ 11. ควา เนอ้ื หาสาระของผลงาน เนอ้ื หาสาระของผลงาน เน้อื หาสาระของผลงาน น่าสนใจ และไม่แสดง มคดิ สร้างสรรค์ ถึงแนวคิดแปลกใหม่ ถูกตอ้ งครบถว้ น ถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งบางประเด็น ส่งชน้ิ งานชา้ กว่าเวลาท่ี 12. ควา กำหนด 3 วนั ขึ้นไป มตรงต่อเวลา ผลงานแสดงถงึ ความคดิ ผลงานแสดงถงึ ความคดิ ผลงานมีความน่าสนใจ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไมม่ แี นวคิดแปลก และเป็นระบบ แตย่ ังไม่เป็นระบบ ใหม่ สง่ ช้ินงานภายในเวลาที่ สง่ ชน้ิ งานช้ากว่าเวลาที่ สง่ ชน้ิ งานชา้ กว่าเวลาท่ี กำหนด กำหนด 1 วนั กำหนด 2 วัน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-16 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปีย่ ม กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 86 แบบบันทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้ ช่อื หน่วยการเรียนรทู้ ่ี.......... เรื่อง................................................................ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี........... เร่ือง................................................... รายวชิ า.......................................... ช้นั ....................... รหสั วชิ า....................... ครผู สู้ อน นางสาวสุดาภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย เวลาที่ใช้................. ชั่วโมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................. (..............................................) รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาทพ่ี บ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรียนรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของผเู้ รียน ลงชอ่ื ..................................................ผสู้ อน นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 87 ใบงาน เรอ่ื ง อวยั วะรบั ความรู้สึก คำชี้แจง : จงอธบิ ายกลไกการรับความรูส้ ึกต่าง ๆ ของอวยั วะรบั ความรู้สกึ ตอ่ ไปนี้ 1 2 3 4 5 โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบุญเปี่ยม กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 88 ใบงาน เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึก คำช้ีแจง : จงอธิบายกลไกการรับความรสู้ ึกต่าง ๆ ของอวัยวะรับความรูส้ ึกตอ่ ไปนี้ หมายเลข อวยั วะ ประเภทสงิ่ เร้า โครงสร้าง/เซลล์ กลไกการรับความรสู้ กึ ...................... ............................... ................................ ...................................................................... 1 …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ………………………….. ...................................................................... ...................... ............................... ................................ ...................................................................... 2 …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ………………………….. ...................................................................... ...................... ............................... ................................ ...................................................................... 3 …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ………………………….. ...................................................................... ...................... ............................... ................................ ...................................................................... 4 …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ………………………….. ...................................................................... ...................... ............................... ................................ ...................................................................... 5 …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ................................ ...................................................................... …………………………… ………………………….. ...................................................................... โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชีววิทยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 89 ใบงาน เรอ่ื ง อวัยวะรับความรู้สึก คำชี้แจง : จงอธบิ ายกลไกการรับความรูส้ ึกต่าง ๆ ของอวัยวะรบั ความรู้สกึ ตอ่ ไปนี้ 1 2 3 4 5 โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบุญเปี่ยม กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/1 90 ใบงาน เรอื่ ง อวัยวะรับความรูส้ กึ คำช้แี จง : จงอธบิ ายกลไกการรับความร้สู กึ ต่าง ๆ ของอวยั วะรบั ความรสู้ กึ ตอ่ ไปน้ี หมายเลข อวยั วะ ประเภทสง่ิ เรา้ โครงสรา้ ง/เซลล์ กลไกการรับความรสู้ กึ ............ต..า........ ................แ..ส..ง........... .............เ.ร..ต...ิน..า............ ....แ..ส...ง..ต..ก..ก...ร..ะ..ท...บ..ก...บั ..ว...ัต..ถ..ุแ...ล..้ว..ส...ะ..ท..้.อ..น...เ.ข..้.า..ส..ู่ต...า 1 …………………………… ........(.เ.ซ..ล...ล..ร์..ปู...แ..ท...่ง...... ....แ...ส..ง..ผ..่า..น...ร..ูม...า่ ..น...ต..า..โ..ด..ย...ม..ีเ.ล...น..ส...์ต..า..ร..ว..ม...แ..ส...ง..ไ.ป. …………………………… .......เ.ซ..ล...ล..ร์..ปู...ก..ร..ว..ย..)..... ....ต...ก...ท...ี่.เ.ร...ต...ิน...า....แ...ล...้ว...แ..ป...ล...เ..ป...็น...ส...ั.ญ...า..ญ....า..ณ.. …………………………… ................................. ....ป...ร..ะ...ส..า..ท...ไ..ป...ท..า..ง..เ..ส..้.น..ป...ร..ะ...ส..า..ท...ส...ม..อ...ง..ค...ู่ท...ี่.2. …………………………… ………………………….. ....เ.ข...้า..ส..ู่ส..ม...อ..ง..ส..่ว..น...อ..อ...พ...ต..ิก..โ..ล..บ.......................... ..........จ..ม..ูก........ ...........ส..า..ร..เ..ค..ม..ี........ .....อ..อ..ล...แ..ฟ...ก..ท...อ..ร..ี-....... ..โ.ม...เ.ล...ก..ุล..ส...า..ร..เ.ค..ม...ผี ..่า..น...เ.ข..้า..จ...ม..กู....อ..อ..ล...แ..ฟ...ก..ท...อ..ร..ี. …………………………… ............เ.ซ...ล..ล..์............. ..เ..ซ..ล...ล...์.ท...ำ..ห...น...้า...ท...ี่.ร..ับ...ก...ล...ิ่.น...แ..ล...ะ...แ...ป...ล..เ..ป...็น... 2 …………………………… ................................. ..ส...ัญ...ญ....า..ณ....ป..ร...ะ..ส...า..ท...ส...่ง..ไ..ป...ย..ัง..เ..ส..้.น...ป..ร...ะ..ส...า..ท... …………………………… ................................. ..ส..ม...อ..ง..ค..่ทู...ี่.1....เ.ข...า้ .ส...สู่ ..ม...อ..ง..ส..่ว..น...เ.ซ..ร..ีบ...ร..ัม............... …………………………… ………………………….. ...................................................................... ..........ล...้ิน......... .........ส..า..ร..เ..ค..ม...ี ......... .......เ..ซ..ล..ล...์ร..ับ..ร..ส........... ..ล..ิ้น...ม..ตี..มุ่...ร..บั...ร..ส..ซ..่งึ..ม...เี .ซ..ล...ล..ร์..ับ...ร..ส..อ..ย...ภู่ ..า..ย...ใ.น.....ท..ำ... …………………………… ................................. ..ห..น...้า..ท...ี่ร..ับ...ร..ส...แ..ล..ะ...แ..ป...ล..เ..ป..็น...ก...ร..ะ..แ..ส...ป..ร...ะ..ส..า..ท.... 3 …………………………… ................................. ..ส..่ง..ไ.ป...ต..า..ม...เ.ส..น้...ป...ร..ะ..ส..า..ท...ส..ม...อ..ง..ค...ู่ท..ี่..7....แ..ล...ะ..ค..ู่ท...ี่. …………………………… ................................. ..9...เ.ข...า้ ..ส..สู่..ม...อ..ง..ส...ว่ ..น..เ.ซ...ร..บี ..ร..ัม............................... …………………………… ………………………….. ...................................................................... .......ผ...วิ ..ห..น...งั..... ..........แ...ร..ง.ก...ล............ ....ห..น...่ว..ย..ร..ัค...ว..า..ม..ร..ู้ส..ึก..... ..ล...ิ้น...ม..ีต...ุ่ม...ร..ับ...ร..ส...ซ...ึ่ง..ม...ีเ.ซ...ล..ล...์ร..ับ...ร..ส...อ..ย...ู่ภ...า..ย..ใ..น... 4 ………อ…ุณ…ห…ภ…ูม…ิ ……… ................................. ..ท...ำ..ห....น...้า..ท...ี.่ร...ับ...ร...ส...แ..ล...ะ...แ...ป...ล..เ..ป...็.น...ก..ร...ะ..แ...ส... …………………………… ................................. ..ป...ร..ะ..ส..า..ท...ส..ง่..ไ..ป..ต...า..ม..เ.ส...น้ ..ป...ร..ะ..ส..า..ท...ส...ม..อ..ง..ค...ู่ท..ี่..7... …………………………… ................................. ..แ..ล...ะ..ค..ู่ท...่ี.9....เ.ข..้า..ส...สู่ ..ม...อ..ง..ส..่ว..น...เ.ซ..ร..บี...ร..ัม................. …………………………… ………………………….. ...................................................................... ..........ห..ู.......... ........ค...ล..่นื...เ.ส..ยี...ง......... .....ค..ล...อ..เ.ค...ล..ยี..แ...ล..ะ........ ค..ล...ื่น..เ..ส..ีย...ง..เ.ข..้า..ห...ูท...ำ..ใ.ห...้ข...อ..ง..เ.ห...ล..ว..ใ..น...ค..อ...เ.ค..ล...ีย..ส..นั่.. 5 …………………………… ...เ.ซ..ม...เิ.ซ...อ..ร..ค์..วิ..ล...า..ร..์-..... แ..ป...ล..เ.ป...็น..ก...ร..ะ..แ..ส...ป..ร..ะ...ส..า..ท...ส..่ง..ไ.ป...ย..งั..เ.ส...้น..ป...ร..ะ..ส..า..ท.. …………………………… ..........แ..ค...แ..น..ล.............. ส..ม...อ..ง..ค..ทู่...่ี.8....เ.ข..า้..ส...ู่ส..ม...อ..ง..ส..ว่..น...เ.ซ..ร..ีบ...ร..ัม....แ..ล...ะ..ห...า..ก. …………………………… ................................. ข..อ...ง.เ..ห...ล..ว..ใ..น..เ..ซ..ม...เิ .ซ...อ..ร..์ค..ิ.ว..ล..า..ร..์แ..ค...แ..น...ล..ส...ั่น...จ..ะ..ส..ง่. …………………………… ………………………….. ก..ร..ะ..แ...ส..ป...ร..ะ..ส..า..ท...ไ.ป...เ.ช...่น..เ.ด...ีย..ว..ก...ัน........................ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 91 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 คำช้แี จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สตั วช์ นิดใดมีปมประสาทเปน็ พวกแรก 6. ข้อใดกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่ 1. หอย 2. ไฮดรา เยื่อหมุ้ เซลล์ได้ถกู ต้อง 3. พลานาเรยี 4. แมงกะพรนุ 1. เกิดจากการเคลื่อนที่ของ Na+ และ Cl- เข้า 5. ไส้เดือนดนิ และออกจากเซลล์ 2. ลักษณะใดทำให้เซลล์ประสาทแตกต่างจาก 2. ในระยะที่เซลล์ประสาทไม่ถูกกระตุ้น ภายใน เซลล์ร่างกายอนื่ ๆ เซลลจ์ ะมี Na+ สงู 1. มนี วิ เคลียสกลมใหญ่ 3. เมื่อเซลล์ถูกกระตุ้น Na+ จะไหลเข้าสู่เซลล์ 2. มีเสน้ ใยแยกออกจากตวั เซลล์ ทำใหค้ ่าศกั ย์ไฟฟา้ เป็นลบมากขนึ้ 3. มรี ูปร่างรยี าวและหัวท้ายแหลม 4. เมื่อเซลล์ถูกกระตุ้น K+ จะไหลออกนอกเซลล์ 4. มีนวิ เคลียสมากกวา่ 1 นิวเคลยี ส/เซลล์ ทำใหค้ า่ ศักย์ไฟฟา้ เปน็ บวกมากขนึ้ 5. มไี มโทคอนเดรียภายในเซลลจ์ ำนวนมาก 5. โซเดียมโพแทสเซียมปั๊มเกิดจากการขับ Na+ 3. เซลล์ประสาทประสานงานพบทีส่ ว่ นใด และดึง K+ ในอัตราส่วน 2Na+: 3K+ 1. สมอง 2. กลา้ มเน้ือ 7. หากสมองส่วนใดทำงานผิดปกติจะส่งผลต่อการ 3. ต่อมไรท้ ่อ 4. อวยั วะภายใน เคลือ่ นไหวของลกู ตา 5. อวยั วะรบั ความร้สู กึ 1. พอนส์ 2. เซรีบรมั 4. บริเวณใดที่มีการเปลี่ยนแปลงของไอออน 3. เซรเี บลลัม 4. ออพตกิ โลบ ระหวา่ งการนำกระแสประสาท 5. ไฮโพทาลามสั 1. ตวั เซลล์ 2. เดนไดรต์ 8. ข้อใดเป็นผลจากการทำงานของระบบประสาท 3. เยือ่ ไมอลี นิ 4. เซลลช์ วันน์ พาราซิมพาเทติก 5. โนดออฟแรนเเวยี ร์ 1. ท่อลมหดตวั 2. กล้นั ปสั สาวะ 5. เซลล์ประสาทขอ้ ใดนำกระแสประสาทได้ดที ี่สุด 3. อุณหภูมิเพ่ิมขน้ึ 4. มดลูกบบี ตัวลดลง ข้อ ขนาด ระยะห่างของ 5. ยับยัง้ การหลั่งเอนไซม์ เส้นผ่านศนู ย์กลาง โนดออฟแรนเวียร์ 9. เซลล์รับแสงพบบรเิ วณสว่ นใดของนัยนต์ า 1. 3 ไมโครเมตร 100 ไมโครเมตร 1. ม่านตา 2. เรตินา 2. 5 ไมโครเมตร 100 ไมโครเมตร 3. โครอยด์ 4. เลนสต์ า 3. 3 ไมโครเมตร 200 ไมโครเมตร 5. สเคลอรา 4. 5 ไมโครเมตร 200 ไมโครเมตร 5. 5 ไมโครเมตร ไมม่ เี ยอ่ื ไมอีลนิ หุ้ม โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบุญเป่ยี ม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 92 แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 10. ความผดิ ปกตขิ องเส้นประสาทสมองคใู่ ดทำให้ สูญเสียความสามารถในการดมกล่ิน 1. ค่ทู ่ี 1 2. คู่ที่ 4 3. ค่ทู ่ี 5 4. คทู่ ี่ 7 5. คูท่ ่ี 9 โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี