Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานเรื่องผ้าเขียนเทียนม้ง

โครงงานเรื่องผ้าเขียนเทียนม้ง

Published by pee_sak, 2022-03-11 01:55:25

Description: รายวิชาประวัติศาสตร์ ม.5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2564

Search

Read the Text Version

รายงานโครงงานวชิ าประวัตศิ าสตร์ เร่ือง ผ้าเขียนเทยี นม้ง รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาวชิ าประวัตศิ าสตร์ รหสั ส 32104 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี5 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จงั หวดั ลาพูน

รายงานโครงงานวิชาประวัตศิ าสตร์ เร่ือง ผ้าเขียนเทยี น โดย 1. นางสาวภาณุมาศ แสงย่าง เลขท่ี 1 ชนั้ 5/3 2. นางสาวปรียานุช ชยนิ เตรัชชยตุ เลขท่ี 2 ชนั้ 5/3 3. นางสาวภทั ทยิ า แซ่หาง เลขท่ี 3 ชนั้ 5/3 4. นางสาวรตกิ านต์ เลาเทาะ เลขท่ี 4 ชนั้ 5/3 คุณครูท่ีปรึกษาโครงงาน 1. ครูองั คณา ปันทวงั 2. ครูมินฑติ า กนั จนิ ะ เสนอ ครูพรี วุฒิ วงค์ตนั กาศ รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาวชิ าประวตั ศิ าสตร์รหสั ส 32104 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จงั หวดั ลาพูน สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ช่อื โครงงาน ผ้าเขียนเทียน ช่อื ผู้เขียน 1.นางสาวภาณมุ าศ แสงย่าง 2. นางสาวปรียานุช ชยิน อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงงาน 3. นางสาวภทั ทิยา แซ่หาง 4. นางสาวรตกิ านต์ เลาเทาะ คณุ ครูพรี วฒุ ิ วงศ์ตนั กาศ บทคัดย่อ เนอ่ื งจากในประเทศไทยมีคนอาศยั อยมู่ ากมายและมหี ลากหลายชนเผ่าท่อี าศยั อยู่ รวมกนั ตามภเู ขา พนื ้ ท่สี งู พืน้ ทรี่ าบบ้างเชน่ ม้ง กะเหรี่ยง ลีซอ เย้า เป็นต้น แตล่ ะชนเผา่ จะมีการแต่ง กายท่แี ตกตา่ งกนั ออกไป ตามสภาพแวดล้อม ภมู ลิ าเนาและวฒั นาธรรมความเชอื่ ต่างๆ ดงั นนั้ กลมุ่ ของข้าพเจ้าจึงสนใจทจี่ ะการทาผ้าเขียนเทยี นของม้ง วธิ ีการทาและการนา ผ้าเขียนเทียนไปแปรรูปในรูปแบบต่างๆว่ามีความเป็นมาอยา่ งไรและดาเนนิ การตามขนั้ ตอนตา่ งๆ อย่างไร ด้วยเหตนุ กี ้ ลมุ่ ของข้าพเจ้าจึงมีความสนใจท่จี ะเกี่ยวกบั การทาผ้าเขียนเทียนของม้ง วธิ ีการ ทาและการไปแปรรูปต่างๆ จัดทาโดย คณะผ้จู ดั ทา

กิตติกรรมประกาศ โครงงานเลม่ นเี ้ป็นสว่ นหน่งึ ของรายประวตั ศิ าสตร์ ทจี่ ดั ทาขนึ ้ เพื่อศกึ ษาการทาผ้า เขยี นเทยี นของม้ง วิธีการทาและการนาไปแปรรูปในรูปแบบต่างๆ ซงึ่ การทาโครงงานในครัง้ นีพ้ วกเรา หวงั เป็นอย่างยง่ิ วา่ จะเป็นประโยชน์อย่างมากกบั บคุ คลที่กาลงั ศกึ ษาหรือต้องการจะศึกษาเกี่ยวกบั การทาผ้าเขยี นเทียนของม้ง วิธีการทาและการนาไปแปรรูปแบบตา่ งๆ สดุ ท้ายนพี ้ วกเราขอขอบคณุ คณุ ครูพีรวฒุ ิ วงค์ตนั กาศ คณุ ครูองั คณา และครู มนิ ฑิตา กนั จนิ ะ เป็นอย่างมากทคี่ อยให้คาปรึกษาในการทาโครงงานเลม่ นีแ้ ละขอขอบคณุ คุณครูท่ี ปรึกษาของห้อง และคณุ ครูห้องคอมของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 26 จงั หวดั ลาพนู ห้องสมดุ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์26 จงั หวดั ลาพนู เป็นอย่างมากทห่ี าข้อมลู เพม่ิ เตมิ จนพวกเราสามารถ ทาโครงงานเลม่ นสี ้ าเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดีจงึ ขอขอบคณุ ณ โอกาสนี ้ จัดทาโดย คณะผ้จู ดั ทา

คานา โครงงานการทาผ้าเขยี นเทียนของม้ง เป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ จดั ทา ขนึ ้ มาเพื่อศกึ ษาการทาผ้าเขียนเทยี นของม้ง วธิ ีการทาและการนาผ้าเขียนเทียนไปแปรรูปในรูปแบบ ต่างๆ พวกเราคณะผ้จู ดั ทาได้ศกึ ษาค้นคว้าและสอบถามจากผ้เู ฒ่าผ้แู ก่ในหมบู่ ้านท่ีมคี วามรู้ในด้าน การทาผ้าเขยี นเทยี นของม้ง และวธิ ีการทาต่างๆตามขนั้ ตอน โดยคณะผ้จู ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่า โครงงานเลม่ นจี ้ ะมปี ระโยชน์ต่อผ้ทู ี่เข้ามาศึกษาไมม่ ากก็น้อย หากโครงงานเลม่ นีม้ ขี ้อผิดพลาด ประการใด คณะผ้จู ดั ทากข็ ออภยั มา ณ ท่ีนี ้ จดั ทาโดย คณะผ้จู ดั ทา

สารบญั 1-3 3 เร่ือง หน้า 4-8 8-9 บทคดั ย่อ 9-12 กิตตกิ รรมประกาศ คานา 13-14 สารบัญ 15-16 บทท่ี 1 บทนา 17 ท่มี าและความสาคัญ 18-27 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงงาน 27-29 บทท่ี 2 เอกสารท่ี เร่ืองท่ี 1 ประวัติความเป็ นมาของม้ง 30 เร่ืองท่ี 2 เคร่ืองแต่งกายของม้ง 30 เร่ืองท่ี 3 ประเพณีและวฒั นธรรมของม้ง บทท่ี 3 วิธีดาเนินการโครงงาน 1 ขนั้ ตอนทางประวัตสิ าศตร์ 2 ตารางการดาเนินงาน บทท่ี 4 ผลการดาเนินงานโครงงาน 1. ผ้าเขยี นเทียนม้ง 2. การทาผ้าเขยี นเทียนของม้ง 3. การนาผ้าเขยี นเทยี นไปแปรรูป บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสอนแนะ สรุป ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก 1. เค้าโครง โครงงาน 2. รูปการ ปฏิบตั งิ าน

บทท่ี 1 บทนา ท่มี าและความสาคัญ การดารงชีวิตของมนุษย์จาเป็นต้องมีการอาศัยหลกั ปัจจัย 4 เช่น เครื่องนุ่มห่ม ที่อยู่ อาศยั อาหาร และยารักษาโรค ในการดารงชีวิต เคร่ืองนุ่มห่มมีความจาเป็นต่อมนษุ ย์เพ่ือใช้ในการ ปกปิดร่างกายปอ้ งกนั อากาศหนาวเย็นหรือแสงแดด ป้องกนั การกระแทกกระทบวัตถอุ ่ืน และเพราะ สาเหตนุ มี ้ นุษย์จึงเริม้ สวมใสเ่ สอื ้ ผ้า ในอดีตมนษุ ย์ยคุ โบราณไม่รู้จกั ใสเ่ สอื ้ ผ้าปิดกาย เพราะมขี นและ ผิวหนงั ที่หนา แต่เม่ืออากาศโลกอ่นุ ขึน้ มนุษย์ก็เริม้ ปรับตัวโดยการลดความยาวขนและความหนา ของผิวหนัง ทาให้รู้จกั การปกปิดร่างกาย ในช่วงแรกๆมนุษย์ใช้ ใบไม้ เปลือกไม้มาร้อยเป็นเครื่องนุ่ม ห่ม แล้วเริม้ รู้จกั การใช้หนงั สตั ว์ และเริม้ ทอผ้าด้วยใยพืชตามลาดบั ใยพืชที่นิยมนนั้ แบ่งตามยคุ สมยั และพืน้ ท่ี โดยในอดีตมีใยผ้าลินิน ผ้าไหม เป็นต้น จนกระทงั่ เมื่อชาวยโุ รปนาต้นฝ้ายมาจากอเมริกา ใต้ แล้วเพาะพนั ธ์ไปทวั่ โลก ใยฝ้ายจึงถูกใช้ทาเสือ้ ผ้าท่ีนิยมจนถึงปัจจบุ นั ในปัจจุบนั เสือ้ ผ้าไม่ได้ใช้ เพ่ือป้องกนั สภาพอากาศ และอนั ตรายอยา่ งอื่นเท่านนั้ แต่ยงั ใส่เพ่ือบ่งบอกวฒั นธรรมประเพณี และ ความแตกต่างของแต่ละชนเผ่า เสือ้ ผ้าและส่ิงทอในประวัติศาสตร์ของมนุษย์ เสือ้ ผ้าและส่ิงทอ สะท้อนไห้เห็นถึงวสั ดแุ ละเทคโนโลยีท่ีมีอยู่ในอารยธรรมต่างๆในเวลาที่ต่างกัน ความหลากหลาย และการกระจายของเสือ้ ผ้าและสิง่ ทอในสงั คมเปิดเผยสงั คมประเพณีและวฒั นธรรม การสวมเสือ้ ผ้า เป็นลักษณะเฉพาะของมนุษย์และเป็นคุณลักษณะของสังคม ผู้ชายและผู้หญิงเร่ิมสวมเสือ้ ผ้า หลงั จากยุคนา้ แข็งครัง้ สุดท้าย นกั มนุษยวิทยาเช่ือว่าหนังสตั ว์และพืชพันธ์ถูกดัดแปลงเพื่อป้องกนั ความหนาวเย็น ความร้อนและฝนเม่อื มนษุ ย์อพยพไปยงั สภาพอากาศใหม่ โดยแต่ละชนเผ่าจะมีความเชื่อและวฒั นธรรมเป็นสิ่งท่ีมนุษย์สร้างขึน้ มา เช่น ภาษา ศิลปะ กฎหมาย การปกครอง และศีลธรรม เป็นต้น ถือเป็นความเจริญงอกงามทางสติปัญญาของ มนุษย์ โดยวฒั นธรรมเกิดจากการเรียนรู้และการอบรมเลีย้ งดูและขดั เกลาสงั คมจากพ่อแม่ เป็นผล ของการถ่ายทอดและเรียนรู้จากสมาชิกรุ่นหนึ่งไปสู่รุ่นต่อไป การถ่ายทอดนัน้ ต้องใช้เวลา และมี ภาษาเป็นสื่อกลางช่วยให้มนุษย์ได้แสดงความรู้สึกและสามารถเข้าใจผู้อื่นได้ ภายหลงั มีการสร้าง วฒั นธรรมและพฒั นาขึน้ เพราะวฒั นธรรมมกี ารเปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ ตามกาลเวลาท่ีสอดคล้องกบั ธรรมชาติรอบข้างและความต้องการของสมาชกิ ในแต่ละสงั คมทแ่ี ตกต่างกนั ไป

ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งในอาเซียนที่มีความหลากหลายทางชาติพนั ธ์ ได้แก่ กระ เหร่ียง ชาวจาม ชาวไทลือ้ ชาวไทใหญ่ ชาวม้ง ชาวมลายู ชาวมอญ เป็นต้น สาหรับชนเผ่าม้งเดิม นนั้ อาศยั อยู่ในประเทศจีนและขนาดนนั้ เกิดสงครามในประเทศ ผู้นาจีนได้ขับไล่ชนเผ่าม้งออกจาก ประเทศ บางส่วนจึงได้อพยพมาประเทศไทย ชาวเผ่าม้งส่วนใหญ่ในประเทศไทยตงั้ ถ่ินฐานอยู่ตาม ภเู ขาสงู หรือทีร่ าบเชิงเขาในเขตพืน้ ท่จี งั หวดั เชียงราย พะเยา น่าน เชยี งใหม่ แมฮ่ ่องสอน แพร่ ลาปาง กาแพงเพชร เลย พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และตาก ชนเผ่าม้งเป็นชนเผ่าที่มีอัตลักษณ์ทาง วฒั นธรรม มีภูมิปัญญาทส่ี ืบทอดกนั มาอย่างยาวนานภมู ิปัญญาดงั้ เดิมอย่างหน่ึงของชนเผ่าม้งก็คือ การทาผ้าเขียนเทียน ซ่ึงเป็นผ้าท่ีมีลวดลายประณีตสวยงาม จึงถือเป็นหัตกรรมของชนเผ่าม้งท่ีสืบ ทอดต่อกนั มาตงั้ แต่บรรพบรุ ุษเป็นระยะเวลาหลายร้อยปีมาแล้ว ผ้าเขียนเทียนเกิดขึน้ จากชาวม้งได้นาใยของต้นกญั ชงมาทอเป็นเสือ้ ผ้าสาหรับสวมใส่ ต่อมามกี ารคิดค้นการสร้างลวดลายให้สวยงาม โดยใช้เทียนต้มมาเขยี นลวดลายบนผ้า ก่อนจะนาไป ย้อมสีครามจากต้นครามหรือต้นฮ่อมตามธรรมชาติ เมื่อนาผ้าที่ย้อมเสร็จแล้วไปต้มให้เทียนละลาย ออกก็จะได้ลวดลายบนผ้าท่ีสวยงาม นบั ตงั้ แต่มีการคิดค้นลวดลายบนผ้า เพ่ือให้ตดั เย็บเสือ้ ผ้าสวม ใส่ได้สวยงาม สตรีชาวเขาเผ่าม้งส่วนใหญ่มีความสามารถในการเขียนเทียนวาดลวดลายบนผืนผ้า ให้สวยงามได้อย่างวิจิตรสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นนับเวลาเป็นร้ อยปี ซึ่งถือเป็นงานหัตถกรรมจากภูมิ ปัญญาที่มีคุณค่าของชนเผ่าม้ง สาหรับในประเทศไทยจะมีเพียงชนเผ่าม้งใน อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ อ.เชียงคา จ.พะเยา อ.ปัว จ.น่าน และ อ.เขาค้อ จ.เพชรบรู ณ์ ที่ยงั มกี ารทาผ้าเขียนเทียนเพือ่ ไว้ใช้ใน ครอบครัวและจาหน่ายทัง้ ในประเทศแหล่งท่องเท่ียวของจังหวัดและมีการส่งออกไปจาหน่าย ต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ เกาหลี มาเลเซีย แต่ในปัจจุบนั ผ้าเขียนเทียนหาชมได้ยากใกล้สญู หายไป กบั กาลเวลา ผ้ทู ี่ทาผ้าเขียนเทียนส่วนใหญ่จะเป็นผู้เฒ่าผู้แก่ที่ต้องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท่ีสืบทอด มาตงั้ แต่บรรพบรุ ุษให้คงอยจู่ นถงึ ปัจจบุ นั การเขียนเทียน เป็นศิลปะการสร้างลวดลายบนผืนผ้าเป็นเอกลกั ษณ์อีกแบบหน่ึงของ ชาวม้งท่ีมีการทากนั ในกล่มุ ม้งลายเท่านนั้ เป็นภูมิปัญญาและศิลปะโบราณดัง้ เดิมท่ีเป็นมรดกตก ทอดมาแต่บรรพบุรุษถ่ายทอดสืบต่อกนั มาจากรุ่นส่รู ุ่นหลายชั่วอายุคนจนถึงปัจจบุ นั ผ้าเขียนเทียน เป็นผ้าที่ชนเผ่าม้งผกู พนั ธ์ค่มู ากับความเป็นชนเผ่า ผ้หู ญิงชาวม้งลายทุกคนมีความสามารถในการ วาดลวดลาย เขียนเทียนลงบนผืนผ้าที่ตระเตรียมไว้ได้อย่างละเอียดซับซ้อน ผ่านกระบวนการจน

เสร็จสิน้ เป็นผืนผ้าสาเร็จท่ีสวยงาม ผ้าม้งเขียนเทียน จึงเป็นท่ีรู้จกั และนิยมกนั อย่างแพร่หลาย สว่ น ใหญ่นิยมนามาใช้ตัดเย็บเป็นกระโปรงผู้หญิง ในอดีตผู้หญิงชาวม้งจะบรรจงวาดลวดลาย เขียน เทียน แล้วนาไปย้อมสีและอัดกลีบแล้วจึงนาไปตัดเย็บ กว่าจะผ่านกระบวนการจนแล้วเสร็จเป็น กระโปรง 1 ตัว อาจต้องใช้เวลาในการทายาวนานถึงเกือบ 1 ปีเพ่ือให้ได้กระโปรงท่ีหญิงสาวชาวม้ง จะใช้สวมใสทสี่ วยงามท่ีสดุ เทคนิคการเขียนเทียน ถือว่าเป็นขนั้ ตอนท่ียุ่งยากและซบั ซ้อน และต้องใช้ฝีมือในการ วางลวดลายบนผ้า แต่ละผืนจะมีความแตกต่างกันไปตามความชานาญของผู้วาด ลวดลายมีทัง้ ลวดลายดงั้ เดิมทีส่ ืบทอดต่อๆกนั มา และลวดลายท่เี กิดจากจิตนาการ การสร้างสรรค์ใหม่ๆ แต่ก็ยงั มี ลวดลายทส่ี ะท้อนความเป็นชนเผ่าม้งให้ปรากฏอยบู่ นผืนผ้า เช่น ลายกากบาท ลายก้นหอย เม่ือโลกเปลี่ยนแปลงไปกับคนรุ่นใหม่ๆ นิยมใช้ผ้าทอลวดลายสวยงามจากโรงงาน ชาวม้งเองก็ต้องมกี ารปรับเปล่ียนวิถีจากการทาผ้าเขียนลายเทียนเพื่อใช้ในกล่มุ หรือคนในครอบครัว ก็ทาเพ่ือการค้ากนั มากขึน้ จึงมีการพัฒนาคิดผลิตอปุ กรณ์แม่พิมพ์ปัม้ ลวดลายต่างๆ แทนการเขียน ด้วยมือ ใช้วิธีการป๊ัมลวดลายที่เกิดจากการใช้กราฟฟิดสมยั ใหม่เพ่ือความรวดเร็วเพื่อตอบสนองตอ่ ผู้ ซือ้ ส่งผลให้ค่านิยมในการใช้ผ้าพืน้ เมืองต่างๆ ลดลง ซ่ึงถ้าคนรุ่นใหม่ไม่เรียนรู้เพ่ือสืบทอดภูมิ ปัญญาของบรรพบรุ ุษแล้วนนั้ อาจทาให้กระบวนการผ้าเขียนเทียนไม่มผี ้สู ืบทอดและสญู หายไป ดังนัน้ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงต้องการศึกษาผ้าเขียนของม้ง การวาดลวดลายจากเทียน และการนามาประยกุ ต์เป็นเคร่ืองนงุ่ หม่ วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.ศกึ ษาวธิ ีการทาผ้าเขยี นเทยี นม้ง 2.ศกึ ษาการวาดเขียนลวดลายจากเทียน 3.ศกึ ษาการนาผ้าเขียนเทียนมาประยกุ ต์เป็นเคร่ืองน่งุ หม่

บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง จากการศกึ ษาโครงงานประวตั ิศาสตร์ เร่ือง การทาผ้าเขยี นเทียน พบว่ามีเอกสารที่ เก่ียวข้องดงั นี ้ 1.ประวตั ิความเป็นมาของม้ง 2.เคร่ืองแตง่ กายของม้ง 3.ประเพณีและวฒั นธรรมของม้ง โดยมรี ายละเอียดดงั ต่อไปนี ้ 1.ประวัตคิ วามเป็ นมาของม้ง ม้งเป็นกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุในภเู ขาของเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ และมีประวตั ศิ าสตร์ ยาวนานชาวม้งอพยพลงมาทางใต้ตงั้ แต่ศตวรรษท่ี18 เนื่องจากสถานการณ์ท่ไี ม่สงบทางการเมือง และหาพนื ้ ทีท่ เี่ หมาะสมกบั การเพาะปลกู ปัจจบุ นั มชี าวม้งอาศยั อยใู่ นประเทศจีน ไทย เวียดนาม ลาว และสหรัฐอเมริกา โดยชุมชนชาวม้งท่ีใหญ่ท่ีสดุ ในประเทศไทยอย่ทู ี่ ตาบล เขก็ น้อย อาเภอ เขา ค้อ จงั หวดั เพชรบรู ณ์สาหรับในประเทศไทยคาวา่ “แม้ว” เป็นคาเรียกทไี่ มส่ ภุ าพในการเรียกกลมุ่ คนม้ง ชาวม้งโดยสว่ นใหญ่ไมช่ อบให้เรียกวา่ แม้ว โดยถือวา่ เป็นการดถู ูกเหยียดหยามระหว่าง สงครามอนิ โดจีนครัง้ ที่หนง่ึ และสงครามอินโดจนี ที่สอง ชาวม้งในลาวได้ตอ่ ส้ขู บวนการประเทศลาว ชาวม้งหลายคนอพยพมาประเทศไทย และชาติตะวนั ตก 1.1. โดย ดร.ลิ ต่งิ กยุ อ้างโดย เลอภพ คีรีสนั ติกลุ เป็นผ้ศู ึกษาหม่บู ้านม้ง ได้ สรุปวา่ การอพยพครัง้ ใหญ่ ๆ ในอดตี จนถึงปัจจบุ นั มอี ย่ทู งั้ สนิ ้ 4 ครัง้ ด้วยกนั คอื ครัง้ ที่ 1 อพยพออกจากบริเวณทางใต้ของสองฝ่ังแมน่ า้ เหลอื ง หรือแมน่ า้ ฮวงโห ราว ๆ 5,000 ปีที่ผ่านมา ม้งได้อาศยั อยู่ 2 ฝั่งทางตอนใต้ ของแมน่ า้ เหลืองในขณะนนั้ ม้งมีชอ่ื เรียกว่า จ่ลู ี่ ชนกลมุ่ จ่ลู ี่นเี ้ป็นชนกลมุ่ แรก ท่ีรู้จกั ใช้ทองสมั ฤทธ์ิ รู้จกั ปลกู ข้าว และการเลยี ้ งปลาในนาข้าว ประชากรทกุ

คนมคี วามผาสขุ ภายใต้การปกคอรงของกษัตริย์ “ชิย”ู ในขณะเดยี วกนั ได้มี กลมุ่ หนึ่งคือ “ชาวฮน่ั ” ได้อพยพจากทางทิศตะวนั ตกเข้ามาอยใู่ นบริเวณของ ชนชาตจิ ่ลู ่ี ผ้นู า ผลสดุ ท้ายชนชาตจิ ลู่ ่พี ่ายแพ้แกช่ นชาติฮนั่ ทงั้ นีเ้พราะชนชาติฮน่ั มปี ระชากรเยอะกว่า ในขณะทช่ี นชาติจลู่ ี่เป็นเกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา จงึ ได้ ถอยร่นลงมาทางใต้ใกล้กบั แม่นา้ แยงซี ครัง้ ที่ 2 อพยพออกจากบริเวณปกครองม้งหลงั จากทชี่ าวจลู่ ่ีได้ อพยพมาทางตอนใต้ ได้มกี ารรวมกบั ชนพืน้ เมือง”ซานเมียว”ขนึ ้ ชาวม้งและ ชนพนื ้ เมืองมคี วามรักใครอย่างแนน่ แฟน้ ชาวม้งจงึ เรียกกลมุ่ นีว้ า่ “จนี ” แต่ กลมุ่ ฮนั่ ยงั คงติดตามมารุกรานคอยทาร้ายฆ่าฟันชาวม้งหรือจ่ลู ่อี ยเู่ ร่ือย ๆ ชาวม้งจงึ ได้แตกออกเป็น 3 กลมุ่ หนลี งทางใต้ ในปัจจบุ นั นคี ้ ือ มณฑลกวาง สี มณฑลกวางโจและมณฑลยนู าน อีกสว่ นหน่ึงหนีร่นลงมาทางตะวนั ตกมงุ่ ไปยงั ซานเหวยซงึ่ กลบั กบั ประเทศมองโกเลีย และตอนหลงั กไ็ ด้อพยพมณฑล ยนู าน ครัง้ ท่ี 3 อพยพออกจากการปกครองของกษัตริย์จปู ระมาณ 1,000 ปีกอ่ นคริสตกาลประชาชนได้แกก่ ลมุ่ ชน 7 กลมุ่ ซงึ่ แยกตวั เอง ออกเป็นประเทศปกครองและในจานวน 1 ใน 7 ประเทศเหลา่ นนั้ มีม้งเป็น ประเทศหนึ่ง มีกษัตริย์ชื่อวา่ “จ”ู ซงึ่ มอี ยสู่ องคนในตระกลู ซงั หรือแซโ่ ซ้ง คนที่ หนง่ึ ชอื่ “ชงย”ี่ คนท่สี องชอ่ื “ซงจี” ปีค.ศ. 221 ได้มชี นกลมุ่ ชนิ ได้เข้ามาต่อส้แู ย่งชงิ ประเทศของกษัตริย์จจู นพา่ ยแพ้ ชาวม้ง ได้แตกระส่าระสายไปตามที่ตา่ ง ๆ มีกลมุ่ หนง่ึ ลกุ ขนึ ้ ตอ่ สู้ อีกกลมุ่ หน่ึง ถอยร่นลงไปอย่กู บั กลมุ่ ม้งในมณฑลกวางโจ เสฉวน และมณฑลยนู าน ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1640-1919 ได้มชี าวม้งกลมุ่ หนงึ่ อพยพมาอย่ใู นกลมุ่ ประเทศอนิ โดจีน ทางตอนใต้ของจีนซึ่งก็ได้แก่กลมุ่ ประเทศเวียดนาม ลาว และไทย

ครัง้ ที่ 4 ค.ศ. 1970-1975 การอพยพออกจากประเทศลาว ระบบการปกครองคอมมวิ นิสต์ได้แผ่ขยายสกู่ ลมุ่ ประเทศอินโดจีน ทาให้ กลมุ่ ม้งในลาวต้องแตกกระจายไปทว่ั โลก การอพยพของชาตมิ ้งในครัง้ นีน้ บั ได้วา่ มากที่สดุ และอพยพไปไกลท่ีสดุ เท่าที่เคยมมี าในประวตั ิศาสตร์ของชน ชาตมิ ้ง ชาวม้งมากมายได้อพยพย้ายไปอาศยั ในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลยี แคนาดา อาร์เจนตนิ า ฝร่ังเศส และอติ าลี 1.2.การอพยพเข้าสปู่ ระเทศไทย ชนชาติม้งกลมุ่ แรกทอ่ี พยพเข้าสปู่ ระเทศไทยนนั้ ไมม่ ีหลกั ฐานใด ๆ บ่งชีไ้ ด้ชดั เจนแต่จากเอกสารของสถาบนั วจิ ยั ชาวเขาคาดว่าเริ่มต้นอพยพเข้ามา ทางตอนเหนอื ของประเทศไทย ในราวปี พ.ศ. 2387-2417 จดุ ท่ชี นเผ่าม้งเข้ามามี อยดู่ ้วยกนั 3 จดุ คือ 1.2.1 เข้ามาทางห้วยทราย – เชียงของ อาเภอ เชียงของ จงั หวดั เชยี งราย ซง่ึ อย่ทู างทิศเหนือสดุ เป็นจดุ ท่ีเข้ามาก่อน และเข้ามามาก ท่ีสดุ หลงั จากนนั้ แยกย้ายกระจดั กระจายไปตามแนวทองของเส้นเขา ม่งุ ไปทางทิศตะวนั ตกสจู่ งั หวดั เชียงใหม่ แมฮ่ อ่ งสอน ตาก และสโุ ขทยั 1.2.2 เข้ามาทางไชยบรุ ี ปัว และทงุ่ ช้าง เขตอาเภอทงุ่ ช้าง จงั หวดั น่าน แล้วบางกลมุ่ ได้อพยพลงสทู่ างใต้และทางตะวนั ตกเข้าสจู่ งั หวดั แพร่ พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ กาแพงเพชร และจงั หวดั ตาก 1.2.3 เข้าทางภคู า – นาแห้ว และด่านซ้าย อาเภอนาแห้ว และอาเภอ ด่านซ้าย จงั หวดั เลย แล้วบางกลมุ่ ได้เข้ามาส้จู งั หวดั เพชรบรู ณ์ในที่สดุ สนุ ทรี, 2524 : อ้างโดยประสิทธิ์, 2531 นอกจากทงั้ สามจดุ นแี ้ ล้ว จดุ หนง่ึ ที่ชาวม้งได้อพยพผา่ นมาแตไ่ มม่ ใี คร กลา่ วถงึ คอื เข้ามาทางอาเภอฝาง จงั หวดั เชยี งใหม่ โดยผ่านมาทาง ประเทศพม่า ช่องดอยอ่างขาง ซงึ่ เป็นทกี่ ลา่ วขนั กนั ว่า ม้งกลมุ่ นคี ้ ือ กลมุ่ ท่ีหลงทางจากการอพยพจากจดุ ที่ 1

ในประเทศไทยนนั้ มปี ระชากร ม้ง อย่รู าว 2 แสนคน หรือคิดเป็นร้อย ละ 14.37 ของจานวนประชากรชาวเขาในไทย โดยแยกย้ายกนั ไปอยใู่ นจงั หวดั ต่างๆ 14 จงั หวดั คือ เชียงใหม่ เชยี งราย น่าน แพร่ ตาก ลาปาง พะเยา เพชรบรู ณ์ แม่ฮอ่ งสอน กาแพงเพชร พษิ ณโุ ลก เลย กาญจนบรุ ี และสโุ ขทยั สว่ นชมุ ชนม้งที่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทยอบ่ทู ต่ี าบลเข็กน้อย อาเภอเขาค้อ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ “ ม้ง ” หรือ “ เหมยี ว ” จะเรียกตวั เองว่า “ ม้ง ” สว่ นภาษาท่ีใช้พดู คือ “ ภาษาม้ง ” และภาษาเขียนก็คอื “ ภาษาม้ง ” ซง่ึ ภาษาม้งจดั อย่ใู นกลมุ่ ภาษาม้ง – เมีย่ น โดย “ ม้ง ” ในไทยแบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ หลกั ตามสาเนียงภาษา และการ แตง่ กาย “ ม้งเด๊อ ” และ “ ม้งจวั้ ” โดยทงั้ 2 กลมุ่ แม้จะมีสาเนียงและคาศพั ท์ บางสว่ นทแี่ ตกต่างกนั แต่พวกเขาต่างสามารถส่ือสารกนั เข้าใจ เชน่ เดียวกบั ภาษา คาเมืองกบั ภาษาไทย 1.3.ชนเผา่ ม้ง มีประมาณ 18 ตระกลู “แซ่” ด้วยดงั นี ้ 1.แซ่หว้า Xeem Vaj 2.แซจ่ าง Xeem Tsab 3.แซล่ ี Xeem Lis 4.แซ่โซ้ง Xeem Xyooj 5.แซ่ทอ่ Xeem Thoj 6.แซเ่ ลา่ Xeem Lauj 7.แซ่มวั Xeem Muas 8.แซ่ย่าง Xeem Yaj 9.แซเ่ ฮ้อ Xeem Hawj 10.แซ่วอื ้ Xeem Vwj

11.แซก่ ือ Xeem Kwm 12.แซ่หาญ Xeem Ham 13.แซ่จือ้ Xeem Tswb 14.แซ่ฟ่า Xeem Faj 15.แซ่พ้า Xeem Phab 16.แซก่ ง Xeem Koo 17.แซเ่ ฉ้ง Xeem Tsheej 18.แซค่ ้า Xeem Khab 2.เคร่ืองแต่งกายของม้ง การแต่งกายของม้งนนั้ ถือเป็นเอกลษั ณ์อย่างหน่งึ ท่ีบง่ บอกถงึ ความเป็นชนเผ่าม้ง เพราะชนเผ่าม้งนนั้ จะมคี วามพิถีพถิ นั ในเรื่องของเครื่องแตง่ กาย ยงิ่ ตอนเข้าสวู่ ยั รุ่น ชดุ นนั้ ก็เริม้ หลากสสี นั ซง่ึ เป็นวิธีการหนึ่ง ทจ่ี ะบง่ บอกถึงฐานะความมงั่ มีของครอบครัว เนื่องในความประณีต ละเอยี ดอ่อน ความยากลาบากในการปักลวดลายผ้าตา่ งๆ และรวมถึงความสวยงามของชดุ ม้ง จงึ ทาให้ในปัจจบุ นั นี ้ชดุ ม้งมรี าคาสงู มาก ม้งแบ่งเป็น 2 กลมุ่ ยอ่ ย คือ 2.1.ม้งเขยี วหรือม้งนา้ เงนิ ผ้ชู าย จะใช้ผ้าสีดาหรือนา้ เงินเข้ม เสือ้ แขนยาวจรดข้อมือ ขลิบขอบแขนเสือ้ รอบ ข้อมือด้วยสฟี ้า ชายเสือ้ สนั้ ระดบั เอว ปา้ ยด้วนขวาทบั ด้านว้ายของของตวั เสือ้ หน้าอกเสือ้ จะปักลวดลายด้วยผ้าสี เป็นเสือ้ ไมม่ คี อปก สว่ นกางเกงจะใช้สี เดียวกนั ชว่ งขาและเปา้ กางเกงจะกว้างและหย่อนต่าลงมาถงึ หวั เขา่ แต่ปลายขา จะเลก็ และแคบลง เวลาสวมใสจ่ ะมผี ้าสีแดงคาดเอวเอาไว้ ชายผ้าคาดเอวทงิ ้ สอง ข้างและปักลวดลายสวยงาม ห้อยลงมา บางคนก็ตาดเขม็ ขนั เงนิ ทบั ผ้าแดงอีก ชนั้ หน่ึง

ผ้หู ญิง กใ็ ช้ผ้าสีดา หรือสนี า้ เงินเข้ม แขนยาวขลบิ ทีป่ ลายแขนด้วยสีฟา้ ปักลวดลาย หรือขลิบด้วยผ้าสที ี่หน้าอก คอปกเสือ้ มลี กั ษณะเป็นทรงกลม ห้อยพบั ไปด้านหลงั มกี ารประดิษฐ์ลวดลายสวยงามสวมกระโปรงจีบรอบตวั ทาลวดลายโดยวธิ ีเขียน ด้วยขผี ้ งึ ้ แล้วนาย้อมสนี า้ เงินเกดิ เป็นลายสวยงามด้านหน้าจะมผี ้าผนื ยาวปักเป็น ลวดลายสวยงามคาดปิดกระโปรงลงมาอีกชนั้ หนงึ่ 2.2.ม้งขาว ผ้ชู าย จะใสเ่ สือ้ สีดาหรือนา้ เงินเข้ม ลกั ษณะเสอื ้ คล้ายกนั กบั ม้งเขียว แตม่ ีการประดบั ลวดลายน้อยกวา่ กางเกงใช้สีเดียวกนั ทเี่ อวจะมผี ้าแดงผกู คาดทบั กางเกง และมี เข็มขบั คาดทบั อีกชนั้ หน่ึงเช่นกนั ที่คอมกั จะสวมห่วงเงนิ รอบคอหลายห่วง ผ้หู ญิง ส่วนใหญ่จะแต่งตวั คล้ายกนั กบั ม้งเขยี วในสมยั ก่อนผ้หู ญิงม้งขาวจะนยิ มสวม กระโปรงสีขาวล้วนไมม่ ลี วดลายใด ๆ ทงั้ สิน้ แต่ผ้าผืนยาวทปี่ ิดทบั ด้านหน้า กระโปรงจะเย็บปักเป็นลวดลายสวยงาม พร้อมทงั้ มผี ้าแถบสแี ดงคาดเอว ปลอ่ ย ชายเป็นหางไว้ด้านหลงั ในระยะกระโปรงสีขาวเปราะเปือ้ นได้งา่ ย หญิงม้งขาวจงึ หนั มานยิ มสวมกางเกงทรงจนี สีนา้ เงินเข้มแทนกระโปรง และมผี ้าปักเป็นลวดลาย ห้อยลงมาเปิดกางเกงทงั้ ด้านหน้าและด้านหลงั ผ้หู ญิงม้งขาวนยิ มพนั มวยผมให้ลา่ ย้อยออกมาด้านหน้า และกนั เชงิ ผมด้านหน้าให้ดมู หี น้าผากกว้างขึน้ แตไ่ ม่นิยม เตมิ ช้องผมมวยเหมือนอย่างผ้หู ญิงม้งเขยี วอยา่ งไรก็ตามเราจะเห็นชาวเข่าเผา่ ม้ง ทงั้ 2 กลมุ่ แต่งตวั กนั เตม็ ที่ในโอกาสงานสาคญั ๆ ของหมู่บ้านแตกต่างกนั ไปใน แต่ละท้องถ่ิน ซงึ่ ในบางหม่บู ้านผ้ชู ายม้งจะนิยมสวมหมวกดาทรงกลมแบบจนี ปีก ไหมพรมสแี ดงตรงกลาง และประดบั เหรียญสวยงามมาก 3.ประเพณีและวัฒนธรรมของม้ง ชาวม้งเผา่ ม้งหรือมีประเพณีและวฒั นธรรมตลอดทงั้ ความเช่อื เป็นของตนเองสืบมาแต่ บรรพบรุ ุษ เช่น

3.1 ประเพณีฉลองปีใหม่ เรียกวา่ “นอ่ เป๊ โจ่วซ์” แปลว่ากนิ สามสิบ สบื เนอื่ งจากชาวม้งจะนบั ช่วงเวลาตามจนั ทรคติ โดยจะเริ่มนบั ตงั้ แต่ฃนึ ้ 1 คา่ ไปจนถงึ 30 ค่า ซงึ่ ตาม ปฏิทินจนั ทรคตจิ ะแบ่งออกเป็นข้างขนึ ้ 15 ค่า และ ข้างแรม 15 คา่ เมื่อครบ 30 ค่า จึงนบั เป็น 1 เดือน ดงั นนั้ ในวนั สดุ ท้าย 30 ค่า ของเดือนสดุ ท้าย เดือน 12 ของ ปีจึงถือเป็นวนั สง่ ท้ายปีเก่า ช่วงวนั ฉลองปีใหม่สว่ นใหญ่จะตกอย่ปู ระมาณช่วง ปลายเดอื นพฤศจกิ ายน ถึง ธนั วาคม ชาวม้งจะประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ทกุ คนจะ สวมเสอื ้ ผ้าชดุ ใหม่ ประดบั เคร่ืองเงินสวยงาม เดก็ ๆ จบั กลมุ่ กนั เลน่ ลกู ขา่ ง และ ร้องราทาเพลง หนมุ่ สาวจะจบั คกู่ นั โยนลกู ชว่ ง พดู คยุ กนั ประเพณีแตง่ งาน ชาวม้ง จะไมเ่ กีย้ วพาราสี หรือแตง่ งานกบั คนแซห่ รือตระกลู เดียวกนั เพราะถือเป็นพี่น้อง กนั ชาวม้งนิยมแตง่ งาน ในระหว่างอายุ 15-18ปี เมือ่ แตง่ งานกนั แล้วฝ่ายหญิงจะ ย้ายเข้ามาอย่ใู นบ้านของฝ่ายชาย ซงึ่ นบั เป็นการเพิ่มสมาชกิ ในครอบครัวชาย ชาวม้งอาจมีภรรยาได้มากกวา่ หน่ึงคน อยรู่ ่วมกนั ในบ้านของฝ่ายสามี 3.2 ประเพณีกินข้าวใหม่ม้ง ชาวไทยภเู ขาเผา่ ม้ง จดั งานประเพณีกนิ ข้าวใหม่ – ดม่ื เหล้าเขาววั สืบสานวฒั นธรรมรมชาวม้ง เป็นประเพณีทเี่ ป็นการบอกกลา่ วเลา่ ขานว่า ข้าวที่ ปลกู เร่ิมออกผลิตแล้วและถือเป็นสริ ิมงคลแก่ชีวติ พร้อมกบั ให้การปลกู ข้าวในปี ต่อไปเจริญงอกงามชาวไทยภเู ขาเผา่ ม้งปลกู ข้าวในช่วงฤดฝู น ได้ออกผลผลติ และ ทาการเก็บเก่ียวแล้ว และจะต้องมีการเชญิ ผ้ทู ่ชี าวม้งเคราะห์รักนบั ถือไปร่วมการ สืบสานประเพณี “ กนิ ข้าวใหม่ ดม่ื เหล้าเขาววั ” ในชว่ งข้าวใหม่ออกผลผลิต ในชว่ งท่ีเรียกว่า ปลายฝน ต้นหนาว ปลายเดือนตลุ าคม – ต้นเดือนพฤศจิกายน ของทกุ ๆ ปี โดยผ้นู าชาวม้งจะมีการนาข้าวใหม่ไปเชิญผ้ทู ี่เคารพนบั ถือในท้องถ่ิน หลาย ๆ ท่านเพอื่ ให้ไปร่วมงานประเพณีดงั กลา่ วการสบสานวฒั นธรรมของชาวม้ง จะดาเนินการเป็นประจาทุกปี หลงั การเกบ็ เก่ียวข้าวใหม่ ทงั้ นีเ้พือ่ เป็นสริ ิมงคล และเพือ่ ให้การทานาข้าวในปีต่อ ๆ ไปดี และมผี ลผลติ ผลงอกงามขึน้ เร่ือย ๆ สว่ น การดมื่ เหล้าเขาววั นนั้ ก็เพื่อให้ผ้ชู ายชาวม้งได้มีโอกาสพบประสงั สรรค์กนั หลงั ฤดู

เก็บเก่ียว และข้าวใหมเ่ ร่ิมออก การกินข้าวใหมจ่ ะมีกบั ข้าว เช่น น่องไก่ - หมู - เป็ด ประกอบการกินเพ่ือเพิม่ ความอร่อย จากนนั้ ก็จะมกี ารดม่ื เหล้าเขาววั ซง่ึ การ ดื่มเหล้าเขาววั นนั้ ตามประเพณีจะทาความคกู่ บั กนิ ข้าวใหม่ จะดืม่ 4 รอบ รอบ แรก หมายถงึ การร่วมโต๊ะ รอบท่ี 2 เจ้าภาพแสดงการต้อนรับ รอบท่ี 3 เข้าสู่ ประเพณี รอบท่ี 4 หมายถึงการผกู สมั พนั ธ์ไมตรีอนั ลึกซงึ ้ โดยเจ้าภาพจะเป็นผ้รู ิน เหล้าให้แขกดม่ื ชาวม้ง ถือว่าข้าวคืออาหารหลกั ในการดารงชีวติ จึงมีการจดั ประเพณีขนึ ้ เพอ่ื เรียกขวญั ข้าว และเซน่ ไหว้ขอบคณุ บรรพบรุ ุษผ้ลู ว่ งลบั รวมทงั้ เทวดาเจ้าที่เจ้าทางเพ่อื ปกป้องให้ลกู หลานอย่เู ยน็ เป็นสขุ และปกปักรักษาพืชพนั ธ์ุ ทปี่ ลกู ในรอบปีให้มีความอดุ มสมบรู ณ์ การกนิ ข้าวใหมน่ นั้ จะมกี ารกินน่องไก่ เพอื่ เสีย่ งทายโชคชะตาอีกด้วยเพื่อทานายถึงความเป็นอยขู่ องครอบครัว และพชื ผลใน ปีต่อไป สว่ นผ้หู ญิงจะไมด่ ื่มเหล้า ข้าวใหม่ที่นามากนิ นนั้ จะมกี ารเลือกข้าวทยี่ งั มี นา้ นมประมาณ 20% เกบ็ เก่ียวพอประมาณเพ่อื รับแขกท่ีมากินข้าวใหม่ ซงึ่ ต้อง เป็นข้าวจากทน่ี าของตวั เอง 3.3 ประเพณีแตง่ งาน เมอื่ ฝ่ายชายและฝ่ายหญิงรู้จกั กนั และเกดิ รักกนั ทงั้ 2 คนอยากใช้ ชวี ิตร่วมกนั ฝ่ายชายและฝ่ายหญิงจะกลบั บ้านของตนเอง และฝ่ายชายคอ่ ยมา พาฝ่ายหญิงจากบ้านของฝ่ายหญิง โดยผา่ นประตผู ีบ้านของฝ่ายหญิง เพราะคนม้ งถือและเป็นวฒั นธรรมของคนม้ง หลงั จากทฝี่ ่ายชายและฝ่ายหญิงกลบั มาถงึ บ้าน ของฝ่ายชายพอ่ แม่ของฝ่ายชาย จะเอาแมไ่ ก่มาหมนุ รอบศรี ษะทงั้ สองคน 3 รอบ เรียกว่า “ หรือ ข๊า ” เป็นการต้อนรับคนทงั้ สองเข้าบ้าน ซง่ึ ฝ่ายชายต้องแจ้งให้ ญาตทิ างฝ่ายหญิงทราบภายใน 24 ชว่ั โมง โดยจดั หาคน 2 คน เพ่ือไปแจ้งข่าวให้ พ่อแม่และญาตทิ างฝ่ายหญิงทราบ ว่าตอนนีบ้ ตุ รชายของเราได้พาบตุ รสาวของ ทา่ นมาเป็นลกู สะใภ้ของเราแล้ว ทา่ นไม่ต้องเป็นห่วงบุตรสาว โดยคนทไ่ี ปแจ้งขา่ ว นนั้ คนม้งเรียกวา่ “ แม่โก๊ง ” พ่อแมฝ่ ่ายหญิงจะแจ้งให้ทางฝ่ายชายวา่ ทราบวา่ อีก 3 วนั ให้ “ แม่โก๊ง ” มาใหม่ นนั้ หมายถงึ ว่าพ่อแม่ทางฝ่ายหญิงต้องการจดั งาน แตง่ งาน สมยั ก่อนคนม้งมกั จะอย่กู ินด้วยกนั ก่อนสองถงึ 3 เดือน หรืออาจจะเป็นปี

แล้วค่อยมาจดั งานแตง่ แต่ปัจจบุ นั นสี ้ งั คมเปลี่ยนไปตามยคุ เทคโนโลยี ทาให้การ จดั งานแต่งงานของคนม้งได้กาหนดจดั งานแตง่ งานภายใน 3 วนั เป็นทนี่ ยิ มกนั ใน ปัจจบุ นั

บทท่ี 3 วิธีดาเนินการโครงงาน การจดั ทาโครงงานประวตั ิศาสตร์ เร่ืองการทาผ้าเขยี นเทียนม้ง ผ้จู ดั ทามีวิธีการ ดาเนินงานตามขนั้ ตอนทางประวตั ิศาสตร์ทงั้ 5 ขนั้ ตอนดงั นี ้ ขนั้ ตอนท่ี 1 กาหนดหวั ข้อท่จี ะศกึ ษา - ได้รวมกลมุ่ ประชมุ กนั เพ่ือแล้วถามและหาความคิดเหน็ ของสมาชกิ ในกลมุ่ แล้วได้หวั ข้อท่ี จะศกึ ษาคอื ผ้าเขียนเทยี นม้ง - เขยี นเค้าโครงโครงงานเพ่อื เสนอให้ครูท่ีปรึกษา - ครูทปี่ รึกษาทาการตรวจแล้วให้นาไปแก้ไขโครงงานและอนมุ ตั ใิ ห้ดาเนินการโครงงาน ขัน้ ท่ี 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมลู -หาข้อมลู จากผ้รู ู้ท่ีสามารถให้ข้อมลู กบั เราเกี่ยวกบั การทาผ้าเขียนเทยี นของม้ง - หาข้อมลู จากห้องสมดุ จากการประเมนิ แล้วหนงั สือที่มขี ้อมลู เก่ียวข้องพบทงั้ หมด 3 เลม่ สามารถนามาอ้างองิ ได้ จริง 3 เลม่ -วฒั นธรรมพฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์เอกลกั ษณ์และภมู ิปัญญาจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน -วฒั นธรรมพฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์เอกลกั ษณ์และภมู ปิ ัญญาจงั หวดั เพชรบรู ณ์ -สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนจงั หวดั เชียงราย -สืบค้นจากอนิ เตอร์เนต็ จากข้อมลู ทงั้ หมดพบเว็บไซต์มีข้อมลู ทเ่ี ก่ียวข้องทงั้ หมด 6 เว็บไซต์ เว็บไซต์ทนี่ ่าเชื่อถือ และ สามารถนามาอ้างองิ ได้ทงั้ หมด 6 เว็บไซต์ - https://hmong.in.th/wiki/Medieval_costume - https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%87 - https://ongtong.com/blogcontent.php?iden=21 - https://tumbonpaklang.blogspot.com/2015/02/blog-post_3.html

- https://sites.google.com/site/prapenee4/chn-phea-mng - https://sites.google.com/site/praphenipihimmng/1-prapheth-khxng- khn-mng ขนั้ ท่ี 3 ประเมินคณุ ค่าของหลักฐาน - นาข้อมลู ทไ่ี ด้ทงั้ หมดมารวบรวม - ทาการประเมินคณุ ค่าของหลกั ฐานนาหลกั ฐานท่ีได้มาทาการพจิ ารณา รายละเอียด เพอ่ื ให้ได้ข้อมลู ท่ถี กู ต้อง ชดั เจน และนา่ เชื่อถือ โดยการใช้เหตผุ ล ในการตีความเพอ่ื ที่จะได้รู้การทาผ้าเขยี นเทยี นของชนเผ่าม้ง ขัน้ ท่ี 4 นาข้อมลู มาวิเคราะห์ สงั เคราะห์และจัดหมวดหมู่ - ศกึ ษาวเิ คราะห์ หลกั ฐานข้อมลู อกี ครัง้ - นาข้อมลู ท่ีได้สบื ค้นจากอินเทอร์เน็ต ห้องสมดุ โรงเรียน มาวิเคราะห์ สงั เคราะห์ - นาข้อมลู ทงั้ หมดมาเรียบเรียง และจดั หมวดหมู่ 1.ผ้าเขียนเทียน 2.การทาผ้าเขียนเทียน 2.1 เทคนิคการเขยี นเทยี น 2.2 ลวดลายบนผนื ผ้า 2.3 ขนั้ ตอนการทาผ้าเขยี นเทียน 3.การนาผ้าเขยี นเทียนไปแปรรูป 3.1 เคร่ืองนมุ่ ห่ม 3.2 ประดบั ตกแตง่ ขนั้ ท่ี 5 เรียบเรียงและนาเสนอ - จดั ทารูปเลม่ โครงงานในรูปแบบรูปเลม่ ( E-Book )

ตารางการดาเนินงานระหว่าง 17 มกราคม 2565 ถึง 4 มีนาคม 2565 ลาดบั ขนั้ ตอนการดาเนินงาน ว/ด/ป ผู้รับผิดชอบ หมาย เหตุ นางสาว ภาณมุ าศ แสงย่าง กาหนดหัวข้อ 17-21ม.ค.65 นางสาว ปรียานชุ ชยิน เตรัชชยตุ -สมาชิกกลมุ่ เสนอหวั ข้อ นางสาว ภทั ทิยา แซห่ าง นางสาว รัตกิ านต์เลาเทาะ 1. -เขียนเค้าโครงเร่ืองท่จี ะ ศกึ ษา -เสนอเค้าโครงโครงงาน -แบง่ หน้าทชี่ ่วยกนั หาข้อมลู รวบรวมข้อมลู 31 ม.ค.-4 ก.พ. 65 นางสาว ภาณมุ าศ แสงยา่ ง -ศกึ ษาข้อมลู จากห้องสมดุ นางสาว ปรียานชุ ชยิน 2. -ศกึ ษาจากอินเทอร์เน็ต เตรัชชยตุ นางสาว ภทั ทิยา แซห่ าง -สอบถามข้อมลู จากผ้ทู ีร่ ู้ จริง นางสาว รัติกานต์เลาเทาะ โดยการโทรคยุ และจด บนั ทกึ ข้อมลู การประเมนิ คุณค่าของ 7-11 ก.พ.65 นางสาว ภทั ทยิ า แซ่หาง หลกั ฐาน นางสาว รติกานต์ เลาเทาะ 3. -นาข้อมลู จากการสอบถาม -นาข้อมลู จากการศกึ ษา -นาข้อมลู จากการศกึ ษา การทาผ้าเขียนเทียนมา รวมกนั นาข้อมลู มาวเิ คราะห์ 7-11 ก.พ.65 นางสาว รติกานต์ เลาเทาะ สังเคราะห์และจดั นางสาว ปรียานชุ ชยนิ หมวดหมู่ เตรัชชยตุ

4. -สมาชกิ รวบรวมและเรียบ เรียงและจดั หมวดหม่ขู ้อมลู ทไี ด้ ได้แก่ 1. ผ้าเขียนเทียนม้ง 2. การทาผ้าเขียนเทียน ของม้ง 2.1.เทคนิคการเขียน เทียน 2.2. ลวดลายบนผืนผ้า 2.3.ขนั้ ตอนการทาผ้า เขียนเทยี น 3.การนาผ้าเขียนเทยี นไป แปรรูป 3.1 เคร่ืองน่มุ หม่ 3.2 ประดบั ตกแตง่ เรียบเรียงและนาเสนอ 14-18 ก.พ. 65 นางสาว ภาณมุ าศ แสงยา่ ง -นาข้อมลู มาทารูปเล่ม(E- นางสาว ปรียานชุ ชยนิ 5. book) เตรัชชยตุ นางสาว ภทั ทิยา แซ่หาง -วางแผนการนาเสนอ -นาเสนอโครงงาน นางสาว รตกิ านต์ เลาเทาะ

บทท่ี 4 ผลการดาเนินงานโครงงาน ผลการศึกษาโครงงาน การทาผ้าเขียนเทียนของม้ง มีผลการศกึ ษาดงั นี ้ 1.ผ้าเขียนเทียนม้ง ผ้าเขียนเทียน เป็นภมู ิปัญญาดงั้ เดิมของชนเผ่าม้ง มาแต่บรรพบรุ ุษท่ีสืบสานกนั มาเป็น ระยะเวลาหลายร้อยปีมาแล้ว เริม้ จาการนาใยกญั ชงมาทอเป็นเสือ้ ผ้า โดยลอกเอาเปลือกของกญั ชง ซงึ่ มคี วามคงทนแขง็ แรงมาก นาเปลือกของกญั ชงมาตากแดด และฉีกเอาเส้นใยมาต้มนามาทา เส้นด้าย ซงึ่ เส้นใยของกญั ชงของกญั ชงมคี วามเหนยี วและทนทานมาก เพอ่ื ใช้สวมใส่ตามความ ต้องการ ต่อมาคนรุ่นหลงั คดิ อยากมเี สือ้ ผ้าที่มีสสี นั จงึ ได้คดิ ย้อมสีเหน็ วา่ สมนุ ไพรที่ใช้อยใู่ น ชวี ิตประจาวนั ช่ือต้นคราม มสี ีติดมือล้างไมอ่ อก นา่ จะสามารถย้อมสผี ้าให้ตดิ ได้ทนนาน จึงมกี าร ย้อมเกิดขนึ ้ จากนนั้ คดิ วธิ ีการสร้างลวดลายให้กบั เสอื ้ ผ้า โดยขผี ้ งึ ้ ต้ม และใช้ไม้ไผต่ ิดปลายด้วยโลหะ มาจมุ่ ขีผ้ งึ ้ ขีดเขยี นลวดลายท่ีเป็นของตนเองที่คดิ สร้างสรรค์ขนึ ้ เอง เป็นภมู ปิ ัญญาจากรุ่นสรู่ ุ่น ต่อมา ชาวม้งได้สมนุ ไพรทช่ี ือ่ “ ก้านจวั๊ ” ( ภาษาม้ง ) มาย้อมสีเสือ้ ผ้าให้เป็นสคี ราม และเขียนวาด ลวดลายลงในผ้าเพือ่ ให้เกิดสสี นั และลวดลาย โดยลวดลายไม่ได้มีการออกแบบมาก่อน เกิดจากการ จินตนาการล้วนๆ ภาพผ้าเขียนลวดลายดงั้ เดมิ ( ยงั ไม่ย้อมสีคราม )

2.การทาผ้าเขียนเทยี นของม้ง การเขียนเทยี น เป็นศลิ ปะการสร้างสรรค์ลวดลายบนผืนผ้าเป็นเอกลกั ษณ์อีกแบบหนึง่ ของชาวม้งท่ีมกี ารทากนั ในกลมุ่ ม้งเทา่ นนั้ เป็นภมู ิปัญญาและศลิ ปะโบราณดงั้ เดมิ ทเ่ี ป็นมรดกตก ทอดมาแต่บรรพบรุ ุษถ่ายทอดสบื ตอ่ กนั มาจากรุ่นสรู่ ุ่นหลายชว่ั อายุคนจนถงึ ปัจจบุ นั ผ้าเขยี นเป็นผ้า ท่ีชนเผ่าม้งผกู พนั ธ์คมู่ ากบั ความเป็นชนเผ่า ผ้หู ญิงม้งทกุ คนมีความสามารถในการวาดลวดลาย เขียนเทยี นบนผนื ผ้าทต่ี ระเตรียมไว้ ได้อยา่ งสวยงามละเอียดซบั ซ้อน ผ่านกระบวนการจนเสร็จสิน้ เป็นผนื ผ้าทสี่ วยงาม ผ้าม้งเขียนเทยี นจึงเป็นทรี่ ู้จกั และนิยมอย่างแพร่หลาย สว่ นใหญ่นยิ มนามาใช้ ตดั เย็บเป็นกระโปรงผ้หู ญิง ในอดีตผ้หู ญิงชาวม้งจะบรรจงวาดลวดลาย เขยี นเทียน แล้วนาไปย้อมสี และอดั กลีบแล้วจงึ นาไปตดั เย็บ กวา่ จะผ่านกระบวกการจบแล้วเสร็จเป็นกระโปรง 1 ตวั อาจใช้เวลา ยาวนานถงึ 1 ปีเพอ่ื ให้ได้กระโปรงท่ีหญิงสาวชาวม้งจะใช้สวมใสท่ ส่ี วยงาม 2.1.เทคนิคการเขยี นเทยี น เทคนิคการเขียนเทียนมลี กั ษณะคล้ายการทาผ้าบาติกที่รู้จกั กนั แพร่หลายในปัจจบุ นั โดยใช้อปุ กรณ์แทง่ เลก็ ๆ ทาจากไม้กบั ทองแดงทีเ่ รียกว่า หลาจงั จ่มุ ลงบนเทยี นหรือขีผ้ งึ ้ ร้อนๆ แล้วนามาวาดลวดลายบนผ้าใยกญั ชง หรือ ผ้าฝา้ ยท่ีเตรียมไว้เม่ือเสร็จแล้วกน็ าผ้าไปย้อมเย็นด้วยสีนา้ เงินธรรมชาตจิ ากต้นกงั้ (หรือต้นหอมที่ให้สนี า้ ผงึ ้ ) เม่ือผ้าทงั้ ผนื กลายเป็นสีนา้ เงินเข้มตามต้องการแล้ว จงึ นาผ้าไปต้มด้วยความร้อนให้เทยี นละลาย กจ็ ะได้ผ้าสนี า้ เงนิ มีลวดลายเขียนเทียน เป็นสขี าวกระจายสวยงามอยทู่ ว่ั ทงั้ ผนื แล้วนาไปพบั อดั กลีบเป็นกระโปรง หอื อาจ นาไปปักลวดลายต่างๆ ด้วยด้ายหลากหลายสสี นั แล้วจงึ นามาสวมใสเ่ ป็นชดุ ประจาชนเผ่าทส่ี วยงาม 2.2.ลวดลายบนผนื ผ้า

ลวดลายบนผืนผ้าจะมคี วามแตกต่างกนั ไปตามแต่ความชานาญ ของผ้วู าด ลวดลายมที งั้ ลายดงั้ เดมิ ท่สี บื ทอดต่อๆ กนั มา และลวดลายเกดิ จากจิต นาการ การสร้างสรรค์ใหม่ๆ แตก่ ระนนั้ ก็ยงั มลี กั ษณะลวดลายทส่ี ะท้อนความเป็น ชนเผา่ ม้งให้ปรากฏบนผืนผ้าแต่ละผนื เช่น ลายกากบาท ลายก้นหอย เทคนิคการ เขียนเทียน ถือเป็นขนั้ ตอนที่ย่งุ ยากและซบั ซ้อน และต้องใช้ทกั ษะฝีมอื ในการวาง ลวดลาย เมื่อในปัจจบุ นั ที่มกี ารเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และรสนยิ มความ ต้องการของผ้บู ริโภคเชิงการค้าการขาย ชาวม้งเองกไ็ ด้มีการปรับเปล่ียนวถิ ีจาการ ทาผ้าเขียนลายเทียนเพ่อื ใช้ในกลมุ่ หรือคนในครอบครัว ก็ทาเพ่อื การค้ามากขนึ ้ โดยเฉพาะกลมุ่ ม้งท่ีอย่ใู นพืน้ ทรี่ าบ หรืออยใู่ นแหลง่ ท่องเท่ียว จึงมกี ารพฒั นาคิด ผลติ อปุ กรณ์แม่พมิ พ์ปัม้ ลวดลายต่างๆ แทนการเขยี นด้วยมือ ใช้วิธีการปัม้ ลวดลายท่เี กิดจากการใช้กราฟฟิดสมยั ใหมเ่ พ่อื ความรวดเร็วเพอื่ ตอบสนองต่อผู้ ซือ้ ในอดีตผ้ใู หญ่กลา่ วไว้ว่า ลวดลายบนผนื ผ้ามาจากธรรมชาติและการจนิ ตนาการ ล้วนๆ เช่น ลายไม้ ลายตนี ไก่ ลายก้นหอย ลายดาว 2.3.ขนั้ ตอนการทาผ้าเขยี นเทียน 2.3.1.การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ที่ใช้ ได้แก่ (1) ผ้า ผ้าท่ใี ช้ได้เหมาะสมและเป็นทน่ี ยิ มทวั่ ไปคือ ผ้าที่ ทามาจากเส้นใยธรรมชาติ ได้แก่ ผ้าฝา้ ย ผ้าลนิ นิ

(2) เทียนแผ่น หรือขผี ้ งึ ้ (3) ไม้บรรทดั (4) ปากกา / ดินสอ

(5) ปากกาเขียนเทียน (จนั ติง้ ) (6) เตาต้มเทียน / เตาถ่าน (7) ภาชนะต้มเทยี น

(8) นา้ ยาเคลือบ ใช้โซเดยี มซลิ เิ กต มีคณุ สมบตั ิยดึ สใี ห้ ตดิ กบั ผ้า (9) สีครามเพือ่ ย้อมผ้าบาตกิ 2.3.2 ขนั้ ตอนการผลิต (1) เตรียมอปุ กรณ์วสั ดใุ นการทาผ้าเขียนเทียน ประกอบด้วย ผ้า ตวั เขียน เทียนกะละมงั ถ่าน ขเี ้ถ้า ไม้บรรทดั ดินสอหรือปากกา ถ่านขเี ้ถ้า

(2) ตงั้ กะละมงั ต้มเทยี นให้ละลายพอดี ร่างภาพโดย ใช้ดนิ สอหรือปากกาขีดเส้นบนผ้าดิบตามขนาดและ ลายผ้าท่ีต้องการ (3) ทาการเขียนลายเทียนบนผ้าทงั้ ผนื ให้ทวั่ โดยใช้ ตวั เขียน ( ซนั ตง่ิ ) หรือแม่พมิ พ์จ่มุ ลงในกะละมงั ต้ม เทียนแล้วนามาเขียนทผี่ ้าที่เตรียมไว้เม่ือเขียนลาย เสร็จแล้วไปแชน่ า้ 1 คืน

(4) เตรียมนา้ แชค่ รามในถงั หรือโอ่งให้พอดกี บั ผ้าที่ เตรียมไว้ (5) ต้มนา้ ร้อนและเตรียมสีครามมาละลายในนา้ ต้ม ผสมให้เข้ากนั และเทลงไปในโอ่งหรือถงั ท่ีเตรียมไว้ แล้วนาผ้าดบิ ที่ทาการเขียนเทยี นลงลวดลายท่ี ต้องการแล้ว มาแช่ในโอง่ หรือถงั สีคราม ขยา้ ให้ทวั่ โดยใช้มือหรืไม้คนก็ได้แช่ไว้ประมาณ 30 นาที (6) นาผ้าทีแ่ ชส่ ีครามออกมาปัน้ ให้นา้ ออกจากผ้า จากนนั้ นาไปตากให้แห้ง (ไม่ควรตากแดดจดั ) ให้วธิ ี ตากลมหรือในที่ร่มกไ็ ด้ พอแห้งแล้วนามาย้อมตาม

ขนั้ ตอนที่ 5 อีกครัง้ ทาซา้ 4-5 ครัง้ หรือจนกว่าจะได้ สคี รามตามทต่ี ้องการ แล้วตากให้แห้ง (7) นาผ้ามาพกั ไว้ประมาณ 2-3 วนั แล้วนาไปสู่ ขนั้ ตอนการต้มเทยี น โดยการทีเ่ ราต้มนา้ ให้เดือด แล้ว นาเอาผ้าเขียนเทียนทย่ี ้อมสีครามเสร็จแล้วเรียบร้อย แล้วไปจ่มุ นา้ เยน็ กอ่ นนาไปต้มในนา้ ร้อนให้ทว่ั ผนื เพ่ือเป็นการละลายเทยี นทีต่ ิดอย่ทู ผี่ ้าให้ออกให้หมด ( สงั เกตว่าไมม่ เี ทียนติดอย่ทู ี่ผ้าแล้ว ) จึงนาผ้าออก (8) ขณะที่ต้มผ้าในนา้ ร้อนอย่ใู ห้เตรียมนา้ ใสก่ ะละมงั ไว้ ประมาณ 3 กะละมงั เพอื่ เอาผ้าทที่ าการต้มเสร็จ

แล้วออกมาแช่ในนา้ เย็น เพือ่ ล้างเทียนทอ่ี าจติดผ้า อยอู่ อกให้หมดทงั้ สองด้าน ใช้มอื ลบู ออกจนทว่ั ทงั้ ผืน แล้วนา้ ไปตากให้แห้งไม่ควรตากในเวลาทแ่ี ดดจดั (9) เตรียมนา้ ร้อนไว้ แล้วเอาแปง้ มาละลายในนา้ เย็น แล้วเทลงในนา้ ร้อนทเี่ ตรียมไว้คนให้เข้ากนั ไมใ่ ห้ เหนียวหรือจางเกินไปให้พอดีๆ แล้วนาผ้าท่ีล้างเทียน ออกหมดแล้วนามาแชไ่ ว้ประมาณ 5 นาที (10) นาไปตากให้แห้ง ( ไม่ควรตากในเวลาทแี่ ดดจดั ) เมอ่ื แห้งแล้วนามาพบั ไว้เพ่อื รอนาไปแปรรูปเป็น

ผลิตภณั ฑ์อนื่ ๆ เชน่ นาไปตดั เยบ็ เป็นเสือ้ หรือ กระโปรง 3.การนาผ้าเขียนเทียนไปแปรรูป 3.1 เป็ นเคร่ืองนุ่มห่ม เสือ้ กระโปรง

ผ้าพนั คอ ผ้าคลมุ ไหล ชดุ ยาว

3.2 ประดบั ตกแต่ง ผ้าปโู ต๊ะ ผ้าคลมุ เตียง กระเป๋ า

บทท่ี 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 1. สรุปผล จากท่ีคณะได้จดั ทาได้ไปศกึ ษาเก่ียวกบั การทาผ้าเขียนเทียนของม้ง วธิ ีการทาผ้าเขียน เทียนและการนาไปแปรรูปสรุปได้วา่ ผ้าเขียนเทยี นม้ง เป็นการบรรจงลวดลาย เขยี นเทยี น แล้วนาไป ย้อมอดั กลีบแล้วจึงนาไปตดั เย็บกว่าจะผ่านกระบวนการ 1 ตวั ผ่านเทคนิคการเขยี นเทียน โดยใช้ อปุ กรณ์แท่งเล็กๆจ่มุ ลงบนเทยี นหรือขผี ้ งึ ้ นามาวาดลวดลายบนผ้าและย้อมสีด้วยสีนา้ ธรรมชาติเมอื่ เกดิ สแี ล้ว จงึ นาไปด้วยความร้อนเพื่อให้เทียนละลาย ลวดลายบนผืนผ้าม้งก็เกิดจากธรรมาชาตแิ ละ การจนิ ตนาการล้วนๆ เช่น ลายไม้ ลายตนี ไก่ ลายก้นหอย และลายดาว อปุ กรณ์สาคญั ที่ใช้ก็มี ผ้า ฝา้ ย เทยี นแผ่น ปากาเขียนเทียน สีครามเพ่ือย้อม และนา้ ยาเคลือบ และมีขนั้ ตอนการทา คือเตรียม อปุ กรณ์การทาผ้าเขยี นเทยี นตงั้ กะละมงั ต้มเทยี นให้ละลายพอดีใช้ปากาเขยี นลวดลายบนผ้าให้ทว่ั ทงั้ ผนื แล้วนาไปแช่นา้ 1 คืนเตรียมนา้ แช่ครามในโอ่งต้มนา้ ร้อนละนาสีครามมาละลายในนา้ ต้ม นามาเขียนเทียนมาแช่คนให้ทวั่ แช่ไว้ 30 นาทนี าผ้าทแ่ี ช่สีครามออกมาปัน้ นา้ ออกจากนนั้ นาไปตาก แดด(ไม่ควรตากแดดจดั )นาผ้ามาพกั ประมาณ2-3วนั แล้วนาไปต้มเทียน โดยต้มนา้ เดือดแล้วนาผ้าท่ี ย้อมสคี รามมาจ่มุ นา้ เย็นกอ่ นนาไปต้มเพือ่ เป็นการละลายเทยี นท่ีตดิ ผ้าเตรียมกะละมงั ไว้ 3 กะละมงั เพือ่ นาผ้าที่ต้มเสร็จมาแชแ่ ละลบู นา้ ออกนาผ้าไปตากให้แห้งแล้วนามาพบั เพ่อื รอนาไปสกู่ ารแปรรูป เป็นเคร่ืองน่มุ ห่ม เช่น เสือ้ กระโปรงยาว และประดบั ตกแต่ง เชน่ กระเป๋ า ผ้าปโู ต๊ะ 2. ข้อเสนอแนะ จากการศกึ ษาโครงงานเร่ือง ผ้าเขยี นเทียนของม้ง พบว่ายงั มีวธิ ีการที่หน้าสนใจทจ่ี ะ ศกึ ษาเร่ืองดงั นี ้ 1. ศกึ ษาวิธีการทาผ้าของม้งจากเส้นใยกญั ชง 2. ศกึ ษาการปักผ้าของม้ง

บรรณานุกรม นายวชิ ยั พยคั มโส.วฒั นธรรมทางประวตั ิศาสตร์ เอกลกั ษณ์และภมู ิปัญญาจงั หวดั เพชรบรู ณ์. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1. ลาดพร้าว : โรงพิมครุ ุสภาลาดพร้าว.2543 นายวิชยั พยคั มโส. วฒั นธรรมทางประวตั ศิ าสตร์ เอกลกั ษณ์และภมู ิปัญญาจงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1. ลาดพร้าว : โรงพมิ ครุ ุภาลาดพร้าว. 2542. นายวชิ ยั พยคั มโส. สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนจงั หวดั เชียงราย.พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1. ลาดพร้าว: โรงพมิ ครุ ุภาลาดพร้าว.2544. เวบ็ ไซด์ - https://hmong.in.th/wiki/Medieval_costume ค้นหาวนั ท่ี 30 ม.ค. – 3 ก.พ.65 - https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%87 ค้นหา วนั ท่ี 31 ม.ค 65 - https://ongtong.com/blogcontent.php?iden=21 ค้นหาวนั ที่ 6-10 ก.พ.65 - https://tumbonpaklang.blogspot.com/2015/02/blog-post_3.html ค้นหาวนั ท่ี 6- 10 ก.พ .65 - https://sites.google.com/site/prapenee4/chn-phea-mngค้นหาวนั ที่ 30 ม.ค.-3 ก.พ.65 - https://sites.google.com/site/praphenipihimmng/1-prapheth-khxng- khn-mng ค้นหาวนั ท่ี 30 ม.ค.–3 ก.พ.65

ภาคผนวก เค้าโครงโครงงานผ้าเขยี นทยั น