Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการจัดกิจกรรมนักดาราศาสตร์รุ่นเยาว์-63

รายงานการจัดกิจกรรมนักดาราศาสตร์รุ่นเยาว์-63

Published by jukreelucha64, 2022-01-13 07:43:40

Description: รายงานการจัดกิจกรรมนักดาราศาสตร์รุ่นเยาว์-63

Search

Read the Text Version

รายงานกจิ กรรมชุมนุมนักดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ เร่ือง การศึกษากลไกการเกดิ หลุมอุกกาบาต ผู้จดั ทา นายณรงค์เดช กองศรี เดก็ หญิงแทนขวญั สุตะนนท์ เดก็ หญิงพรพมิ ล ไทยลาวลั ย์ อาจารย์ทป่ี รึกษา นางสมันตชิดา ฦาชา โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม ตาบลลอมคอม อาเภอพล จังหวดั ขอนแก่น โทรศัพท์ 043-009861 โทรสาร 043-009616

2 คานา วิทยาศาสตร์เป็ นความรู้ที่สาคญั ประการหน่ึงต่อการดารงชีวิตในปัจจุบนั พวกเราเห็นว่าการไดเ้ รียนรู้ชุมนุม นักดาราศาสตร์รุ่นเยาวเ์ ป็ นการเพิ่มพูนความรู้ที่ทาให้เกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ และรู้จกั วิธีศึกษาคน้ ควา้ หาคาตอบ อยา่ งเป็ นระบบแบบแผน รู้จกั การทางานร่วมกนั และยอมรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั และที่สาคญั กิจกรรมเด่นของ พวกเราน่าจะเป็ นประโยชน์ไม่มากก็น้อยสาหรับผูท้ ี่สนใจในเร่ืองดาราศาสตร์ ในการทากิจกรรมเด่นของชุมนุม ได้มี การศึกษากลไกการเกิดหลุมอุกกาบาต ทาให้เขา้ ใจกลไกการเกิดหลุมอุกกาบาต และปัจจยั ท่ีสาคญั ท่ีเก่ียวขอ้ งและ ไม่เก่ียวขอ้ งต่อสภาพทางกายภาพของหลุมอกุ กาบาตท่ีเกิดข้ึน ชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม อาเภอพล จงั หวดั ขอนแก่น ไดเ้ ห็นความสาคญั ของวชิ า ดาราศาสตร์ซ่ึงเป็ นสาขาหน่ึงของวทิ ยาศาสตร์ โดยหวงั วา่ การดาเนินกิจกรรมชุมนุมของนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ อาจจะเป็ น จุดเริ่มตน้ หรือเป็ นประโยชนก์ บั ผทู้ ่ีสนใจหรือเป็ นแนวทางในการตอ่ ยอดความรู้ต่อไป คณะผจู้ ดั ทา นายณรงคเ์ ดช กองศรี เดก็ หญิงแทนขวญั สุตะนนท์ เด็กหญิงพรพิมล ไทยลาวลั ย์

3 กติ ตกิ รรมประกาศ กิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เร่ือง การศึกษากลไกการเกิดหลุมอุกกาบาต ขอขอบพระคุณการสนบั สนุนจาก ท่านผูอ้ านวยการโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม ท่านรองผูอ้ านวยการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยที ี่ใหก้ ารอนุเคราะห์ในการจดั ทาโครงงาน ชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ ขอขอบคุณ คุณครูสมนั ตชิดา ฦาชา ที่กรุณาใหค้ าปรึกษา ใหค้ วามรู้และคาแนะนา ตลอดระยะเวลาท่ีทากิจกรรมชุมนุม และเอ้ือเฟ้ื อสถานท่ีในการทาโครงงานรวมท้งั การแกไ้ ขส่วนบกพร่องในการจดั ทา รูปแบบรายงานฉบบั น้ีใหส้ มบูรณ์ ขอขอบพระคุณ คณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกท่านท่ีได้ให้ท้ังความรู้ ประสบการณ์ อปุ กรณ์ในการทางานพร้อมท้งั คอมพวิ เตอร์ในการจดั พมิ พ์ ขอขอบคุณเพื่อนๆ และน้องๆในชุมนุมนักดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม ที่เป็ นกาลงั ใจ ช่วยเหลือ ออกแบบ และร่วมกันสร้างผลงานข้ึนมา ท้ายที่สุดขอขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ท่ีเป็ นกาลงั ใจให้ทางานจน ประสบความสาเร็จ คณะผจู้ ดั ทา นายณรงคเ์ ดช กองศรี เดก็ หญิงแทนขวญั สุตะนนท์ เดก็ หญิงพรพิมล ไทยลาวลั ย์

สารบญั 4 คานา หน้า กิตติกรรมประกาศ 1 สารบญั 2 ใบกิจกรรมของนกั เรียน 3 ปฏิทินการปฏิบตั ิงานรายปี ชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาวป์ ระจาปี 2562 4 กิจกรรมท่ี 2* งานในอาชีพของนกั ดาราศาสตร์ 7 กิจกรรมท่ี 3* คาศพั ทท์ างดาราศาสตร์ 8 กิจกรรมท่ี12** สร้างแอสโตรแลป 8 กิจกรรมท่ี 18*** เงาจากดวงอาทิตย์ 8 กิจกรรมท่ี 26** นิทานดาว 9 กิจกรรมท่ี 27** การสงั เกตผิวของดวงจนั ทร์ 9 กิจกรรมที่ 31*** ดาวหาง 9 กิจกรรมท่ี 33*** ปรากฎการณ์แสงโลก 9 กิจกรรมท่ี 34*** ปรากฎการณ์จนั ทรุปราคาเตม็ ดวง 10 กิจกรรมที่ 37*** ผลงานของพระบิดาแห่งวทิ ยาศาสตร์ไทย 10 กิจกรรมท่ี 38*** การใชแ้ ผนท่ีดาว 11 กิจกรรมเด่น เร่ืองการศึกษากลไกการเกิดหลุมอกุ กาบาต 11 ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการทากิจกรรมชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ 12 เอกสารอา้ งอิง 17 รายช่ือสมาชิกของชุมนุม 18 ภาคผนวก 19 สาเนาใบสมคั ร 21 25

5

6

7

8 ปฏิทนิ ปฏิบัตงิ านรายปี การศึกษา 2562 ชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ วนั /เดือน / กจิ กรรมภาคเรียนที่ 1 วนั /เดือน / กจิ กรรมภาคเรียนท่ี 2 ปี ปี 16 พ.ค. 62 เปิ ดภาคเรียน 24 ต.ค. 62 เปิ ดภาคเรียน 23 พ.ค. 62 30 พ.ค. 62 รับสมคั รกิจกรรมชุมนุม 31 ต.ค. 62 ดาเนินกิจกรรมเพื่อสะสมดาว 6 ม.ิ ย. 62 13 ม.ิ ย. 62 แนะนากิจกรรมชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ 7 พ.ย. 62 ดาเนินกิจกรรมเพื่อสะสมดาว 20 ม.ิ ย. 62 27 ม.ิ ย. 62 ดาเนินกิจกรรมเพ่ือสะสมดาว 14 พ.ย. 62 ดาเนินกิจกรรมเพอื่ สะสมดาว 4 ก.ค. 62 วนั ไหวค้ รู 21 พ.ย. 62 ดาเนินกิจกรรมเพื่อสะสมดาว 11 ก.ค. 62 ดาเนินกิจกรรมเพื่อสะสมดาว 28 พ.ย. 62 ดาเนินกิจกรรมเพอื่ สะสมดาว 18 ก.ค. 62 ดาเนินกิจกรรมเพื่อสะสมดาว 5 ธ.ค. 62 หยดุ วนั คลา้ ยวนั พระบรมราชสมภพ 25 ก.ค. 62 1 ส.ค. 62 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิ 8 ส.ค. 62 พลอดุลยเดช(วนั พอ่ แห่งชาติ) 15 ส.ค. 62 22 ส.ค. 62 ดาเนินกิจกรรมเพอื่ สะสมดาว 12 ธ.ค. 62 นกั เรียนสืบคน้ ขอ้ มลู เพอื่ ทากิจกรรมเด่น 29 ส.ค. 62 5 ก.ย. 62 ดาเนินกิจกรรมเพ่อื สะสมดาว 19 ธ.ค. 62 นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอเคา้ โครง 12 ก.ย. 62 19 ก.ย. 62 กิจกรรมเด่น 26 ก.ย. 62 3 ต.ค. 62 ดาเนินกิจกรรมเพอ่ื สะสมดาว 26 ธ.ค. 62 นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอเคา้ โครง กิจกรรมเด่น สอบกลางภาค 2 ม.ค. 63 หยดุ วนั ปี ใหม่ ดาเนินกิจกรรมเพอ่ื สะสมดาว 9 ม.ค. 63 สอบกลางภาค ดาเนินกิจกรรมเพอื่ สะสมดาว 16 ม.ค. 63 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอเคา้ โครง กิจกรรมเด่น ดาเนินกิจกรรมเพ่ือสะสมดาว 23 ม.ค. 63 นาเสนอกิจกรรมเด่น ดาเนินกิจกรรมเพือ่ สะสมดาว 30 ม.ค. 63 นาเสนอกิจกรรมเด่น ดาเนินกิจกรรมเพ่ือสะสมดาว 6 ก.พ. 63 นาเสนอกิจกรรมเด่น ดาเนินกิจกรรมเพอ่ื สะสมดาว 13 ก.พ. 63 นาเสนอกิจกรรมเด่น ดาเนินกิจกรรมเพื่อสะสมดาว 20 ก.พ. 63 สรุปสิ่งท่ีไดร้ ับจากการเรียนชุมนุม ดาเนินกิจกรรมเพือ่ สะสมดาว 27 ก.พ. 63 สรุปและประเมินการเรียนชุมนุม ประเมินการเรียนชุมนุม 5 ม.ี ค. 63 ประเมินการเรียนชุมนุม สอบปลายภาค 12 ม.ี ค. 63 สอบปลายภาค

9 ภาพรวมกจิ กรรมชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ กจิ กรรมท่ี 2  งานในอาชีพของนักดาราศาสตร์ เป้าหมายของกิจกรรม : ทาความรู้จกั กบั งานของดาราศาสตร์ สมาชิกในชุมนุมดาราศาสตร์ไดศ้ ึกษาเก่ียวกบั อาชีพของนกั ดาราศาสตร์ในประเทศไทย ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เป็ น นกั วชิ าการ และอาจารย์ ในสถาบนั ระดบั อดุ มศึกษา หรือมหาวทิ ยาลยั โดยมีภารกิจเก่ียวขอ้ งดงั น้ี 1. บรรยาย สอน เผยแพร่ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงเก่ียวกบั ดาราศาสตร์ อวกาศ สภาพอวกาศ 2. ศึกษา คน้ ควา้ วางแผนการวจิ ยั และการเตรียมการสงั เกตการณ์ระดบั ชาติ 3. จดั ประชุมสมั มนาทางดาราศาสตร์ ในเรื่องการเรียนการสอน และการวจิ ยั ทางดา้ นดาราศาสตร์ 4. ใชเ้ ทคโนโลยชี ้นั สูงในการปรบั ปรุงสารสนเทศทางดา้ นดาราศาสตร์ 5. ประสานความร่วมมือทางดา้ นวชิ าการเก่ียวกบั การใชข้ อ้ มูลทางดาราศาสตร์ร่วมกนั กบั หน่วยงานต่างๆ 6. จดั ทาหลกั สูตรหรือกิจกรรม ร่วมมือกบั หน่วยงานภาคเอกชน สมาคมดาราศาสตร์ หรือชมรมดาราศาสตร์ของ จงั หวดั ต่างๆ ที่มีนกั วชิ าการหรืออาจารยส์ อนดา้ นดาราศาสตร์ประจาอยู่ เพือ่ อธิบายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ กจิ กรรมท่ี 3  คาศัพท์ทางดาราศาสตร์ เป้าหมายของกิจกรรม : เรียนรู้คาศพั ทท์ างดาราศาสตร์ สมาชิกของชุมนุมที่สนใจในดา้ นภาษาต่างประเทศ ไดร้ ่วมกนั ศึกษา หาคาศพั ทเ์ ก่ียวกบั วชิ าดาราศาสตร์ และ คดั เลือกคาท่ีตนเองสนใจ คนละ 20 คา และหาความหมายของคาศพั ทเ์ หล่าน้นั จากส่ือและแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ เช่น หนงั สือ เรียนหอ้ งสมดุ โรงเรียน และทางอินเตอร์เน็ต เพิม่ เติม เม่ือคน้ หาขอ้ มูลมาเรียบร้อยผจู้ ดั ทาและสมาชิกไดน้ าคาศพั ทท์ ่ีเก่ียวกบั ดาราศาสตร์ มาเลน่ เกมบตั รคาทาย คาศพั ทด์ าราศาสตร์กบั เพือ่ นในชมุ นุม เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้อยา่ งสนุกสนาน กจิ กรรมที่ 12  สร้างแอสโตรแลป เป้าหมายของกิจกรรม : เสริมสร้างประสบการณ์ตรงในการสร้างและใชง้ านแอสโตรแลป แอสโตรเเลป คือเครื่องมือที่ใชว้ ดั มมุ เงยและมุมราบ ส่วนใหญใ่ ชใ้ นการวดั ตาแหน่งดวงดาวตา่ ง ๆ เช่น ดาวเหนือ ทามมุ กบั เสน้ ขอบฟ้ากี่องศา แอสโตรแลปเป็นที่ประดิษฐข์ ้ึนเพ่อื บอกตาแหน่งวตั ถดุ ว้ ยคา่ 2 คา่ คือ มมุ ทิศ (Azimuth) และ มุมเงย (Altitude) เราสามารถวดั มุมทิศและมมุ เงยไดด้ งั น้ี การวดั มุมทิศ : มุมทิศเป็ นมมุ ที่บอกทิศ โดยเริ่มวดั จากจุดทิศเหนือไปตามเสน้ ขอบฟ้าทางตะวนั ออก จนกระทง่ั กลบั มาที่จุดทิศเหนือ การวดั มุมเงย : มมุ เงยเป็ นมุมที่วดั จากเสน้ ขอบฟ้าข้ึนไปตามเสน้ วงกลมด่ิงจนถึงจุดเหนือศีรษะ แลเเพอื่ ความเขา้ ใจในการวดั มมุ ทิศและมุมเงย มากยง่ิ ข้ึน ผจู้ ดั ทาและสมาชิกในชุมนุมศึกษาวธิ ีการสร้างแอสโตรแลปโดย สืบคน้ ขอ้ มลู การสร้างแอสโตรแลปในอินเทอร์เน็ต ซ่ึงครูที่ปรึกษาชุมนุมไดใ้ หค้ าแนะนาการสร้างและใชง้ านแอสโตรแลป เม่ือสร้างแอสโตรแลปเสร็จครูท่ีปรึกษาชุมนุมใหน้ กั เรียนฝึ กใชง้ านแอสโตรแลปโดยการสงั เกตวตั ถุที่สงั เกตไดโ้ รงเรียน พร้อมบอกตาแหน่งมมุ ทิศ และมมุ เงยที่วดั ได้

10 กจิ กรรมท่ี 18  เงาจากดวงอาทติ ย์ เป้าหมายของกิจกรรม : ศึกษาการเคล่ือนที่ของเงาจากไมป้ ักในเวลาตา่ ง ๆ เทียบกบั การโคจรของดวงอาทิตยบ์ น ทอ้ งฟ้า ผจู้ ดั ทาและสมาชิกในชุมนุมบางส่วน มีความสนใจเก่ียวกบั เงาท่ีปรากฏในแตล่ ะช่วงเวลาของวนั และไดป้ รึกษา คุณครูท่ีปรึกษา โดยไดร้ ับคาแนะนา ใหน้ าไมจ้ ิ้มฟันปักลงไปบนกระดาษขาวท่ีมีแผน่ โฟมรองอยดู่ า้ นลา่ ง แลว้ ใหน้ าไปวาง ไวก้ ลางแจง้ ในช่วงเวลา 09.00 น. – 15.00 น. โดยทาการสงั เกตทุกๆ 5 นาที ใชด้ ินสอ ทาเครื่องหมายที่ปลายของเงาไมจ้ ิ้ม ฟัน แลว้ นาภาพที่ไดจ้ ากการสงั เกตเงาน้นั มานาเสนอตอ่ สมาชิกในชุมนุม แลว้ ร่วมกนั อภิปรายวา่ เพราะเหตใุ ด เงาท่ีปรากฏ และทาเคร่ืองไวน้ ้นั จึงไม่เป็นวงกลม กจิ กรรมท่ี 26  นิทานดาว เป้าหมายของกิจกรรม : สนุกกบั การเรียนรู้ดาราศาสตร์ผา่ นนิทานดาว สมาชิกในชุมนุมที่มีความสนใจเก่ียวกบั นิทาน ไดต้ กลงกนั ใหแ้ ตล่ ะคนไปสอบถามเรื่องเลา่ เก่ียวกบั ดวงดาว ดวง จนั ทร์ หรือกลมุ่ ดาวตา่ งๆ จาก พอ่ แม่ หรือญาติผใู้ หญท่ ี่เคารพนบั ถือคนละ 2 เร่ือง แลว้ นามาเล่าใหเ้ พือ่ น ๆ ฟัง จากน้นั ครู ใหน้ กั เรียนในชุมนุมวาดภาพนิทานท่ีไดฟ้ ังมา เพ่ือใหเ้ กิดความสนุกสนานและเสริมสร้างจินตนาการจากเร่ืองท่ีไดฟ้ ัง กจิ กรรมท่ี 27  การสังเกตผวิ ของดวงจนั ทร์ เป้าหมายของกิจกรรม สงั เกตผวิ ของดวงจนั ทร์ดว้ ยตนเอง ผจู้ ดั ทาและสมาชิกในชุมนุมบางส่วน มีความสนใจเก่ียวกบั การสงั เกตผวิ ของดวงจนั ทร์ และไดป้ รึกษาคุณครูที่ ปรึกษา โดยไดร้ บั คาแนะนา ใหน้ กั เรียนไปสงั เกตผวิ ดวงจนั ทร์ในคืนวนั เพญ็ ดว้ ยตาเปลา่ แลว้ วาดรูปแสดงรายละเอียดผิว ดวงจนั ทร์ท่ีมองเห็นไดม้ าเล่าถึงความรู้สึกที่เกิดข้ึนขณะท่ีสงั เกตผิวดวงจนั ทร์ ใหส้ มาชิกในชุมนุมฟัง แลว้ ร่วมกนั อภิปราย วา่ เพราะเหตุใด ผิวดวงจนั ทร์ท่ีสงั เกตไดจ้ ึงเป็ นเช่นน้นั เพื่อใหก้ ารสงั เกตผวิ ดวงจนั ทร์สงั เกตไดช้ ดั เจนยง่ิ ข้ึน ครูท่ีปรึกษา นาภาพแสดงผิวดวงจนั ทร์วนั พญ็ อธิบายประกอบเพ่ือใหน้ กั เรียนเห็นภาพไดช้ ดั เจนยงิ่ ข่ึน กจิ กรรมท่ี 31  ดาวหาง เป้าหมายของกิจกรรม : ศึกษาดาวหาง และองคป์ ระกอบของดาวหาง โครงสร้างของดาวหาง ดาวหาง บริวารขนาดเลก็ ของดวงอาทิตย์ ท่ีประกอบไปดว้ ยสารประกอบระเหิดง่ายใน สภาพเยอื กแขง็ และฝ่ นุ ทาใหถ้ ูกเรียกวา่ “กอ้ น น้าแขง็ สกปรก” (Dirty snowball) เป็ นเศษซาก น้าแขง็ ที่หลงเหลือจากการกาเนิดดาวเคราะห์ เม่ือประมาณ4.5 พนั ลา้ นปี ท่ีแลว้ เป็ นวตั ถทุ ่ีมา จากตาแหน่งท่ีเลยวงโคจรของดาวพลูโต ออกไป และใชเ้ วลาหลายปี ในการโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ เมื่อเขา้ มาในระบบสุริยะช้นั ในจะ ปรากฎเป็ นดาวสวา่ งท่ีมีหางพาดผา่ นทอ้ งฟ้าใน ยามค่าคืน

11 ดาวหางท่ีปรากฎบนทอ้ งฟ้ามีส่วนประกอบสาคญั คือ 1. นิวเคลียส (Nucleus) คือ ใจกลางของดาวหาง เป็ นของแขง็ ขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางหลาย กิโลเมตร ซ่ึงไมส่ ามารถ สงั เกตเห็นได้ แมจ้ ะสงั เกตผา่ นกลอ้ งโทรทรรศนท์ ี่มีขนาดใหญท่ ี่สุดเน่ืองจาก ดาวหางสวนใหญ่อยไู่ กลจากดวงอาทิตย์ และโลกมาก 2. โคมา (Coma) คือ ช้นั ท่ีห่อหุม้ นิวเคลียส ปรากฏข้ึนตอนท่ีดาวหางเคล่ือนที่เขา้ ใกลร้ ะบบสุริยะ โคมาซ่ึง ประกอบดว้ ยฝ่ นุ และแก๊ส จะพงุ่ ออกมาเมื่อไดร้ ับรังสีจากดวงอาทิตย์ กจิ กรรมท่ี 33  ปรากฎการณ์แสงโลก เป้าหมายของกิจกรรม : ทาความรู้จกั กบั ปรากฎการณ์แสงโลก ปรากฏการณ์แสงโลก (องั กฤษ: earthshine) เป็ น ปรากฎการณ์ท่ีเกิดจากแสงอาทิตยส์ ะทอ้ นกบั ผิวโลกไปยงั ดวงจนั ทร์ และสะทอ้ นกลบั มายงั ผสู้ งั เกตบนโลกอีกต่อหน่ึง ทาใหผ้ สู้ งั เกตบนโลกเห็นแสงจาง ๆ จากดา้ นกลางคืนของ ดวงจนั ทร์ ปรากฏการณ์น้ีจะสงั เกตไดด้ ีในช่วงวนั ข้ึน 1–3 ค่า หรือ แรม 12–14 ค่า ซ่ึงเป็นช่วงจนั ทร์ดบั เม่ือสงั เกตจาก โลกจะเห็นดวงจนั ทร์มืดมิด แตห่ ากสงั เกตจากดวงจนั ทร์ จะ แสงโลกเมื่อมองจากกลอ้ งโทรทรรศน์ ดา้ นสวา่ งเกิดจาก เห็นวา่ โลกมีแสงสวา่ ง การเกิดแสงโลกน้ีจะทาใหเ้ ห็นพ้ืนผิว แสงอาทิตยโ์ ดยตรง แต่ส่วนที่เหลือของดวงจนั ทร์เกิด ดวงจนั ทร์ไดเ้ กือบท้งั หมด จากแสงอาทิตยท์ ี่สะทอ้ นมาจากผวิ โลก กจิ กรรมที่ 34  ปรากฎการณ์จนั ทรุปราคาเตม็ ดวง เป้าหมายของกิจกรรม : ทาความรู้จกั กบั ปรากฎการณ์จนั ทรุปราคาเตม็ ดวง ภาพแสดงตาแหน่งของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์ ขณะเกิดปรากฏการณ์จนั ทรุปราคา ที่มา http://thaiastro.nectec.or.th/skyevnt/uploads/2018/media-3170-5a6fde4007aa0.png ปรากฏการณ์จนั ทรุปราคา และปรากฏการณ์สุริยปุ ราคาน้นั มีหลกั การเกิดคลา้ ยๆ กนั ก็คือ เกิดจากการที่ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์เรียงอยใู่ นแนวระนาบเดียวกนั พอดี โดยปรากฏการณ์จนั ทรุปราคาน้นั โลกจะอยตู่ รงกลางระหวา่ ง ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ ซ่ึงปรากฏการณ์จนั ทรุปราคาจะเกิดในช่วงที่ดวงจนั ทร์เตม็ ดวง โดยปรากฏการณ์จนั ทรุปราคา เกิดข้ึนขณะท่ีดวงจนั ทร์เคลื่อนที่ผา่ นเขา้ ไปในเงาของโลก และเมื่อดวงจนั ทร์โคจรผา่ นเขา้ ไปในเงามืดของโลกแลว้ ดวงจนั ทร์จะคอ่ ยๆ แหวง่ ไปทีละนอ้ ยจนมืดท้งั ดวง และเร่ิมโผลอ่ กี คร้ังเมื่อดวงจนั ทร์เคลื่อนท่ีผา่ นพน้ ออกมาจากเงา ของโลก

12 กจิ กรรมที่ 37  ผลงานของพระบิดาแห่งวทิ ยาศาสตร์ไทย เป้าหมายของกิจกรรม : ศึกษาผลงานของพระบิดาแห่งวทิ ยาศาสตร์ไทยอยา่ งละเอียด พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเป็ นนกั ดาราศาสตร์ไทย ผยู้ ง่ิ ใหญท่ รงการคานวณการเกิดสุริยปุ ราคาเตม็ ดวงไดอ้ ยา่ งแมน่ ยาใน วนั ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ล่วงหนา้ 2 ปี และไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนิน พร้อมเซอร์ แอร์รี่ ออร์ด เจา้ เมืองสิงคโปร์ คณะทูตานุทูต นกั วทิ ยาศาสตร์ ฝรั่งเศส แขกตา่ งประเทศอื่นที่ทรงเชิญมา และขา้ ราชบริพารไทย ทอดพระเนตรสุริยปุ ราคาคร้ังน้นั ปรากฏการณ์ดงั กลา่ วเกิดข้ึนตรงตามท่ี พระองคท์ รงคานวณไวท้ ุกประการ พระอจั ฉริยภาพของพระองคเ์ ป็ นที่ เล่ืองลือ ขจรขจายปวงชนชาวไทยถวายพระราชสมญั ญานามทรง เป็ น \"พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย\" และเป็ นที่มาของการสร้างอุทยาน วทิ ยาศาสตร์ พระจอมเกลา้ ณ ตาบลหวา้ กอ จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ เป็น พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั อนุสรณ์สถานแด่พระองค์ ในปัจจุบนั น้ี ประชาคมดาราศาสตร์ในระดบั สากลที่ศึกษาดา้ น สุริยปุ ราคา ยกยอ่ งพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ดว้ ยการกลา่ วถึง สุริยปุ ราคาเตม็ ดวงเมอ่ื ปี ค.ศ. 1868 วา่ เป็ น \"King of Siam's Eclipse\" กจิ กรรมที่ 38  การใช้แผนทด่ี าว เป้าหมายของกิจกรรม : ฝึ กการใชแ้ ผนท่ีดาว สมาชิกในชุมนุมและผจู้ ดั ทาร่วมกนั ประดิษฐ์ แผนที่ดาวอยา่ งง่าย โดยพิมพแ์ บบจากเวบ็ ไซตใ์ นอินเตอร์เน็ต แลว้ นามาตดั และประกอบแผนที่ดาว แลว้ ฝึ กใชจ้ นเกิดความชานาญโดยศึกษาวธิ ีใชจ้ ากอินเตอร์เน็ต และปรึกษาคุณครูที่ ปรึกษา แลว้ จึงไดน้ าแผนท่ีดาวไปใชป้ ระกอบการสงั เกตดวงดาวจริงในทอ้ งฟ้า บนั ทึกผลที่ไดจ้ ากการสงั เก แลว้ นาขอ้ มลู ท่ี ไดม้ าร่วมกนั อภิปรายแลกเปล่ียนขอ้ คดิ เห็นซ่ึงกนั และนาความรู้ไปใชใ้ นการทากิจกรรมน้ีไปแนะนานอ้ ง ๆ ช้นั ประถมที่อยู่ ใกล้ ๆ บา้ นทาใหน้ อ้ งๆ เกิดความสนุกสนาน และมีความรู้ใหม่ ๆ ในการดูดาวบนทอ้ งฟ้า

13 กจิ กรรมเด่นเร่ือง “การศึกษากลไกการเกดิ หลมุ อุกกาบาต” 1. ทม่ี าและความสาคญั ในปัจจบุ นั ขา่ วสารมากมายเกี่ยวกบั วตั ถใุ นอวกาศหรืออุกกาบาตพงุ่ ชนโลก ซ่ึงสร้างความเสียหายเป็นอยา่ งมากต่อ ประเทศน้นั ๆ เช่น ประเทศรัสเซีย สหรัฐอเมริกา อาร์เจนจินา กอ้ นหินจากอวกาศที่ตกลงบนพ้ืนโลกซ่ึงเราเรียกวา่ อกุ กาบาตน้นั เป็นชิ้นส่วนของวตั ถใุ นระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์นอ้ ย ดาวหาง ดวงจนั ทร์ และดาวเคราะห์ อุกกาบาต เหลา่ น้ีช่วยนกั วทิ ยาศาสตร์ในการศึกษาการก่อกาเนิดและความเป็นมาของระบบสุริยะท่ีเราอยู่ อาจแบ่งประเภทของ อุกกาบาตที่พบไดเ้ ป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ อกุ กาบาตหิน อกุ กาบาตเหลก็ และอกุ กาบาตเหลก็ ปนหิน สาหรับประเทศไทย มีรายงานการคน้ พบกอ้ นอกุ กาบาตที่ไดร้ ับการยนื ยนั วา่ เป็ นของจริงบนั ทึกไว้ 3 คร้ัง ไดแ้ ก่ อุกกาบาต นครปฐม (2466) อุกกาบาตเชียงคาน (2524) และอกุ กาบาตบา้ นร่องดู่ (2536) หลมุ อุกกาบาต คือร่องรอยพ้ืนผิวของดาวเคราะห์ที่อกุ กาบาตขนาดใหญพ่ งุ่ ชนอยา่ งรุนแรง ทาใหเ้ ป็นรอยหลุม อุกกาบาตขนาดต้งั แต่หน่ึงเมตรถงึ หน่ึงพนั กิโลเมตร หลุมอกุ กาบาตมีท้งั แบบที่เป็นหลุมเรียบๆ และเป็ นแบบที่ก่อตวั แบบ ซบั ซอ้ นคลา้ ยกบั ที่เราหยดบางอยา่ งลงไปในน้ากจ็ ะไดค้ ลื่นเป็ นวงของน้าโดยตรงกลางยกตวั สูงข้ึนโดยคลา้ ยถว้ ยท่ีควา่ เอา กน้ ข้ึนและเม่ือพงุ่ ชนกอ้ นอุกกาบาตก็จะหลอมกลายเป็นไอกระจายอยทู่ วั่ ไปเราจึงมองเห็นแตห่ ลุมเปลา่ ๆ อุกกาบาตเป็ น แอง่ ขนาดใหญบ่ นพ้นื ดิน มีลกั ษณะคลา้ ยกนั ถว้ ย มีขอบเป็นลกั ษณะค่อนขา้ งกลม เกิดจากที่อกุ กาบาตตกลงสู่ผนื โลกดว้ ย ความเร็วสูง ในความเป็นจริงแลว้ อุกกาบาตมีโอกาสตกลงสู่ผวิ โลกทุกส่วนดว้ ยโอกาสใกลเ้ คียงกนั อกุ กาบาตมากกวา่ สอง ในสามตกลงในมหาสมทุ ร แตเ่ รากลบั พบวา่ หลมุ อกุ กาบาตไดม้ ากในบริเวณที่ห่างไกลชุมชน และมีสภาพอากาศแหง้ แลว้ ท้งั น้ีเน่ืองจาการกดั เซาะ หรือถกู ทบั ถมโดยสภาพอากาศและปรากฎการณ์ทางธรณีวทิ ยา ทาใหห้ ลุมอกุ กาบาตจานวนมาก ค่อย ๆ เลือนหายไปตามกาลเวลา เหลือไวแ้ ตเ่ พยี งหลุมอุกกาบาตขนาดใหญใ่ นทะเลทรายที่แหง้ แลง้ เช่นหลมุ อกุ กาบาตแบ ริเจอร์ ในมลรัฐอริโซนา ดงั น้นั ชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม จึงร่วมกนั ทากิจกรรมเด่น เรื่อง การศึกษากลไก การเกิดหลมุ อุกกาบาต โดยทาการศึกษาขอ้ มูลการเกิดหลมุ อุกกาบาต ทดลองหาปัจจยั ท่ีอาจจะส่งผลตอ่ รูปร่างและขนาด ของหลุมอุกกาบาต 2. การดาเนินกจิ กรรม อุปกรณ์การทดลอง 1. กระบะใส่ทราย 2. ทราย 3. พ้ืนเอียง 4. ไมเ้ มตร 5. คร่ึงวงกลม 6. ลูกเหลก็ ขนาดตา่ งกนั แทนลูกอกุ กาบาต 7. ลูกแกว้ ขนาดตา่ งกนั 8. เครื่องชงั่ ดิจิตอล 9. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

14 การทดลอง ตอนท่ี 1 การหามุมตกกระทบ จดุ ประสงค์ 1. เพ่ือเขา้ ใจในกลไกการเกิดหลมุ อกุ กาบาต 2. เพื่อหาปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ ง และปัจจยั ท่ีไมเ่ ก่ียวขอ้ งต่อสภาพทางกายภาพของหลมุ อุกกาบาตที่เกิดข้ึน วธิ ีการทดลอง 1. นาลูกเหลก็ ชง่ั เพ่อื หามวล 2. ทาการวดั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางมวลลูกเหลก็ 3. ทดลองปล่อยลูกเหลก็ ลงในกระบะทรายดว้ ยมมุ ตกกระทบต่าง ๆ เพือ่ สงั เกตรูปร่างของหลมุ ที่เกิดข้ึน 4. ทาการวดั ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของปากหลมุ และความลึกของหลมุ บนั ทึกผลลงในตารางบนั ทึกผลการ ทดลอง 5. สงั เกตลกั ษณะรูปร่างของหลมุ ที่ปลอ่ ยตามขนาดมุมตกกระทบตา่ ง ๆ แลว้ วเิ คราะห์วา่ รูปร่างของหลุมข้ึนอยู่ กบั มุมตกระทบของลกู เหลก็ หรือไม่ ผลการทดลองตอนที่ 1 มุมตกกระทบ - ขนาดมวล.....................................18.80.........................g - เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของมวล.........1.42...........................cm - ความสูงท่ีปลอ่ ยมวลลกู เหลก็ .......1...............................cm มมุ ตกกระทบ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหลมุ อกุ กาบาต (cm) ความลกึ ของหลมุ อุกกาบาต (cm) คร้ังที่ 1 คร้ังท่ี 2 คร้ังที่ 3 ค่าเฉลยี่ คร้ังที่ 1 คร้ังท่ี 2 คร้ังท่ี 3 ค่าเฉลย่ี 30๐ 4.07 4.02 4.01 4.03 1.44 1.56 1.47 1.49 45๐ 4.43 4.42 3.95 4.27 1.50 1.48 1.44 1.47 60๐ 4.23 3.93 4.06 4.07 1.54 1.43 156 1.51 90๐ 4.03 4.54 4.33 4.30 1.68 1.69 1.63 1.67 สรุปผลการทดลอง จากการทดลอง พบวา่ รูปร่างท่ีเกิดข้ึนจากการเปล่ียนมุมตกกระทบตา่ ง ๆ มีลกั ษณะรูปร่างคลา้ ยกนั มีขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของหลุมอกุ กาบาตใกลเ้ คียงกนั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของหลุมอุกกาบาตมากที่สุดมีคา่ เฉล่ีย 4.30 เซนติเมตร คือมุมตกกระทบ 90๐ และขนาดความลึกของหลุมอกุ กาบาตมากท่ีสุดมีค่าเฉลี่ย 1.67 เซนติเมตร คือ มุมตก กระทบ 90๐ ซ่ึงขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของหลมุ อกุ กาบาตและความลึกของหลมุ อุกกาบาตจะแปรผนั ตามขนาดมุมตก กระทบท่ีเพมิ่ ข้ึน ดงั น้นั จึงสรุปไดว้ า่ รูปร่างและขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของหลมุ อกุ กาบาตไม่ข้ึนอยกู่ บั มุมตกกระทบ ตอนท่ี 2 รูปร่างของอกุ กาบาต จุดประสงค์ 1. เพอ่ื เขา้ ใจในกลไกการเกิดหลมุ อกุ กาบาต 2. เพื่อหาปัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง และปัจจยั ท่ีไม่เก่ียวขอ้ งต่อสภาพทางกายภาพของหลุมอกุ กาบาตท่ีเกิดข้ึน

15 วธิ ีการทดลอง 1. นาลูกเหลก็ ชง่ั เพอ่ื หามวล 2. ทาการวดั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของมวล ขนาดมวลตา่ งกนั 3 ลกู 3. ทดลองปลอ่ ยลูกเหลก็ ลงในกระบะทรายดว้ ยความสูงเท่ากนั 4. ทาการวดั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของปากหลมุ และความลึกของหลมุ บนั ทึกผลลงในตารางบนั ทึกผลการ ทดลอง 5. สงั เกตลกั ษณะรูปร่างของหลุมอกุ กาบาตท่ีปล่อยตกในระดบั ความสูงเดียวกนั แต่ขนาดมวลตา่ งกนั วา่ มีผลต่อ รูปร่างและขนาดของหลุมอกุ กาบาตหรือไม่ 6. คานวณหาความเร็วตกกระทบ(คานวณจากความสูงที่ปล่อยลูกเหลก็ จนถึงกระบะทราย) ผลการทดลองตอนที่ 2 รูปร่างของอกุ กาบาต - ความสูงที่ปลอ่ ยมวลลกู เหลก็ ...........................1........m มวล รูปร่าง และ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหลมุ ความลกึ ของหลมุ อุกกาบาต (cm) ความเร็วตกกระทบ (g) ขนาดเส้นผ่าน อุกกาบาต (cm) (คานวณจากความสูง) ศูนย์กลางมวล คร้ังท่ี 1 คร้ังท่ี 2 คร้ังท่ี 3 ค่าเฉลย่ี คร้ังท่ี 1 คร้ังท่ี 2 คร้ังท่ี 3 ค่าเฉลยี่ v2 = 2gh (cm) 4.00 กลม 2.42 cm 3.42 3.83 3.80 3.68 1.03 1.19 1.25 1.16 4.43 m/s 18.80 กลม 1.42 cm 4.03 4.54 4.33 4.30 1.68 1.69 1.63 1.67 4.43 m/s 22.00 กลม 2.67 cm 5.90 5.90 6.13 5.97 2.03 1.85 1.89 1.92 4.43 m/s สรุปผลการทดลอง จากการทดลอง พบวา่ รูปร่างที่เกิดข้ึนจากการเปล่ียนมวลลกู เหลก็ ขนาดตา่ ง ๆ มีลกั ษณะรูปร่างกลมคลา้ ยกนั โดย ขนาดของมวลที่ใกลเ้ คียงกนั เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของหลมุ อกุ กาบาตท่ีเกิดข้ึนจะใกลเ้ คียงกนั และความลึกของหลุมอุกกาบาต ใกลเ้ คียงกนั ซ่ึงขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของหลุมอกุ กาบาตและความลึกของหลุมอุกกาบาตจะแปรผนั ตามมวลที่เพมิ่ ข้ึน ตอนที่ 3 ทดลองหาตวั แปรทเ่ี หมาะสม จดุ ประสงค์ 1. เพือ่ เขา้ ใจในกลไกการเกิดหลุมอกุ กาบาต 2. เพือ่ หาปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ ง และปัจจยั ท่ีไม่เก่ียวขอ้ งต่อสภาพทางกายภาพของหลุมอกุ กาบาตที่เกิดข้ึน 3. ออกแบบการทดลองปล่อยอกุ กาบาตท่ีมีมวล ขนาด และความหนาแน่นต่างกนั ดว้ ยความสูงท่ีต่างกนั เพ่ือ หาปัจจยั ท่ีมผี ลต่อขนาดของหลุมอุกกาบาตท่ีเกิดข้ึน วธิ ีการทดลอง 1. ชง่ั ลกู กลมเหลก็ ขนาด 18.80 กรัม ลกู แกว้ ขนาด 22 กรัม และลูกกลมพลาสติกขนาด 4 กรัม 2. ทาการวดั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของมวล 3. ทดลองปลอ่ ยลกู เหลก็ ลงในกระบะทรายดว้ ยความสูงตา่ งกนั ในระดบั ความสูง 1 เมตร และ 2 เมตร

16 4. ทาการวดั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของปากหลุมและความลึกของหลมุ บนั ทึกผลลงในตารางบนั ทึกผลการ ทดลอง 5. สงั เกตลกั ษณะรูปร่างของหลุมอุกกาบาตที่ปลอ่ ยตกในระดบั ความสูงต่างกนั ขนาดมวลตา่ งกนั วา่ มีผลต่อ รูปร่างและขนาดของหลุมอกุ กาบาตหรือไม่ 6. คานวณหาความเร็วตกกระทบ(คานวณจากความสูงที่ปล่อยลูกเหลก็ จนถึงกระบะทราย) 7. คานวณหาขนาดของโมเมนตมั และพลงั งานจลนท์ ี่เกิดข้ึน เพอ่ื หาปัจจยั ท่ีมผี ลต่อขนาดของหลมุ อุกกาบาต มากที่สุดในตารางท่ี 4 ผลการทดลองตอนที่ 3 ทดลองหาตวั แปรทเี่ หมาะสม มวล รูปร่างและขนาด ความสูงท่ี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของ ความลกึ ของหลุมอุกกาบาต ความเร็วตกกระทบ (g) เส้นผ่าน ปล่อยมวล หลมุ อุกกาบาต (cm) (cm) (คานวณจากความสูง) ศูนย์กลางมวล (m) คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 3 ค่าเฉลย่ี คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังท่ี 3 ค่าเฉลย่ี v2 = 2gh (cm) 4.00 กลม 2.42 cm 1 m 3.42 3.83 3.80 3.68 1.03 1.19 1.25 1.16 4.43 m/s 4.00 กลม 2.42 cm 2 m 4.54 4.42 4.29 4.42 1.39 1.34 1.66 1.46 6.26 m/s 18.80 กลม 1.42 cm 1 m 4.03 4.54 4.33 4.30 1.68 1.69 1.63 1.67 4.43 m/s 18.80 กลม 1.42 cm 2 m 5.15 5.17 5.55 5.29 2.15 2.29 2.32 2.25 6.26 m/s 22.00 กลม 2.67 cm 1 m 5.90 5.90 6.13 5.97 2.03 1.85 1.89 1.92 4.43 m/s 22.00 กลม 2.67 cm 2 m 7.15 8.04 7.44 7.54 2.39 2.00 1.95 2.11 6.26 m/s สรุปผลการทดลอง จากการทดลอง พบวา่ รูปร่างหลมุ อกุ กาบาตที่เกิดข้นึ เมื่อเปล่ียนมวลขนาดตา่ ง ๆ มีลกั ษณะรูปร่างกลมคลา้ ยกนั ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของหลุมอุกกาบาตและ ขนาดความลึกของหลมุ อุกกาบาตจะมากข้นึ เมื่อมวลเพม่ิ ข้ึน เม่ือปล่อย อุกกาบาตท่ีระดบั ความสูงเพม่ิ ข้นึ ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของหลมุ อกุ กาบาตและ ขนาดความลึกของหลุมอุกกาบาตจะมาก ข้ึนดว้ ย เม่ือพิจารณาความเร็วตกกระทบจะพบวา่ ความเร็วตกกระทบจะแปรผนั ตามความสูงท่ีเพ่มิ ข้ึน ขนาดความ หนาแน่นของมวลไมม่ ีผลต่อขนาดและรูปร่างของหลุมอกุ กาบาต ตารางท่ี 4 หาปัจจยั ทเ่ี ป็ นตวั แปรทส่ี ่งผลต่อขนาดของหลมุ อกุ กาบาตมากทสี่ ุด มวล (m) โมเมนตมั ( P  mv ) พลงั งานจลน์ ( Ek  1 )2 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 หลุมอกุ กกาบาต 4.00 17.72 mv 3.68 cm 4.00 25.04 4.42 cm 18.80 83.28 39.25 4.30 cm 18.80 117.69 78.38 5.29 cm 22.00 97.46 184.47 5.97 cm 22.00 137.72 368.36 7.54 cm 215.87 431.06

17 สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองเม่ือนามวลอกุ กาบาตคานวณหาขนาดโมเมนตมั และพลงั งานจลน์ที่เกิดข้ึนจากการปลอ่ ย อกุ กาบาตใหต้ กกระทบพ้ืนทรายที่ระดบั ความสูงต่างกนั และขนาดมวลต่างกนั พบวา่ โมเมนตมั เป็นปัจจยั ที่มีผลตอ่ ขนาด ของหลุมอุกกาบาตมากท่ีสุดรองลงมาจะเป็ นพลงั งานจลนท์ ่ีเกิดข้ึนจากการปลอ่ ยอกุ กาบาตตกกระทบพ้ืนทราย 3. สรุปผลการดาเนินกจิ กรรม จากการศึกษากลไกการเกิดหลมุ อุกกาบาตท่ีมุมตกกระทบ 30๐, 45๐ , 60๐ และ 90๐ พบวา่ ท่ีมมุ ตกกระทบต่าง ๆ รูปร่างหลมุ อกุ กาบาตมีลกั ษณะคลา้ ยกนั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของหลมุ อุกกาบาตและ ความลึกของหลมุ อุกกาบาตที่ เกิดข้ึน มีขนาดใกลเ้ คียงกนั เมื่อเปลี่ยนขนาดมวลอุกกาบาตตกกระทบจะพบวา่ ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของหลมุ และ ความลึกของหลมุ อุกกาบาตท่ีเกิดข้ึนจะแปรผนั ตามมวลที่เพมิ่ ข้ึน ดงั น้นั มมุ ตกกระทบไมเ่ ก่ียวขอ้ งตอ่ สภาพทางกายภาพ ของหลมุ อุกกาบาตที่เกิดข้ึน ผลการศึกษาตวั แปรที่เหมาะสมที่เกี่ยวขอ้ งตอ่ สภาพทางกายภาพของหลมุ อุกกาบาตที่เกิดข้ึน พบวา่ รูปร่างหลุม อุกกาบาตที่เกิดข้ึนมีลกั ษณะรูปร่างกลมคลา้ ยกนั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของหลมุ อุกกาบาตและความลึกของหลมุ อุกกาบาตจะเพ่มิ ข้ึนตามตามสูงที่เพม่ิ ข้ึน ความเร็วตกกระทบจะแปรผนั ตรงตามความสูงที่เพม่ิ ข้ึนและความหนาแน่น ของมวลไมม่ ีผลต่อขนาดและรูปร่างของหลมุ อกุ กาบาต ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการทากจิ กรรมชุมนมุ นกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ นายณรงคเ์ ดช กองศรี เดก็ หญงิ แทนขวญั สุตะนนท์ และเดก็ หญิงพรพิมล ไทยลาวลั ย์ ตวั แทนชุมนุม นกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม ไดส้ รุปประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการทากิจกรรมชุมนุมนกั ดาราศาสตร์ รุ่นเยาว์ ดงั น้ี จาการทากิจกรรมยอ่ ยในชุมนุมทาใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ดาราศาสตร์เพ่ิมมาก ข้ึนผา่ นการทากิจกรรม อยา่ งหลากหลายในเร่ือง เงาจากดวงอาทิตย์ สร้างแอสโตรแลป นิทานดาว การสงั เกตผิวของดวงจนั ทร์ ดาวหาง ปรากฎการณ์แสงโลก ปรากฎการณ์จนั ทรุปราคาเตม็ ดวง ผลงานของพระบิดาแห่งวทิ ยาศาสตร์ไทย การใชแ้ ผนที่ดาว ซ่ึง กิจกรรมยอ่ ยท่ีไดล้ งมือทาส่งผลใหเ้ กิดความกระตือรือร้นที่จะคน้ ควา้ หาขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์ เกิดทกั ษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์และไดล้ งมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง ไดฝ้ ึ กการออกแบบการทดลอง มีความคิดริเริ่ม ออกแบบและประดิษฐอ์ ปุ กรณ์

18 อยา่ งสร้างสรรค์ มีการคน้ หาคาตอบ และหาวธิ ีการแกป้ ัญหาอยา่ ง ไดฝ้ ึ กการนาเสนอขอ้ มลู กลา้ คิดกลา้ แสดงออก มีความ มน่ั ใจในตนเองมากยงิ่ ข้นึ หลากหลาย มีการรับฟังความคิดเห็นจากผอู้ ่ืน แลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั ฝึ กการอยู่ ร่วมกบั ผอู้ ื่น และเป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ จากการทากิจกรรมเด่นในหวั ขอ้ โครงงาน เร่ืองการศึกษา กลไกการเกิดหลุมอุกกาบาต ทาใหส้ มาชิกในชุมนุมมี ความเขา้ ใจในกลไกการเกิดหลุมอกุ กาบาต ลกั ษณะของหลมุ อกุ กาบาตที่เกิดข้ึนจากการตกกระทบดว้ ยมุมตกกระทบต่าง ๆ ขนาดมวล และความสูงท่ีตกกระทบมีผลทาใหร้ ูปร่างและขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของหลมุ อกุ กาบาต และความลึกของ หลุมอุกกาบาตเปล่ียนแปลงไป นอกจากน้นั ยงั ไดท้ ราบถึงปัจจยั เกี่ยวขอ้ งและไม่ไดเ้ ก่ียวขอ้ งต่อสภาพทางกายภาพของหลุม อกุ กาบาตที่เพิม่ มากข้ึน มีความรู้และเขา้ ใจในการชนของอกุ กาบาต การเกิดโมเมนตมั และพลงั งานจลนท์ ่ีเกิดจากการชน ของอกุ กาบาตกบั พ้นื ทราย มีทกั ษะในการสงั เกต การวดั ระยะ และการแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนในการทดลอง เอกสารอ้างองิ ปรีชา สุวรรณพนิ ิจและคณะ. คู่มือเตรียมสอบ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ม.2. กรุงเทพ: ไฮเอด็ พบั ลิชชิ่ง จากดั ลิซา ไมลส์ และอลาสแตร์ สมิธ. 2551. ดาราศาสตร์และอวกาศ ฉบบั สมบูรณ์. พมิ พค์ ร้งั ที่ 16. นิพนธ์ ทรายเพชร, ผแู้ ปล. กรุงเทพฯ : นานมีบุค๊ ส์พบั ลิเคชน่ั ส์ สามารถ พงศไ์ พบูลยแ์ ละคณะ. คู่มือเตรียมสอบวทิ ยาศาสตร์ ม.2 โลกดาราศาสตร์และอวกาศ. กรุงเทพ: ไฮเอด็ พบั ลิชช่ิงจากดั http://old.narit.or.th/files/astronomy_media/2018/Booklet_Asteroid_2018.pdfhttps://www.nstda.or.th/th/vdo- nstda/science-day-techno/4023-impact-crater https://www.narit.or.th/ http://thaiastro.nectec.or.th/library/thaimeteorite/thaimeteorite.html

19 รายชื่อสมาชิกชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม ลาดบั ที่ ชื่อ-สกลุ ช้ัน 1 เดก็ ชายชยั กิตติวฒั น์ จนั ทรตุ ม.1/5 2 เด็กชายปรินธร หมวดศรี ม.1/5 3 เด็กหญิงสุกาญดา แสนบุญ ม.1/5 4 เดก็ ชายธนเดช โคตรมณี ม.2/5 5 เด็กชายกฤษฎาวฒุ ิ พรมใจ ม.2/5 6 เดก็ ชายจิราพชั ร อิติบุตรตา ม.2/5 7 เดก็ ชายโชติพงศ์ รักษาเมือง ม.2/5

8 เดก็ ชายชชั ชยั เชิดพานิช 20 9 เดก็ ชายศุภกิจ โชติมนตช์ ิตา ม.2/5 ม.2/5 10 เดก็ หญิงกิตติญา ขาวพา ม.2/5 ม.2/5 11 เดก็ หญิงปภาศิริ อดใจ ม.2/5 ม.2/5 12 เดก็ หญิงปราณปรียา เนียมไธสง ม.2/5 ม.2/5 13 เด็กหญิงพชั ราภา สิทธิวงษา ม.2/5 ม.2/5 14 เดก็ หญิงสุชานนั ท์ อสุ ่าห์ ม.2/5 ม.2/5 15 เดก็ หญิงสุชาวดี ปัตตะเน ม.2/7 ม.2/7 16 เดก็ หญิงบุญประอร ช่วยศรี ม.2/7 ม.2/7 17 เดก็ หญิงชนิภรณ์ รัตนา ม.2/7 ม.2/7 18 เดก็ หญิงณฐั ธิดา ศิลา ม.2/7 ม.2/7 19 เดก็ หญิงเกศราภรณ์ รัตนงั ม.2/7 ม.2/13 20 เดก็ ชายเกริกไกร ทบั สมบตั ิ ม.2/13 ม.2/13 21 เดก็ ชายธนาคิม ประวะเค ม.2/13 ช้ัน 22 เด็กหญิงชฎาภรณ์ เทนอิสสระ ม.2/13 ม.2/13 23 เด็กหญิงภชั รีย์ ลีรัตน์ ม.2/13 ม.2/13 24 เดก็ หญิงวรัญญา สถาพร ม.2/13 ม.2/13 25 เด็กหญิงสุชานนั ท์ ระเบียบโอษฐ์ ม.2/13 ม.2/13 26 เด็กหญิงสุธาวี ตอสกลุ ม.2/13 27 เด็กหญิงอชิรญา แสงจนั ทร์ 28 เด็กหญิงเอมอชั ฌา ดวงแสง 29 เดก็ หญิงอนิ ทิรา กระยอม 30 เด็กหญิงศศิธร โพยนอก 31 เด็กหญิงสุธิดา ลาน้าเท่ียง 32 เด็กหญิงรินลดา เรืองโอชา ลาดบั ท่ี ชื่อ-สกลุ 33 เด็กหญิงกณิชฐกญั ญ์ กลางนอก 34 เดก็ หญิงนภสั นนั ท์ หร่ีอินทร์ 35 เด็กหญิงพิมพช์ นก แกว้ นอ้ ย 36 เดก็ หญิงนนั ทิชา ช่วยนา 37 เด็กหญิงศิรินยาสินี จนั ทะดวง 38 เด็กหญิงอรุ ัสยา หาวนั 39 เด็กหญิงธญั ยธรณ์ เทนอิสระ 40 เด็กหญิงพลอยจุฑา ลุนดาพร 41 เด็กหญิงพรบุณยา คูณโปก

42 เด็กหญิงชนนั ยา ห่างไธสง 21 43 เดก็ หญิงเตชินี โฆสิตานนท์ 44 เดก็ หญิงปิ ยนุช ศรีวงแกว้ ม.2/13 45 เด็กหญิงณฐั กฤตา ทิพวงศ์ ม.2/13 46 นางสาวน้าฝน สมบูรณ์นอ้ ย ม.2/13 47 นางสาวภทั รธิดา ศรีวงชยั ม.3/4 48 นายณรงคเ์ ดช กองศรี ม.3/4 49 เด็กหญิงแทนขวญั สุตะนนท์ ม.3/4 50 เด็กหญิงพรพิมล ไทยลาวลั ย์ ม.3/9 51 นายธนกฤต จนั ดา ม.3/9 52 นายจาตุรนต์ วงษผ์ าบ ม.3/9 53 นายเกียรติศกั ด์ิ เมืองโพธ์ิ ม.5/5 54 นายเขมรัตน์ นาคลาภา ม.5/10 55 นางสาวชลธิชา แสนแกว้ ม.6/4 56 นางสาวมณฑิรา จนั ทาสี ม.6/6 57 นางสาวกนกนาฎ เศวตวงษ์ ม.6/9 ม.6/9 ม.6/9

22 ภาคผนวก 1 23 4 56 78

23 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 รูปที่ 1 รูปวธิ ีทาการทดลอง

24 รูปท่ี 2 รูปวธิ ีทาการทดลอง

25 รูปที่ 3 รูปวธิ ีทาการทดลอง รูปท่ี 4 รูปสมาชิกชุมนุมนกั ดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม

26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook