ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 7. คำช้แี จง ใหท้ ่านอ่านและทำความเข้าใจขอ้ สอบข้อท่ี 1 – 3 ตอ่ ไปนีแ้ ล้วตอบคำถาม ข้อ 1 การใหป้ ุ๋ยกบั การปลกู ส้ม (PISA,2015) การใหป้ ุ๋ยกบั การปลกู ส้ม นาย A และครอบครัวไดท้ ำการเกษตรปลกู ตน้ ส้มเขยี วหวาน ซ่งึ สม้ เขยี วหวานสามารถปลูกได้ดี ในดนิ ทมี่ กี ารระบายน้ำดี เชน่ ดินร่วน ดนิ รว่ นปนทราย และใส่ป๋ยุ อนิ ทรียเ์ พอื่ ใหด้ ินมคี วามอดุ ม สมบูรณส์ งู ต้นส้มชอบแดดจัดและมีปรมิ าณแสงไมน่ ้อยกวา่ 7 ชั่วโมงตอ่ วนั โดยในชว่ งปีแรก นาย A และครอบครัว ไดใ้ สป่ ๋ยุ เคมีสตู ร 25-7-7 เมื่อต้นส้มเจรญิ งอกงามดีแล้ว จงึ ได้ปรบั สูตรปุ๋ยเปน็ 13-13-21 เพื่อชว่ ยให้ผลส้มมคี ณุ ภาพดขี ้นึ นาย A หาข้อมูลของสตู รปุ๋ยเคมีในอินเตอรเ์ นต็ พบวา่ สูตรปยุ๋ จะระบุเปอรเ์ ซน็ ต์หรอื ร้อยละของธาตอุ าหารหลักของนำ้ หนักปยุ๋ เช่น 20-10-5 ตวั เลขแรก บอกปริมาณไนโตรเจน เลขท่ีสองบอกปรมิ าณฟอสฟอรัส และเลขตัวท่ีสามบอกปริมาณโพแทสเซียม คำถาม: การใหป้ ุย๋ กับการปลูกส้ม วนั หนึง่ นาย A พบว่า ต้นส้มเขยี วหวานมีลกั ษณะลำต้นเหย่ี ว แคระแกร็น เขาตรวจพบวา่ ต้นส้มไมม่ ีอาการโรคพืชและไม่พบแมลงศตั รพู ืช แต่เขาสงั เกตว่าเขาใหป้ ุ๋ยกับตน้ พืชในปริมาณมาก เกินระดับความเหมาะสม จงอธบิ ายว่า ทำไมการทใ่ี หป้ ุ๋ยเคมีในปริมาณท่ีมากเกนิ ไปจะทำให้ ต้นส้ม เหยี่ วและแคระแกรน็ ข้อ 2 เอทลิ ีน เอทลิ นี เอทลิ นี เปน็ สารอินทรีย์ทร่ี ะเหยได้ มีคุณสมบัตเิ ป็นฮอร์โมนพืช โดยเนอื้ เย่ือพืชและ เช้ือจลุ นิ ทรียบ์ างชนิดสามารถสังเคราะหเ์ อทิลนี ได้ ตามปกติปรมิ าณการผลิตเอทลิ ีนของพชื จะน้อย แต่เมือ่ ผักผลไมไ้ ดร้ บั การกระทบกระเทือนจะสามารถสงั เคราะหเ์ อทิลนี ได้จำนวนมาก หรือเมอ่ื ผลไม้ อย่ใู นช่วงระยะการสกุ พืชจะมีอัตราการหายใจและการผลติ เอทลิ นี เพ่มิ อยา่ งรวดเร็ว ซึ่งทั้งอัตราการ หายใจและการผลิตเอทลิ นี ทเ่ี พ่มิ ขึ้น นจี้ ะส่งผล ใหเ้ กิดการเรง่ กระบวนการเปล่ยี นแปลงทางชีวเคมี และสรีรวิทยาต่างๆ เชน่ การเปลยี่ นแปลงของรงควัตถุ รสชาติ ตลอดจนเน้อื สัมผสั เชน่ ทำให้เกิดรส ขม สูญเสียความเขียวและเกดิ การหลุดลว่ งของใบนำไปสู่การเส่ือมสภาพและเกิดการสญู เสีย กระตุ้นการ งอกของพืชหวั ลำต้นใต้ดินเชน่ มันฝรง่ั นอกจากน้ี แก๊สเอทิลีนจะเรง่ กระบวนการสกุ ในระหว่างการ ขนส่งและการเกบ็ รักษา ทำให้อายกุ ารเก็บรกั ษาส้นั ลงและคณุ ภาพต่ำ อย่างไรก็ตาม เอทิลีนมีประโยชน์เมอ่ื ตอ้ งการเร่งผลไม้ใหส้ ุกพรอ้ มกันและเร็วขน้ึ ตามต้องการ คำถาม เพอ่ื ให้การทดลองมีความแม่นยำข้นึ จงระบุ ปัจจยั อื่น ๆ ท่จี ำเป็นตอ้ งควบคมุ ให้ คงที่ มา 1 ปัจจัย 41 เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมอื วดั และประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ขอ้ 3 Aerogel Aerogel ซิลิกาแอโรเจล Silica aerogel) เป็นวัสดุที่มีรูพรุนที่มีน้ำหนักเบามากจนได้รับการ บันทึกใน Guinness World Records ว่าเป็นของแข็งท่ี มีความหนาแน่นน้อยที่สุดในโลก เมื่อสัมผัสจะรู้สึกคล้าย กับโฟม ซิลิกาแอโรเจล เกิดจากการสังเคราะห์ทางเคมี เพื่อทำให้โครงสร้างของซิลิกามีรูพรุนขนาดเล็กระดับนา โนเมตรจำนวนมาก ทำให้ซิลิกาแอโรเจลจะมีอากาศอยู่ ภายในโครงสร้างมากกว่า 90% ซึ่งเป็นเหตุผลทำให้ซิ ลิก้าแอโรเจลเป็นที่รู้จักกันว่าเป็น “ฉนวนที่ดีที่สุดใน โลก” ด้วยสมบัตินี้ ซิลิก้าแอโรเจลจึงถูกใช้เพื่อรักษา อุณหภูมขิ องหนุ่ ยนตส์ ำรวจดาวองั คาร Mar Rover นอกจากนี้ ซิลิกาแอโรเจลที่สังเคราะห์ยังสามารถสังเคราะห์ให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำ หรือ Hydrophobic ได้ ซ่งึ ทำให้สามารถนำไปทำวัสดุเคลอื บผวิ กันนำ้ และ เป็น Self-cleaning surface หรอื พน้ื ผิวท่ที ำความสะอาดตัวเอง ซิลิกาแอโรเจล ถูกใช้เพื่อรักษาอุณหภูมิของหุ่นยนต์สำรวจดาวอังคาร Mar Rover วัสดุทุกชนิดสามารถดูดซับเสียงได้ในระดับที่แตกต่างกันไป เมื่อคลื่นเสียงวิ่งกระทบวัสดุ จะมี บางส่วนของพลงั งานเสียงถกู ดูดซบั และที่เหลือจะสะท้อนออกไป และเสียงทีส่ ะท้อนออกไปนัน้ จะมี พลังงานน้อยกว่าแหล่งกำเนิดเสียงเสมอ และพลังงานเสียงที่ถูกดูดซับเข้าไปจะถูกแปรเปลี่ยนไป เป็นพลงั งานรูปอื่น โดยทัว่ ไปจะเปน็ ความรอ้ น วสั ดทุ ม่ี ีรูพรุนจะมคี วามเป็นฉนวนกันเสียงที่ดี เพราะ ขณะที่เสียงวิ่งตกกระทบฉนวน พลังงานเสียงเหล่านั้นจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ซึ่งเกิด จากการเสียดสีของพลังงานเสียงกับรูพรุนของฉนวน ยิ่งถ้าเพิ่มความหนาของฉนวนมากเท่าไร ก็ยิ่ง ชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธิภาพของฉนวนมากขึน้ คำถาม Aerogel อธิบายเหตุผลท่ีทำให้ ซิลกิ าแอโรเจล ไดช้ ือ่ ว่าเปน็ \"ฉนวนทด่ี \"ี เมื่อเทียบ กับวสั ดุอื่นๆ โดยใช้ความรเู้ รือ่ งการถา่ ยโอนความร้อน 42 เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ คำช้ีแจง ใหท้ า่ นวิเคราะห์รูปแบบของข้อสอบข้อที่ 1–3 วา่ เปน็ รูปแบบใด พรอ้ มทั้งอธบิ ายเหตุผล ประกอบการเลอื กรปู แบบของข้อสอบดงั กล่าว รูปแบบของขอ้ สอบ เหตุผล ขอ้ 1 แบบตอบส้ันหรอื จำกดั คำตอบ (Restricted - answer essay) แบบตอบแบบอิสระหรอื ไมจ่ ำกัดคำตอบ (Unrestricted - answer essay ข้อ 2 แบบตอบส้ันหรือจำกัดคำตอบ (Restricted - answer essay) แบบตอบแบบอิสระหรอื ไมจ่ ำกดั คำตอบ (Unrestricted - answer essay ข้อ 3 แบบตอบสัน้ หรอื จำกดั คำตอบ (Restricted - answer essay) แบบตอบแบบอิสระหรือไม่จำกัดคำตอบ (Unrestricted - answer essay 43 เลม่ ท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมอื วัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ใบความร้ทู ี่ 5 การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน (Rubric) สำนักทดสอบทางการศึกษา(2561) ได้กล่าวถึงเกณฑ์การประเมิน (Rubric) คือแนวการให้คะแนน เพื่อประเมินผลงานหรือประเมินการปฏิบัติงานของผู้เรียน การประเมินผลงานของนักเรียนมี 2 ลักษณะคือ ผลงานที่ได้จากกระบวนการของนักเรียน และกระบวนการที่นักเรียนใช้เพื่อให้เกิดผลงาน ผู้ประเมิน จะต้องตัดสนิ คณุ ภาพของผลงานแต่ละคนทม่ี ีระดบั ทแี่ ตกต่างกันหลายระดับ เกณฑ์อาจจะอย่ใู นเชิงคุณภาพหรือปรมิ าณ อาจจะมีลกั ษณะเปน็ มาตราส่วนประมาณคา่ (Rating scale) หรือแบบตรวจสอบ (Checklist) โดยปกติจะใช้ Rubric ในการประเมิน ผู้ประเมินจะต้องมีเกณฑ์ การให้คะแนนที่มากมายเพื่อให้เหมาะกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่แตกต่างกัน หรือเหมาะกับแต่ละส่วน ของการปฏิบัติงาน การให้คะแนนจะอยู่ในรูปของตัวเลข โดยปกติจะเป็น 0-3 หรือ 1-5 ในแต่ละระดับ ของคะแนนจะขนึ้ อยกู่ ับระดับของคุณภาพของงาน ดงั นน้ั ในแต่ละระดับคะแนนจะต้องอธิบายเป็นภาษาท่ี แสดงให้เห็นถงึ คณุ ภาพของการปฏบิ ัตงิ านในระดับน้นั 5.1 หลกั ในการเขยี นเกณฑ์การประเมิน การสร้างเกณฑ์การประเมิน จะต้องศึกษาและพิจารณาจากตัวอย่างงานหรือผลการปฏิบัติ หลายๆตวั อยา่ งทม่ี รี ะดับความแตกตา่ งกันต้งั แต่ดที ี่สดุ ถงึ แย่ท่สี ุด โดยมีหลักการ ดงั ต่อไปน้ี 1. เขียนอธิบายคุณภาพของงานโดยใช้ถ้อยคำที่บอกถึงคุณภาพที่สูงกว่าหรือสิ่งที่ขาด หายไปจากงานนั้นเพื่อให้สามารถแยกแยะความเหมือนหรือความแตกต่างของแต่ละระดับคุณภาพโดย พยายามหลกี เล่ียงคำขยายเชิงเปรยี บเทียบทเี่ ปน็ นามธรรม 2. กำหนดระดับของการประเมินให้พอเหมาะกับความสามารถที่จะกำหนดความแตกต่าง ตามระดบั คุณภาพได้อย่างพอเพยี งไมม่ ากเกินไปโดยท่ัวไปจะอยู่ใน 6 ระดบั หรือ 12 ระดับคำอธิบายระดบั คุณภาพกำหนดให้เหมะสมกับวัยของผู้เรียนเพื่อที่เขาจะสามารถประเมินตนเองได้และปรับปรุงตัวเองได้ ตามระดับคุณภาพนั้นในกรณีนี้มีข้อแนะนำคือในแต่ละระดับควรมีตัวอย่างงานที่ได้รับการประเมินใน ระดบั น้นั ๆให้เห็นชดั เจนสามารถเปรยี บเทียบได้และเปน็ รูปธรรม 44 เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครื่องมือวดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 3. เกณฑ์การประเมินต้องเน้นให้เห็นถึงผลที่เกิดจากการปฏิบัติงานนั้นอย่างแท้จริงรวมถึง ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการที่ผู้เรียนได้สร้างผลงานนั้นโดยเน้นกระบวนการและความพยายามในการ ปฏบิ ัติงานนน้ั 5.2 ชนิดของเกณฑก์ ารประเมนิ (Rubric) เกณฑ์การประเมิน (Rubric) มี 2 ชนิด คือ เกณฑ์การประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric) และเกณฑก์ ารประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric) (สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา, 2561) ดงั นี้ 1) เกณฑ์การประเมนิ แบบภาพรวม (Holistic Rubric) เป็นการประเมินภาพรวม ของการปฏิบัติงานหรือผลงาน โดยดูคุณภาพโดยรวมมากกว่าดูข้อบกพร่องส่วนย่อย การประเมินแบบนี้ เหมาะกับการปฏิบัติทีต่ อ้ งการใหน้ ักเรียนสร้างสรรค์งานทีไ่ ม่มคี ำตอบทถี่ ูกต้องชัดเจนแน่นอน ผปู้ ระเมินตอ้ งอา่ นหรอื พจิ ารณา ผลงานใหล้ ะเอยี ด สว่ นใหญม่ ักกำหนดระดบั คุณภาพอยู่ที่ 3-6 ระดบั 2) เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric) เป็นการประเมนิ ทีต่ ้องการเน้น การตอบสนองที่มีลักษณะเฉพาะ ผลลัพธ์ขั้นต้นจะมีคะแนนหลายตัว ตามด้วยคะแนนรวม ใช้เป็นตัวแทน ของการประเมินหลายมิติ เกณฑก์ ารประเมินแบบนจี้ ะไดผ้ ลสะท้อนกลับค่อนข้างสมบูรณ์ 5.3 องคป์ ระกอบของเกณฑ์การประเมิน (Rubric) เกณฑก์ ารประเมนิ (Rubric) มีองคป์ ระกอบ 3 ส่วน คือ 1. เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมิน (criteria) เป็นการพิจารณาว่าการปฏิบัติงานหรือ ผลงานนัน้ ประกอบดว้ ยคณุ ภาพอะไรบา้ ง 2. ระดับความสามารถหรือระดับคุณภาพ (Performance Level) เป็นการกำหนดจำนวนระดับ ของเกณฑ์ (criteria) ว่าจะกำหนดกีร่ ะดับ สว่ นมากจะกำหนดขนึ้ 3-6 ระดับ 3. การบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับความสามารถ (Quality Description) เป็นการ เขียนคำอธิบายความสามารถให้เห็นถึงความแตกต่างอย่างชัดเจนในแต่ละระดับ ซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการ ตรวจให้คะแนน 45 เลม่ ที่ 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมอื วดั และประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 5.4 ขนั้ ตอนการสรา้ งเกณฑ์การประเมิน (Rubric) ปัจจุบันมีการจัดพิมพ์ รูบริกในหนังสือต่าง ๆ ครูอาจนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับหลักสูตร และการสอนของตนเองได้ เพื่อช่วยยกระดับการเรียนโดยเพิ่มอิทธิพลของรู บริกก็สามารถทำได้ กระบวนการสร้างรูบริก มีหน่วยงานทางการศึกษาและนักวิชาการหลายท่าน ได้เสนอแนวทางการสร้างไว้ หลากหลาย มีทั้งให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดเกณฑ์และผู้สอนสร้างเอง ในท่ีน้ีขอเสนอขั้นตอน ดังน้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 กำหนดประเด็นสำคัญในการตรวจใหค้ ะแนน และจดั ลำดบั ความสำคญั หรอื น้ำหนักของแตล่ ะประเด็น ขั้นตอนที่ 2 กำหนดระดับหรอื คุณภาพท่ีตอ้ งการใหค้ ะแนน เช่น 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ดี (2 คะแนน) พอใช้ (1 คะแนน) และปรับปรุง (0 คะแนน) ขน้ั ตอนที่ 3 กำหนดรูปแบบของRubric คอื แบบภาพรวม (Holistic Rubric) หรอื แบบแยกสว่ น (Analytic Rubric) ขั้นตอนที่ 4 วธิ ีการเขียนคำอธบิ ายในแต่ละระดบั สามารถเขียนได้ 3 รปู แบบ คอื แบบที่ 1 กำหนดคำอธิบายแบบลดลง หมายถึง การเขียนเกณฑ์การให้คะแนนโดยเริ่ม เขยี นเกณฑ์ทรี่ ะดบั คุณภาพสูงสดุ หรือได้คะแนนเต็มกอ่ นแลว้ ลดคะแนนตามคุณภาพทล่ี ดลง แบบที่ 2 กำหนดคำอธิบายแบบบวกหรือเพิ่มขึ้น หมายถึง การเริ่มต้นที่ระดับคุณภาพ ตำ่ สุดหรือไม่ได้คะแนนก่อนแลว้ เพ่มิ ระดบั คณุ ภาพตามระดบั คะแนนท่ีเพ่ิมขนึ้ ไปตามลำดับ แบบที่ 3 กำหนดคำอธิบายแบบเพิ่มขึ้นและลดลง หมายถึง การเริ่มต้นที่ระดับ คุณภาพกลาง(พึงพอใจ/ผ่านเกณฑ์) แล้วเพิ่มระดับคุณภาพตามคะแนนที่เพิ่มขึ้น(ดี/ดีมาก) และลด ระดบั คณุ ภาพตามคะแนนท่ลี ดลง(ปรบั ปรงุ )ไปตามลำดบั ข้ันตอนที่ 5 ตรวจสอบโดยคณะผูม้ สี ่วนรว่ มหรอื ผเู้ ช่ียวชาญทางการวัดผล ขั้นตอนที่ 6 ทดลองใช้เกณฑ์ในการตรวจผลงานท่ีมีมาตรฐาน/คณุ ลักษณะตาม 46 เล่มท่ี 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ เกณฑ์ทีก่ ำหนด ขัน้ ตอน 7 หาความเที่ยงตรงตามสภาพ (Concurrence Validity) โดยพจิ ารณา จากความสอดคล้องของคะแนนท่กี รรมการ 1 ทา่ นให้กบั สภาพที่เป็นจริงของงาน 3 ชน้ิ ที่มคี ณุ ภาพต่างกัน และหาความเชอื่ มัน่ (inter rater reliability) โดยพจิ ารณาจากความสอดคล้องในการตรวจขอ้ สอบเขียน ตอบของกรรมการ 3 ทา่ น ขัน้ ตอนที่ 9 ปรบั ปรงุ เกณฑท์ ่ีไมไ่ ดม้ าตรฐาน 5.5 ประโยชนข์ องเกณฑ์การประเมนิ (Rubric) สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา (2561) ได้กลา่ วถงึ ประโยชน์ของเกณฑ์การประเมนิ (Rubric) ดงั นี้ 1) ช่วยให้ความคาดหวังของครทู ่ีมตี ่อผลงานของผูเ้ รยี น บรรลคุ วามสำเรจ็ ได้ 2) ช่วยให้ครูเกดิ ความกระจา่ งชดั ยิง่ ขน้ึ ว่าต้องการให้ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรูห้ รอื มี พฒั นาการอะไรบา้ ง 3) ผู้เรียนจะเกิดความเข้าใจและสามารถใช้เกณฑ์การประเมินตัดสินคุณภาพผลงานของ ตนเองและของคนอน่ื อยา่ งมเี หตผุ ล 4) ช่วยให้ผู้เรียนระบุคุณลักษณะจากงานที่เป็นตัวอย่างได้โดยใช้เกณฑ์การประเมิน ตรวจสอบ 5) ช่วยใหผ้ เู้ รยี นสามารถควบคุมตนเองในการปฏิบัตงิ านเพอื่ ไปส่คู วามสำเร็จได้ 6) เป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมการปฏิบัตงิ านต่าง ๆ ของผู้เรียน ได้เปน็ อย่างดี 7) ช่วยลดเวลาของครผู สู้ อนในการประเมินงานของผเู้ รียน 8) ช่วยเพมิ่ คณุ ภาพผลงานของผเู้ รยี น 9) สามารถยืดหยุ่นตามสภาพของผ้เู รยี น 10) ทำให้บคุ ลากรท่เี ก่ยี วข้อง เช่น ผูป้ กครอง ศึกษานิเทศก์ หรืออืน่ ๆ เขา้ ใจในเกณฑ์ การตดั สนิ ผลงานของผเู้ รยี นทค่ี รใู ชช้ ่วยในการใหเ้ หตผุ ลประกอบการใหร้ ะดบั คุณภาพได้ ....ศึกษาใบความรูต้ ่อไปกนั เลยคะ่ 47 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี 5 1. เกณฑก์ ารประเมนิ (Rubric) มคี วามสำคัญอยา่ งไร .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. 2. เพราะเหตใุ ดจึงต้องกำหนดเกณฑใ์ นการประเมิน .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. 3.จงอธบิ ายลกั ษณะของเกณฑ์ตอ่ ไปนี้ Holistic Rubric ความเหมือน Analytic Rubric 4.จงยกตัวอย่างประโยชน์ของเกณฑ์การประเมิน (Rubric) .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. 48 เล่มท่ี 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขียนตอบ
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 5.จงบอกขั้นตอนการสรา้ งเกณฑก์ ารประเมิน (Rubric) .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. 6. ทา่ นมีเทคนคิ อย่างไรในการกำหนดคุณสมบตั ิของเกณฑ์การประเมิน .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. ให้ท่านศึกษาใบความรถู้ ัดไปเลยค่ะ.... 49 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมอื วดั และประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 7. คำชแ้ี จง ให้ท่านเลือกตวั ชว้ี ดั 1 ตวั ชีว้ ัด มาสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ ตามบัตรข้อสอบทีก่ ำหนดให้ จำนวน 1 ข้อ บตั รข้อสอบ (Item Card) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ สาระการเรียนรทู้ ี่ ระดบั ชนั้ มาตรฐาน ตัวช้ีวดั รูปแบบข้อสอบ แบบจำกัดคำตอบหรอื ตอบสัน้ แบบไม่จำกดั คำตอบหรอื ตอบแบบอสิ ระ ระดบั พฤตกิ รรมท่ีวดั ประยุกตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สร้างสรรค์ สถานการณ์ ขอ้ คำถาม แนวคำตอบ 50 เลม่ ท่ี 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขียนตอบ
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 8. ให้นำขอ้ สอบท่สี ร้างคำถามในข้อที่ 7 มาสร้างเกณฑ์การใหค้ ะแนน (Rubric) โดยเขียนเกณฑก์ ารให้ คะแนน ทั้งในลักษณะองคร์ วม (Holistic Rubric) แบบแยกส่วน (Analytic Rubric) และเกณฑก์ ารให้ คะแนน ในตารางตอ่ ไปนี้ 8.1 เกณฑก์ ารตรวจใหค้ ะแนน แบบ Holistic Rubric ดี ( คะแนน) พอใช้ ( คะแนน) ปรับปรุง ( คะแนน) 8.2 เกณฑก์ ารตรวจใหค้ ะแนน แบบ Analytic Rubric ประเดน็ ดี ( คะแนน) พอใช้ ( คะแนน) ปรับปรงุ ( คะแนน) 51 เลม่ ที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมือวดั และประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ใบความรู้ท่ี 6 ตวั อย่างข้อสอบแบบเขยี นตอบ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งสสาร และพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตวั ช้วี ดั ว2.3 ป 6/6 ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความรขู้ องการต่อหลอดไฟฟ้า แบบอนกุ รมและแบบขนาน โดยบอกประโยชน์ ขอ้ จำกดั และการประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน รปู แบบข้อสอบ แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสน้ั แบบไมจ่ ำกดั คำตอบหรอื ตอบแบบอสิ ระ ระดบั พฤตกิ รรมทว่ี ัด ประยกุ ต์ใช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สร้างสรรค์ สถานการณ์ หลอดไฟฟา้ โทมัส อัลวา เอดิสนั เปน็ ผ้รู เิ รมิ่ ประดิษฐ์หลอดไฟฟา้ โดยพยายามค้นหาวัสดุที่สามารถ ทนความร้อนไดส้ งู มากกว่า 10,000 ชนดิ มาทำเป็นไส้หลอดไฟฟ้า และในปี ค.ศ. 1879 เขาพบว่าเม่อื นำเส้นใยจากฝ้ายมาทำเป็นดา้ ย หลังจากนั้นนำมาเผาไฟจะ ไดถ้ ่านคารบ์ อนที่ทนความร้อน ไดส้ งู แลว้ นำมาบรรจุไวใ้ นหลอดสญุ ญากาศ แต่ถึงอยา่ งน้นั เอดิสันก็ยังตอ้ งการหาวสั ดทุ ี่ดีกวา่ ฝ้าย และในที่สดุ เขากพ็ บว่า เสน้ ใยของไม้ไผ่ในประเทศญี่ป่นุ มีคณุ ภาพดีกวา่ คำถาม จะทราบไดอ้ ย่างไรว่า เสน้ ใยของไมไ้ ผจ่ ากประเทศญ่ปี นุ่ มีคณุ ภาพดกี ว่าเส้นใยฝ้ายท่ีนำมาทำเปน็ ไสห้ ลอดไฟฟา้ (ตอบ 2 ชนิด) แนวคำตอบ .............................................................................................................................. เกณฑ์การให้คะแนน/คะแนนเต็ม ได้คะแนนเตม็ ได้คะแนนบางส่วน (1 ไม่ไดค้ ะแนน(0 (2 คะแนน) คะแนน) คะแนน) อธบิ ายถงึ การเปรยี บเทียบ หรือข้อสังเกตเก่ียวกับคุณภาพที่ดกี ว่าของ ตอบเพียงคณุ ภาพท่ี ไม่ตอบ ไสห้ ลอดไฟฟ้าท่ีทำจากเส้นใย ดกี วา่ แต่ไม่ได้ หรือ ตอบผิด ไมไ้ ผ่ เช่น เปรยี บเทยี บ เชน่ - ไสห้ ลอดไฟฟา้ ที่ทำจากไม่ไผ่มคี วามทนทานมากกวา่ ไสห้ ลอดไฟฟา้ - ทานทานกว่า ทท่ี ำจากใยฝ้าย - อายกุ ารใช้งาน - ไส้หลอดไฟฟ้าทท่ี ำจากไม่ไผ่มอี ายกุ ารใช้งานนานกว่าไส้หลอด นานกวา่ ไฟฟา้ ที่ทำจากใยฝ้าย - สว่างกวา่ ฯลฯ - ไส้หลอดไฟฟา้ ท่ที ำจากไม่ไผ่มคี วามสว่างมากกวา่ ไส้หลอดไฟฟา้ ทท่ี ำจากใยฝ้าย ฯลฯ 52 เลม่ ที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมอื วัดและประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสรา้ งและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี ตัวชี้วัด ว2.1 ป 6/1 อธบิ ายและเปรียบเทยี บการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การรอ่ น การใชแ้ มเ่ หล็ก ดงึ ดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทงั้ ระบวุ ิธีแก้ปัญหาใน ชวี ติ ประจำวนั เกี่ยวกับการแยกสาร รปู แบบขอ้ สอบ แบบจำกัดคำตอบหรอื ตอบสน้ั แบบไม่จำกัดคำตอบหรือตอบแบบอสิ ระ ระดบั พฤตกิ รรมท่วี ัด ประยุกตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมินค่า สรา้ งสรรค์ สถานการณ์ เดก็ หญิงจำปีได้รับมอบหมายจากคุณครูให้สืบค้นการผลิตเกลือสินเธาว์ของอำเภอคำเขอ่ื นแกว้ จงั หวดั ยโสธร ส่วนเด็กชายดกั แดไ้ ด้รับมอบหมายจากคุณครูให้สืบค้นการผลิตเกลือสมุทรของอำเภอเมือง จังหวัด สมุทรสาคร ขอ้ คำถาม นกั เรียนคดิ ว่าการผลิตเกลือสมทุ รและเกลอื สนิ เธาว์อาศยั หลกั การทางวิทยาศาสตรใ์ นการผลติ เหมือนหรอื แตกต่างกัน อยา่ งไร ตอบ ................................................................................................................................................................... แนวคำตอบ แตกตา่ งกัน การผลิตเกลือสมทุ ร ใชห้ ลักการระเหยและหลักการตกผลึกสว่ นการผลติ เกลอื สินเธาว์ ใชห้ ลักการระเหยแหง้ ฯ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน/คะแนนเต็ม คะแนนเตม็ (2 คะแนน) คะแนนบางสว่ น (1 คะแนน) ไมไ่ ด้คะแนน (0 คะแนน) ตอบได้ถกู ต้องพร้อมคำอธิบายเหตุ ตอบได้ถกู ต้องพร้อมคำอธิบายเหตุ ตอบได้ไมถ่ กู ต้องและอธิบายเหตุผล ผลได้ถกู ต้อง ผลได้บางส่วน ไมไ่ ด้ แนวการตอบ แนวการตอบ - แตกตา่ งกนั การผลิตเกลอื - แตกตา่ งกัน แต่ไม่มเี หตุผล สมุทร ใชห้ ลกั การระเหยและ ประกอบ หรือเหตุผลไมเ่ หมาะ หลกั การตกผลกึ สว่ นการผลติ เกลือ สมเหตสุ มผล สินเธาว์ ใช้หลกั การระเหยแหง้ 53 เล่มท่ี 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วัดและประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 2.วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างสสาร และ พลังงาน พลงั งานในชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณท์ ี่เก่ยี วข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ชีว้ ัด ว2.3 ป 6/1ระบุสว่ นประกอบและบรรยายหน้าทขี่ องแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ยจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ รูปแบบขอ้ สอบ แบบจำกดั คำตอบหรอื ตอบสน้ั แบบไมจ่ ำกดั คำตอบหรอื ตอบแบบอิสระ ระดบั พฤติกรรมทว่ี ัด ประยุกตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า สร้างสรรค์ สถานการณ์ พิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปน้แี ลว้ ตอบคำถาม ภผู า สร้างแบบจำลองแผนผงั วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายโดยใชพ้ ลงั งานจากถา่ นไฟฉาย ดังภาพ ขอ้ คำถาม หากไมม่ ีสวิตซไ์ ฟภูผาสามารถใช้วัสดใุ ดมาต่อในตำแหน่ง S1 S2 และ S3 โดยท่ี S1 S2 และ S3 ตอ้ งไม่เป็นวตั ถุชนิดเดยี วกนั เพือ่ ทำให้หลอดไฟสว่างทุกดวง พร้อมบอกเหตุผลประกอบ ทีส่ มเหตุสมผล ตอบ ................................................................................................................................ แนวคำตอบ ลวดทองแดง เพราะเป็นตัวนำไฟฟ้า เกณฑ์การใหค้ ะแนน/คะแนนเต็ม คะแนนบางส่วน ไม่ไดค้ ะแนน (2 คะแนน) เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนนเต็ม ตอบไม่ตรงประเด็นหรือ (4 คะแนน) บอกวัสดุท่สี ามารถนามาตอ่ แลว้ ทา ไม่ตอบ ใหก้ ระแสไหลครบวงจร เชน่ บอกวสั ดุทีส่ ามารถนามาตอ่ แลว้ ทาให้กระแสไหลครบ ทองแดง ลวด ลวดเสียบกระดาษ วงจร เชน่ ทองแดง ลวด ลวดเสยี บกระดาษ ฯลฯ ฯลฯ แต่ใหเ้ หตุผลประกอบไม่ พร้อมให้เหตผุ ลประกอบสมเหตุสมผลคือ เป็นตวั นา สมเหตุสมผล ไฟฟ้า แนวคาตอบ ลวดทองแดง / ช้อนสแตนเลส /กรรไกรเหล็ก / อลูมเิ นยี ม / โลหะชนิดตา่ งๆ เงนิ ทอง ตะปู /แกรไฟต์ / ทองเหลือง / ลวด เหตุผล เพราะ * เป็นตัวนาไฟฟ้า หรอื * กระแสไฟไหลผา่ นได้ ฯลฯ 54 เลม่ ท่ี 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขียนตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสัมพนั ธ์ ระหว่างสสาร และพลังงาน พลงั งานในชวี ิตประจาวนั ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณท์ เี่ ก่ยี วขอ้ งกับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทั้งนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้วี ัด ว2.3 ป 6/1ระบุส่วนประกอบและบรรยายหนา้ ที่ของแตล่ ะส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ รูปแบบข้อสอบ แบบจำกดั คำตอบหรอื ตอบส้นั แบบไม่จำกัดคำตอบหรอื ตอบแบบอิสระ ระดบั พฤตกิ รรมทวี่ ดั ประยกุ ตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สรา้ งสรรค์ พจิ ารณาข้อมลู ตอ่ ไปน้แี ลว้ ตอบคำถาม สถานการณ์ สายไฟฟา้ เปน็ อุปกรณ์ท่ีใช้ส่งพลงั งานไฟฟา้ จากทห่ี นึง่ ไปยังอีกท่หี นึง่ สายไฟฟา้ ประกอบดว้ ยวัสดุ ท่ยี อมให้กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นไดเ้ รียกวา่ ตัวนาไฟฟ้าอยดู่ า้ นใน และหมุ้ ดว้ ย วัสดุท่ีไม่ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้า ไหลผา่ น เรยี กว่าฉนวนไฟฟา้ อยูด่ า้ นนอก ขอ้ คำถาม จงยกตวั อย่างวสั ดทุ ่มี ีสมบัติ เชน่ เดียวกับวสั ดทุ ี่อยดู่ า้ นในของสายไฟฟา้ และทอ่ี ยดู่ ้านนอกของ สายไฟฟ้า มาอย่างละ 1 ชนิด แนวคำตอบ วัสดทุ มี่ สี มบตั ิเช่นเดียวกบั วัสดุที่อยู่ด้านในของสายไฟฟ้า เช่นทองแดง และวสั ดทุ เี่ ป็น ฉนวนไฟฟา้ เช่น PVC เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน/คะแนนเตม็ ได้คะแนนเต็ม (6 คะแนน) ไดค้ ะแนนบางส่วน (3 ไม่ไดค้ ะแนน คะแนน) เมือ่ ตอบได้ต้องถูกทั้ง 2 ประเดน็ แนวคำตอบ เม่ือตอบได้ถกู ตอ้ งเพยี ง ไม่ตอบหรือตอบอยา่ งอื่น 1. ระบชุ ่ือวสั ดุท่ีเป็นตวั นำไฟฟ้าได้ถูกต้อง เช่น ประเดน็ เดียว ที่ไม่ตรงตาม แนวคำตอบ ทองแดง อลมู เิ นยี ม เหลก็ เงนิ สงั กะสี ทองคำ ฯลฯ 2. ระบวุ ัสดุทีเ่ ปน็ ฉนวนไฟฟ้าได้ถกู ตอ้ ง เชน่ พลาสติก ยาง PVC ฯลฯ 55 เล่มท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วัดและประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ และความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี ิบัตภิ ยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมทั้ง ผลตอ่ สง่ิ มีชีวิต และส่ิงแวดลอ้ ม ตวั ช้ีวัด ว3.2 ป 6/1 เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิดหินอคั นี หินตะกอน และหินแปร และอธิบาย วัฏจักรหิน จากแบบจำลอง รปู แบบข้อสอบ แบบจำกดั คำตอบหรอื ตอบสนั้ แบบไม่จำกดั คำตอบหรอื ตอบแบบอสิ ระ ระดบั พฤตกิ รรมท่วี ดั ประยกุ ตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ ค่า สรา้ งสรรค์ สถานการณ์ พจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนแ้ี ลว้ ตอบคำถาม จากข่าวการประทขุ องภูเขาไฟแหง่ หนง่ึ โดยอธิบายลกั ษณะการประทุแสดงภาพตัดขวางได้ ดงั นี้ ขอ้ คำถาม จากภาพถ้าหินในบรเิ วณ A เกิดการกดั กรอ่ น แลว้ รวมตวั กัน จะทำใหเ้ กดิ หนิ ชนิดใด เพราะเหตใุ ด ตอบ.................................................................................................................................................. แนวคำตอบ หินตะกอนเพราะ เกดิ จากการพดั พา และกัด เซาะของกระแสน้ำ แลว้ มาทบั ถม รวมกัน กลายเปน็ หนิ ตะกอน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน/คะแนนเตม็ ไดค้ ะแนนเตม็ (4 คะแนน) ไดค้ ะแนนบางส่วน(2 คะแนน) ไม่ไดค้ ะแนน(0 คะแนน) ระบชุ อื่ หินทเี่ ปน็ หนิ ทเ่ี กิดจากการ กดั ระบชุ อื่ หินไดถ้ ูกต้อง หรือ ไม่ ไม่ตอบหรือตอบ อย่างอื่นที่ กรอ่ นและรวมตัวกันได้ถกู ต้อง พรอ้ มให้ ระบุชือ่ หนิ แต่ใหเ้ หตผุ ล ไม่ตรงตาม แนวคำตอบหรอื เหตผุ ลประกอบ สมเหตสุ มผล แนว ประกอบ สมเหตสุ มผล ระบทุ ไ่ี ม่ สัมพันธ์กับ คำตอบ 1. หนิ ตะกอน ตะกอน หนิ ช้นั กระบวนการ เกิด * หนิ ตะกอน * หนิ ชั้น * หินปนู ฯลฯ หรอื หินปนู หรือหนิ ทราย * หินทราย * หินกรวด เพราะ เกิดจาก หรอื หินกรวด การพดั พา และกัด เซาะของกระแสน้ำ 2. หินท่เี กดิ จากการทับถม แลว้ มาทับถม รวมกนั กลายเป็นหนิ และ พดั พาของกระแสน้ำ ตะกอน 56 เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบหลังศึกษาชดุ ฝึกอบรม คำส่งั ใหท้ ่านเลือกคำตอบท่ที ่านเห็นวา่ ถกู ตอ้ งทีส่ ุดเพียงคำตอบเดยี ว 1. เพราะเหตุใดจงึ นิยมออกข้อสอบแบบเขียนตอบ 1.วัดความสามารถระดบั การวเิ คราะห์ขึ้นไปได้ 2.ขอ้ สอบมีความเทีย่ งตรง 3. ตรวจงา่ ยและสะดวกรวดเรว็ 4. วดั ไดค้ รอบคลุมเนอื้ หาทง้ั หมด 2. ตัวชว้ี ัดใด เหมาะที่จะวัดและประเมนิ ผลด้วยขอ้ สอบ แบบเขยี นตอบ 1. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของระบบยอ่ ยอาหาร 2. สร้างแบบจำลองการหมนุ ของโลก 3. ปลกู ฝักปลอดสารพษิ ไดถ้ ูกต้องตามหลกั วิชาการ 4. ทดลองการแยกสารละลายของสารเน้ือผสม3. 3. ขอ้ ใดคือความแตกตา่ งระหว่างขอ้ สอบเลือกตอบกบั ข้อสอบเขียนตอบที่ชัดเจนทีส่ ดุ 1. ความเปน็ ปรนยั ของขอ้ คำถาม 2. การกำหนดเกณฑก์ ารให้คะแนน 3. ความครอบคลุมของเนื้อหาท่ีออกขอ้ สอบ 4. สถานการณท์ ่ีใช้เปน็ ข้อมลู ในการตอบคำถาม 4. ข้อใดไม่ใช่ องคป์ ระกอบสำคัญของข้อสอบเขยี นตอบ 1. สถานการณท์ เี่ ปน็ ขอ้ มูล 2. ประเด็นคำถาม 3. ตัวเลอื กและตัวลวง 4. เกณฑ์การให้คะแนน 5. ข้นั ตอนแรกของสรา้ งเครอ่ื งมอื แบบเขียนตอบคือขอ้ ใด 1. การกำหนดเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ 2. วิเคราะหม์ าตรฐานและตัวชว้ี ดั ตามหลักสูตร 3. เลอื กวธิ ีการวดั และประเมินผล 4. เลือกรปู แบบของขอ้ สอบ 57 เล่มที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 6. ข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเกีย่ วกับข้อสอบเขียนตอบ 1. มเี นอื้ หาและคำตอบท่ชี ัดเจนตายตัว 2. สามารถวัดพฤตกิ รรมระดบั การประเมินค่าไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 3. สามารถวดั ได้ในทกุ ระดบั พฤตกิ รรมทางสติปัญญาของบลูม 4. สามารถวดั ระดบั พฤตกิ รรมที่เปน็ การคิดข้นั สูง ได้ 7. ตวั ชวี้ ดั ใด ไม่เหมาะทจี่ ะวัดและประเมินผลดว้ ยแบบทดสอบแบบเขียนตอบ 1. ออกแบบการทดลองเรอ่ื งแรงดันอากาศ 2. บอกความแตกตา่ งระหว่างของแข็ง ของเหลวและแกส๊ 3. จงวดั ปรมิ าตรของสารลาย A ในบีกเกอรข์ นาด 250 ml 4. อธิบายการเคล่อื นทขี่ องอนภุ าคมวลสาร 8. นกั เรยี นเขยี นขน้ั ตอนการวางแผนการแกป้ ญั หา อยใู่ นระดบั พฤติกรรมดา้ นใดของทฤษฎบี ลมู 1. การประเมนิ คา่ 2. การคดิ วเิ คราะห์ 3. การสังเคราะห์ 4. การคิดสรา้ งสรรค์ 9. ขอ้ ดขี องข้อสอบแบบเขยี นตอบ ไดแ้ ก่ขอ้ ใด 1. สามารถวัดพฤติกรรมขนั้ สงู 2. ใชเ้ วลาในการสอบไม่มาก 3. ตรวจใหค้ ะแนนไดง้ ่าย 4. วัดไดค้ รอบคลุมเน้ือหา 10.การออกข้อสอบแบบเขียนตอบ เมื่อตอ้ งการวัดสิ่งใด 1. ใครฉลาดกวา่ กนั 2. ใครมีความคดิ รเิ รม่ิ ดี 3. ใครคลอ่ งกว่ากัน 4. ใครมคี วามรคู้ วามจำดี 58 เล่มท่ี 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขียนตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครือ่ งมอื วัดและประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ เฉลย ขอ้ ท่ี ข้อท่ี 1161 2173 3184 4391 5 2 10 2 59 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมือวดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ บรรณานุกรม บญุ ธรรม กจิ ปรีดาบริสุทธ.ิ์ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน. กรุงเทพ ฯ: สามเจริญพาณชิ ย,์ 2535. เยาวดี วบิ ูลยศ์ รี. การวดั และการสร้างแบบสอบสัมฤทธ์ิ. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2548. ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. เทคนคิ การวดั ผลและการเรยี นรู้. พิมพค์ รั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ: สุวิริยา สาสน์, 2543. ศิริชัย กาญจนวาสี. ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552. สำนักทดสอบทางการศึกษา. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนแบบเขียนตอบและเลือกตอบ (ฉบับปรับปรุง 2561). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐานกระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2561. สำนักทดสอบทางการศึกษา. หลักสูตรฝึกอบรมเทคนิคการวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียน. สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2561. Anderson, L W, & Krathwohl D R. A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. New York: Longman, 2001. Bloom, Benjamin S. Taxonomy of Education Objective. New York : Devid Mckay, 1957. National Research Council (NRC). A Framework for K-12 Science Education: Practices, Crosscutting Concepts, and Core Idea. Committee on a Conceptual Framework for New K-12 Science Education, Division of Behavioral and Social Sciences and Education. Washington, DC : The National Academies Press, 2012 . 60 เล่มที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ คณะทำงาน กรรมการท่ปี รกึ ษา ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา 1. นายประทปี ทองดว้ ง สุราษฎร์ธานี เขต 2 รองผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา 2. นายจุตพิ ร ขาวมะลิ ประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 2 ผูอ้ ำนวยการกลุม่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล 3. นางมณรี ัตน์ อินทรค์ ง การจดั การศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ 4. นายนพพร แท่นนิล ศกึ ษานเิ ทศก์ 5. นายกฤษณนั ท์ ทองจนี ศึกษานิเทศก์ 6. นางสาวนิตยา ภมู ไิ ชยา ศึกษานิเทศก์ 7. นางสาวสภุ าภรณ์ ใจสุข ศึกษานิเทศก์ 8. นางสาวศภุ รัตน์ อนิ ทรสวุ รรณ ผูเ้ ขยี น ศึกษานเิ ทศก์ นางสาวนุชจิรา แดงวนั สี สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 2 เขต 2 61 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ
Search