รายงานโครงงานวิชาประวตั ศิ าสตร์ เรื่อง พธิ ีผู่ของชนเผ่าม้ง รายงานนเี้ ป็ นส่วนหนงึ่ ของการศึกษาวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหสั ส 32104 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท5ี่ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จังหวดั ลาพูน
รายงานโครงงานวชิ าประวตั ิศาสตร์ เร่ือง พธิ ีผู่ของชนเผ่าม้ง โดย 1. นางสาววภิ า แซ่ม้า เลขท่ี 4 ช้ัน ม.5/3 2. นางสาวชาลสิ า แสงท้าว เลขท่ี 8 ช้ัน ม.5/3 3. นางสาวปิ ยะบุตร เลาเสอ เลขท่ี 10 ช้ัน ม.5/3 4. นางสาวศิริรัตน์ ยง่ั ยืนตระกลู โชค เลขที่ 14 ช้ัน ม.5/3 คุณครูทปี่ รึกษาโครงงาน 1.ครูพรี วุฒิ วงค์ตนั กาศ เสนอ ครูพรี วุฒิ วงค์ตันกาศ รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาวชิ าประวตั ศิ าสตร์รหัส ส 32104 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จังหวดั ลาพูน สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ก บทคดั ย่อ ช่ือโครงงาน พิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ ช่ือผเู้ ขียน นางสาว วิภา แซ่มา้ นางสาว ชาลิสา แสงทา้ ว นางสาว ปิ ยะบุตร เลาเสอ นางสาว ศิริรัตน์ ยง่ั ยนื ตระกูลโชค อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงาน ครู พรี วุฒิ วงคต์ นั กาศ ปี การศึกษา 2565 โครงงานฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชาประวตั ิศาสตร์ เป็นกิจกรรมศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง โดยมีจุดประสงคเ์ พ่ือการศึกษาความรู้ ความเขา้ ใจในเก่ียวกบั ความเชื่อและที่มาของพิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ และข้นั ตอนในการดาเนินพธิ ีกรรมของพิธีผู่ พิธีผเู่ ป็นพธิ ีกรรมรับลกู สาวกลบั บา้ นของชาติพนั ธุม์ ง้ และกย็ งั เป็นพธิ ีกรรมหน่ึงที่หลาย คนมองเห็นร่วมกนั วา่ มีสาคญั เพื่อขจดั ความไม่เทา่ เทียมของเพศหญิง ท่ีใชป้ ระกอบพธิ ีทางศาสนาซ่ึง โครงงานชิ้นน้ีจึงจดั ทาข้ึนเพื่อศึกษาความเชื่อและท่ีมาของพธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้ และศึกษาข้นั ตอนในการ ดาเนินพธิ ีกรรมของพิธีผู่ โดยพิธีกรรมน้ีมีความสาคญั กบั ชาติพนั ธุ์มง้ เป็นอยา่ งมากเป็นอยา่ งมาก
ข กติ ตกิ รรมประกาศ การทาโครงงานประวตั ิศาสตร์ เร่ือง พธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้ จะสาเร็จลงไดด้ ว้ ยดีเพราะไดร้ ับ ความกรุณาใหข้ อ้ มูล แนะนา ช่วยเหลือ สนบั สนุนเป็นอยา่ งดว้ ยบุคคลจากคณุ ครู ชาวบา้ น ขอขอบพระคณุ คุณครู พรี วุฒิ วงคต์ นั กาศ และนายวาง ยง่ั ยนื ตระกลู โชค (ผปู้ กครอง )ของ นางสาวศิริ รัตน์ ยงั่ ยนื ตระกูลโชค และในการดาเนินการสืบคน้ ขอ้ มลู ขอขอบคณุ คุณครูหอ้ งสมุดโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 26 จงั หวดั ลาพนู หอ้ งคอมพวิ เตอร์ และบุคคลในทอ้ งถ่ิน ท่ีใหค้ วามรู้เร่ือง พิธีผขู่ องชน เผา่ มง้ ช่วยเหลือเป็นอยา่ งดีจนทาใหโ้ ครงงานสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี ขอขอบพระคุณผอู้ านวยการโรงเรียน คณะครูและนกั เรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 ลาพนู ท่ีใหก้ ารช่วยเหลือในการจดั กิจกรรมเป็นอยา่ งดี ขอขอบพระคณุ ผปู้ กครองนกั เรียน ที่เป็นสมาชิกในการจดั ทาโครงงาน คณะผจู้ ดั ทา ที่ให้ การช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการนาเรียนมาทา โครงงานในคร้ังน้ี ขอบคณุ เพ่ือนๆที่ช่วยเหลือสนบั สนุนท้งั ดา้ นกาลงั ใจและพละกาลงั ดีตลอดจนคาแนะนาท่ี เป็นส่วนหน่ึงในการทาโครงงานคร้ังน้ี ที่เป็นผใู้ หก้ าลงั ใจและปฏิบตั ิและใหโ้ อกาสการศึกษาอนั มีค่ายงิ่ คุณคา่ และประโยชนจ์ ากการทาโครงงานประวตั ิศาสตร์ในคร้ังน้ีขอมอบเป็น เครื่องบชู าแด่ องคพ์ ระศาสดาของพระพุทธศาสนาองคพ์ ระประมขุ ของชาติพระคุณบิดามารดา บูรพาจารยล์ ะท่านผม มีส่วนเก่ียวขอ้ งทุกทา่ น ทางคณะผจู้ ดั ทาขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ีดว้ ย คณะผ้จู ัดทาโครงงาน
ค คานา โครงงานเรื่องการศึกษาพธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้ เป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรายวิชา ประวตั ิศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาป่ี ท่ี5 โดยกลมุ่ ของขา้ พเจา้ มีจุดประสงคท์ าโครงงานเล่มน้ีข้นึ เพื่อศึกษา ความเช่ือและท่ีเป็นมาของพิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ และศึกษาข้นั ตอนในการดาเนินพธิ ีกรรมของพธิ ีผขู่ องชน เผา่ มง้ ซ่ึงโครงงานเรื่องน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั การแตง่ งานปัญหาของการใชช้ ีวิตคู่เป็นเหตนุ าไปสู่การหยา่ ร้างและเป็นจุดเร่ิมตน้ การร้ือฟ้ื น “ พธิ ีผู่ ” กล่มุ ของขา้ พเจา้ หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ ผทู้ ่ีสนใจศึกษาโครงงานเล่มน้ีจะไดร้ ับความรู้จาก โครงงานเรื่องน้ีและหวงั วา่ โครงงานน้ีจะเป็นประโยชน์อยา่ งยงิ่ กบั ผทู้ ี่สนใจศึกษาทกุ ทา่ น หากมี ขอ้ ผิดพลาดประการใดกข็ ออภยั มา ณ ท่ีน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา นางสาว วิภา แซ่มา้ นางสาว ชาลิสา แสงทา้ ว นางสาว ปิ ยะบุตร เลาเสอ นางสาว ศิริรัตน์ ยง่ั ยนื ตระกูลโชค
สารบัญ ง เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กติ ติกรรมประกาศ ข คานา ค สารบัญ ง บทท่ี 1 บทนา 1 1-3 ทม่ี าและความสาคัญ 3 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน 4 บทที่ 2 เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง 4-6 เรื่องท่ี 1 สถาบนั ครอบครัว 7-8 เร่ืองท่ี 2 ชาติพนั ธ์ุม้ง 8-14 เรื่องที่ 3 การแต่งงาน 14-15 เรื่องที่ 4 การหย่าร้าง 16-19 บทที่ 3 วิธีดาเนินการโครงงาน 20-22 บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งานโครงงาน 1. ความเช่ือแลทีม่ าของพธิ ผี ู่ 23-27 2. ข้ันตอนการทาพธิ ผี ู่ 28-30 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 31 บรรณานุกรม 32 ภาคผนวก 33
1 บทที่ 1 บทนา 1. ท่มี าและความสาคญั สงั คมไทยเป็นสังคมท่ีประกอบไปดว้ ยการอย่รู ่วมกนั ของคนหลายกล่มุ หลายชาติพนั ธุ์ หลายภาษา หลายวฒั นธรรม และสังคมไทยมีสถาบนั หลกั คือ สถาบนั ครอบครัว เป็นสถาบนั พ้นื ฐานที่ เป็นหลกั ของสังคม เป็นรากฐานท่ีสาคญั ของการพฒั นาคนและสังคม โดยทาหนา้ ท่ีหล่อหลอม และขดั เกลาความเป็นมนุษยใ์ หแ้ ก่สมาชิกในครอบครัวดว้ ยการอบรมเล้ียงดู พร้อมท้งั ปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และถา่ ยทอดวฒั นธรรมของสังคมใหแ้ ก่สมาชิกครอบครัว เพอื่ ใหส้ มาชิกครอบครัวมี พฒั นาการตามวยั และเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ รู้จกั หนา้ ท่ี ความรับผิดชอบ และเป็นกาลงั สาคญั ใน การพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ หมายถึง แบบแผนพฤติกรรมของมนุษยท์ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั ครอบครัวและ เครือญาติ ซ่ึงครอบคลมุ แนวทางในการปฏิบตั ิในเรื่องตา่ งๆเหล่าน้ี คือ การเลือกคู่ การหม้นั การแต่งงาน การเล้ียงดูลกู การอบรมขดั เกลา ซ่ึงในการแตง่ งานถือเป็นธรรมเนียมที่ดีงามที่ปฏิบตั ิสืบต่อกนั มาอยา่ ง ยาวนานเป็นวิธีช่วยเสริมความเป็นสิริมงคลใหแ้ ก่ชีวิตคู่ การแต่งงาน เป็นการเขา้ ร่วมพธิ ีของชายหญิงท่ีตกลงปรงใจที่จะใชช้ ีวติ ร่วมกนั เพอ่ื ใหเ้ ป็น สามีภรรยาอนั ถูกตอ้ งตามประเพณีหรือกฎหมายของสังคม ซ่ึงแสดงถึงวยั หรือช่วงเวลาอนั เหมาะสม ของชายหญิงที่จะใชช้ ีวติ ร่วมกนั ฉนั สามีภรรยาในการสร้างครอบครัวใหม่ พร้อมกบั เป็นที่ยอมรับของ สังคมการแตง่ งานเป็นข้นั ตอนหน่ึงของชีวติ เป็นการแสดงถึงความเป็นผใู้ หญพ่ ร้อมท่ีจะเร่ิมตน้ สร้าง ครอบครัวของตนเอง ข้นั ตอนการแตง่ งานน้นั ประกอบดว้ ย 2 ข้นั ตอน คือ การสู่ขอหรือการหม้นั หมาย และสุดทา้ ยเป็นการสมรสหรือเขา้ พิธีแต่งงาน ซ่ึงเป็นกลไกท่ีสังคมกาหนดข้นึ เพือ่ ใหห้ ญิงชายมีโอกาส ใชช้ ีวติ ร่วมกนั และ สร้างครอบครัวข้ึนใหม่เป็นของตนเอง โดยการใชช้ ีวิตค่นู ้นั ก็ยอ่ มมีปัญหา ครอบครัวเป็นเรื่องท่ีเกิดข้ึนไดท้ วั่ ไป เพราะทกุ ครอบครัวลว้ นมีเหตทุ ่ีอาจก่อความขดั แยง้ ระหวา่ ง สมาชิกภายในบา้ นไดไ้ ม่วา่ จะเป็นความคิดเห็นที่แตกตา่ ง การเล้ียงลูก ปัญหาสุขภาพ หรือสถานภาพ ทางการเงิน การนอกใจคบชู้ หรือปัญหาการใชค้ วามรุนแรง ซ่ึงความขดั แยง้ เหล่าน้ีอาจบานปลายจน กระทบต่อความสัมพนั ธ์ในครอบครัว อาจทาใหช้ ีวิตคู่จบลง ความขดั แยง้ ในครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตน้ ของสัญญาณเตือนภยั ถึงรอยร้าวของสมั พนั ธภาพภายในครอบครัว จึงทาใหส้ ิ้นสุดความสมั พนั ธ์ ทางการสมรสที่ทาข้ึนอยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมาย และอาจหยา่ ร้างกนั ในท่ีสุด
2 การหยา่ ร้างในกฎหมาย มี 2 แนวทางดว้ ยกนั คอื การหยา่ โดยความยนิ ยอม เป็นการหยา่ โดยความสมคั รใจของท้งั 2 ฝ่าย ไม่ไดถ้ กู บงั คบั และการหยา่ น้นั จะตอ้ งแสดงเจตนาต่อหนา้ นาย ทะเบียน เพอ่ื จดทะเบียนหยา่ ณ สานกั งานเขตหรือท่ีวา่ การอาเภอใดกไ็ ด้ และการหยา่ โดยคาพพิ ากษา ของศาลหรือฟ้องหยา่ เป็นการหยา่ ที่ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงไมย่ อมหยา่ หรือมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการ ใชช้ ีวติ คู่หลงั จากแต่งงานแลว้ นน่ั เอง และการแตง่ งานถือวา่ เป็นวฒั นธรรมสากลที่ถือปฎิบตั ิกนั ทว่ั ไป สงั คมไทยเป็นสงั คมที่มีความหลากหลายทางชาติพนั ธุก์ ระจายอยทู่ ว่ั ทุกภมู ิภาค ซ่ึงการจดั พธิ ีแต่งงานก็ จะแตกต่างกนั ออกไป ข้นึ อยู่กบั วฒั นธรรมของสังคมหรือชาติพนั ธุ์น้นั ๆ ชนเผา่ มง้ ก็เป็นหน่ึงในชาติ พนั ธุ์ที่อาศยั อยใู่ นประเทศไทยและมีวฒั นธรรมการแต่งงานและมีปญหากนั หยา่ ร้างของชนเผา่ มง้ เอง โดยการแต่งงานของชาติพนั ธุ์มง้ ถือกาหนดใหล้ ูกสาวที่แตง่ งานสิ้นสุดสถานภาพจาก ครอบครัวเดิม เพื่อไปเป็นลูกสาวคนใหมข่ องตระกูลแซ่สามี วนั แตง่ งานพ่อแม่ฝ่ายชายก็ทา “พธิ ี รับขวญั ” ลกู สะใภเ้ ขา้ ตระกลู ต่อผบี รรพชน บา้ นของฝ่ายชาย พ่อ แมข่ องฝ่ายชาย จะเอาแมไ่ ก่มา หมุนรอบศีรษะท้งั สองคน 3 รอบเรียกวา่ “หรือข๊า” เป็นการตอ้ นรับคนท้งั สองเขา้ บา้ น ซ่ึงฝ่ายชายตอ้ ง แจง้ ใหญ้ าติทางฝ่ายหญิงทราบภายใน 24 ชว่ั โมง โดยจดั หาคน 2 คน เพื่อไปแจง้ ข่าวใหพ้ ่อแม่และญาติ ทางฝ่ายหญิงทราบ วา่ ตอนน้ีบุตรชายของเราไดพ้ าบตุ รสาวของทา่ นมาเป็นลกู สะใภข้ องเราแลว้ ทา่ นไม่ ตอ้ งเป็นห่วงบุตรสาว แตช่ ีวิตหลงั แตง่ งานน้นั กใ็ ชว้ า่ จะสวยงามเสมอไป ปัญหาการใชช้ ีวิตคสู่ ่วนใหญ่ของชนเผา่ มง้ จะมาจากการถกู ผใู้ หญบ่ งั คบั หรือถูกฉุดมา แต่งงาน ตอ้ งจายอมอยใู่ นสถานะที่ตนไม่ตอ้ งการท้งั เมียหลวงและเมียนอ้ ยอยา่ งไม่มีสิทธ์ิเลือกหากจะ อาศยั ในบา้ นสามี เพราะจารีตกาหนดใหต้ อ้ งรับความคมุ้ ครองจากผชู้ ายเสมอ เม่ือยงั เลก็ กอ็ ยใู่ นความ ปกครองของพอ่ หลงั แตง่ งานตอ้ งอยใู่ ตอ้ านาจสามี และหากสิ้นสามีก็ตอ้ งอยใู่ นความดูแลของลูกชาย ตอ่ เดก็ สาวบางคนเคยมีพลงั ความสามารถ หลงั แตง่ งานกลบั ถกู กรอบวฒั นธรรมกดข่ใี หอ้ ยใู่ ตอ้ านาจ สามีและอดทนอยา่ งไมม่ ีสิ้นสุด บางคนอดทนมากจนคดิ วา่ ท่ีตนเผชิญไมใ่ ช่ปัญหา บางคนถูกสามีทา ร้ายร่างกายสาหสั กย็ งั ทน หากผหู้ ญิงเลิกกบั สามีหรือสามีเสียชีวิตแลว้ ผหู้ ญิงจึงไม่มีที่อยเู่ พราะกลายเป็น คนอื่นของท้งั สองครอบครัว ไม่มีใครยนิ ดีใหร้ ่วมชายคาเพราะเกรงกลวั จะถกู อานาจของส่ิงเหนือ ธรรมชาติลงโทษแตก่ ็มีพอ่ แม่ที่รักลูกมากจึงช่วยหาท่ีอยใู่ หแ้ ตไ่ ม่อนุญาตใหร้ ่วมประกอบพธิ ีกรรม ประจาตระกลู อีก เพราะลกู สาวถูกตดั ผีแลว้ ไม่อาจกลบั มาเป็นสมาชิกของครอบครัวผใู้ หก้ าเนิดไดอ้ ยา่ ง สมบรู ณ์เหมือนเมื่อก่อน เน่ืองจากตามประเพณีของมง้ เมื่อลูกสาวแต่งงานออกไป กต็ อ้ งตดั ขาดกบั ครอบครัวเดิม เพื่อเขา้ ไปเป็นสมาชิกของครอบครัวสามีอย่างเตม็ ตวั การตดั ขาดน้ีมีผลต่อความเชื่อของ ครอบครัวและชุมชนมง้ อยา่ งแรงกลา้ ไม่มีสิทธิเขา้ ร่วมในพธิ ีกรรมทางศาสนาหรืองานเล้ียงฉลองใด ๆ ในชุมชนที่ถือกาเนิดมาแมแ้ ต่นอ้ ย และหากเกิดเหตกุ ารณ์โชคร้ายใด ๆ ข้ึนในชุมชนท่ีเธออยู่ ไมว่ า่ จะ
3 เกิดอุบตั ิเหตุ หรือมีคนเจบ็ ป่ วย กม็ ีแนวโนม้ วา่ คนในครอบครัวเองหรือชาวบา้ นจะมองว่าเธอเป็นผูน้ า โชคร้ายมาสู่ชุมชน บางคนเขา้ ร่วมองคก์ รคริสตเ์ ตียนเปล่ียนศาสนาเลยกม็ ีเพราะไมอ่ ยากทาให้ ครอบครัวเดือดร้อน ชาติพนั ธุ์มง้ จึงมีพิธีผขู่ ้นึ เพ่ือเป็นการปกป้องศกั ด์ิศรีและใหผ้ หู้ ญิงมีความเสมอภาคเท่าเทียม กบั ผชู้ ายไม่ใหล้ ะเมิดสิทธิมนุษยชน พธิ ีผเู่ ป็นพิธีกรรมที่มีอยแู่ ลว้ ในจารีตในไทยเองก็เคยใช้ เช่นเดียวกบั มง้ ทวั่ โลก แต่เพราะวิถีมง้ เป็นสงั คมเกษตรกรรม ทมุ่ เทกบั การหากินเวลากลางวนั หากมี ปัญหาคอ่ ยไกล่เกลี่ยตอนกลางคืนผา่ นคนกลางท่ีพอ่ แม่แต่ละฝ่ายจดั หาท่ีบา้ นของผนู้ าชุมชนโดยเจา้ ของ ปัญหาไม่จาเป็นตอ้ งอยู่รับรู้ คร้ันต่างฝ่ายทางานมาท้งั วนั ตกดึกกอ็ ่อนแรงอยากพกั มากกวา่ บางคร้ังผู้ ไกล่เกลี่ยทาหนา้ ที่แลว้ แตล่ ะเลยแจง้ ใหพ้ อ่ แมฝ่ ่ายหญิงรับรู้ก็มี เมื่อถึงเวลาท่ีตอ้ งทาพธิ ีรับลูกสาวกลบั บา้ นพอ่ แมจ่ ึงไมไ่ ดอ้ ยรู่ อนานวนั พธิ ีกรรมอนั สาคญั จึงตกหาย สาหรับชาติพนั ธม์ ง้ ตระกลู เป็นเร่ือง สาคญั มาก ไม่ไดน้ บั แค่พอ่ แม่ แต่หมายรวมถึงผบี รรพชนตน้ ตระกูลแซ่ลงมา ส่ิงตา่ งๆ ที่เกิดจึงไมอ่ าจ ตดั สินใจไดโ้ ดยพอ่ แม่เทา่ น้นั จาเป็นตอ้ งรับรู้กนั ท้งั ตระกูล และคนส่วนใหญ่มกั จะไม่รู้จกั พธิ ีกรรมน้ี ดว้ ยเหตนุ ้ีกลมุ่ ของขา้ พเจา้ จึงตอ้ งการศึกษาความเชื่อ ท่ีมา และข้นั ตอนในการดาเนิน พธิ ีกรรมของพิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ วตั ถปุ ระสงค์ของโครงงาน 1.เพอื่ ศึกษาความเชื่อและที่มาของพิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ 2.เพ่อื ศึกษาข้นั ตอนในการดาเนินพิธีกรรมของพธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้
4 บทที่ 2 เอกสารท่เี กย่ี วข้อง จากการศึกษาโครงงานประวตั ิศาสตร์และภมู ปัญญาทอ้ งถ่ิน เรื่องความเช่ือและที่มาของพธิ ี ผขู่ องชนเผา่ มง้ พบวา่ เอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั โครงงานมีดงั น้ี 1. สถาบนั ครอบครัว 2.ชาติพนั ธ์มง้ 3. การแต่งงาน 4. การหยา่ ร้าง โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1. สถาบนั ครอบครัว สถาบนั ครอบครัว เป็นสถาบนั พ้ืนฐานแรกท่ีสุดและมีความสาคญั ยง่ิ ของสังคม เพราะ สถาบนั ข้นั มูลฐานท่ีเป็นจุดเริ่มตน้ ของสถาบนั ท้งั หลาย ในสมยั ก่อนน้นั สถาบนั ครอบครัวทาหนา้ ที่เป็น ท้งั สถาบนั การศึกษา สถาบนั เศรษฐกิจ และสถาบนั การ ปกครอง หรืออธิบายไดว้ า่ สถาบนั ครอบครัว ทาหนา้ ท่ีใหก้ ารศึกษาและความรู้ นอกจากน้ียงั ทาหนา้ ที่ในดา้ นเศรษฐกิจ และปฏิบตั ิหนา้ ที่ในการ อบรมสง่ั สอนสมาชิกของครอบครัวให้เป็นพลเมืองดี 1.1 สถาบนั ครอบครัวมีองคป์ ระกอบโดยแบ่งออกเป็น 2 แบบ ดงั น้ี 1.1.1 ครอบครัวเดี่ยว ไดแ้ ก่ ครอบครัวพ่อแม่ลกู ซ่ึงมีท่ีอยอู่ าศยั ตามลาพงั และ หาเล้ียงครอบครัวดว้ ยตนเอง ครอบครัวส่วนใหญ่ในซีกโลกตา่ งๆสมยั ปัจจุบนั น้ีมีลกั ษณะเป็นครอบครัวเด่ียว ซ่ึงรูปแบบของครอบครัวเด่ียวมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ (1) ครอบครัวเด่ียวชายเป็นหวั หนา้ ครอบครัว โดยที่ผชู้ ายจะมี หนา้ ท่ีรับผิดชอบการพฒั นาของครอบครัว และมีอานาจในการ ตดั สินใจ (2) ครอบครัวเด่ียวหญิงเป็นหวั หนา้ ครอบครัว โดยท่ีผหู้ ญิงมี หนา้ ที่รับผิดชอบเศรษฐกิจของครอบครัว และมีอานาจในการ ตดั สินใจปัญหาต่างๆ
5 1.1.2 ครอบครัวขยาย คือ ครอบครัวขนาดใหญ่ ประกอบดว้ ยเครือญาติต้งั แต่ 3 ชว่ั คนข้ึนไปที่มีความสมั พนั ธก์ นั โดยการเกิดหรือการแตง่ งานมาอยรู่ ่วมกนั เป็นลกั ษณะส่วนใหญข่ องครอบครัวทางตะวนั ออก ลกั ษณะของครอบครัวจะ มีกลุ่มญาติพ่ีนอ้ งอยรู่ ่วมกนั อยา่ งใกลช้ ิด แมม้ ีครอบครัวใหม่แลว้ ก็ยงั คงอยู่ รวมกนั ซ่ึงสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 3 รูปแบบ คือ (1) ครอบครัวขยายญาติพ่ีนอ้ ง คือ ครอบครัวที่อยรู่ วมกนั ต้งั แต่ ป่ ยู า่ ตายาย พอ่ แม่ และญาติพี่นอ้ งท่ีใกลช้ ิด ซ่ึงอาจมีลกั ษณะ พิเศษของการอยรู่ ่วมกนั ไดแ้ ก่ ครอบครัวขยายทางฝ่ายชายเป็น ครอบครัวที่มีผชู้ ายเป็นใหญ่ ประกอบดว้ ย ป่ ู บิดา หรือ ญาติท่ี อาศยั อยเู่ ป็นญาติของฝ่ายชาย และครอบครัวขยายทางฝ่ายหญิง เป็นญาติที่อาศยั อยทู่ างฝ่ายหญิง ฝ่ายหญิงอาจมีอานาจเป็น หวั หนา้ ครอบครัว เช่น ชนชาวเขาบางเผา่ หรือต่อไปฝ่ายชาย อาจไดร้ ับมอบหมายให้เป็นหัวหนา้ ครอบครัวภายหลงั ญาติฝ่าย หญิงเสียชีวิตแลว้ กไ็ ด้ (2) ครอบครัวขยายร่วมเผา่ พนั ธุ์ คอื เป็นครอบครัวที่คนหมชู่ น เผา่ เดียวกนั อยรู่ วมกนั มีความคดิ เห็นร่วมกนั แบ่งปันกนั โดยมี หวั หนา้ ครอบครัวเพยี งคนเดียวเป็นผดู้ ูแลรับผดิ ชอบความเป็นอยู่ ของสมาชิก เช่น ครอบครัวพวกยบิ ซี (3) ครอบครัวขยายรวมกลมุ่ ครอบครัวชนิดน้ีประกอบดว้ ยหลาย ครอบครัวมาอยรู่ วมกนั หวั หนา้ ครอบครัวเป็นเสมือนหัวหนา้ หมบู่ า้ นเป็นผรู้ ับผิดชอบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการเลือกคูค่ รอง ใหก้ บั สมาชิกในครอบครัว คนท้งั หมบู่ า้ นอยรู่ ่วมกนั มีความ รับผดิ ชอบร่วมกนั เช่น ครอบครัวจีนโบราณ ครอบครัวชาวยวิ หรือ ครอบครัวโรมานซ์ ในสมยั แรกเร่ิมของยโุ รปและอเมริกา 1.2 บทบาทหนา้ ที่ของสถาบนั ครอบครัว 1.2.1 สร้างสมาชิกใหมใ่ หแ้ ก่สงั คม เพือ่ ใหส้ ังคมดารงอยแู่ ละสืบตอ่ ไปได้ อยา่ งมนั่ คง 1.2.2 เล้ียงดู อบรม สง่ั สอนสมาชิกใหม่ใหเ้ จริญเติบโตอยา่ งมีคุณภาพ
6 1.2.3 ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินยั ทางสังคมแก่สมาชิกเพ่อื ใหเ้ ป็น สมาชิกท่ีดีและดารงชีวิต ไดอ้ ยา่ งมีความสุข 1.2.4 กาหนดสถานภาพและบทบาทของบคุ คล เช่น เพศ เช้ือชาติ ภมู ิลาเนา ฯลฯ ซ่ึงสามารถ เปลี่ยนแปลงไดต้ ามบรรทดั ฐานของแตล่ ะสงั คม เพื่อให้ สมาชิกทกุ คนรู้วา่ ตนเองมีตาแหน่งหรือฐานะอะไร แสดงบทบาทหนา้ ที่ความ รับผิดชอบอยา่ งไร จึงจะถูกตอ้ งเหมาะสม 1.2.5 เป็นแหล่งขดั เกลาทางสงั คมใหก้ ารอบรมสงั่ สอน การเรียนรู้ระบบ ความคดิ การสร้างคุณค่าของส่ิงตา่ ง ๆ การเสริมสร้างบุคลิกภาพใหก้ บั สมาชิก ในครอบครัว 1.2.6 ใหค้ วามรักความอบอุน่ ความหวงั กาลงั ใจใหแ้ ก่สมาชิก เพื่อใหเ้ ป็นผมู้ ี ความมนั่ คงทางจิตใจ สามารถดารงชีวิตอยใู่ นสงั คมอยา่ งมีความสุข 1.2.7 เป็นแหล่งถ่ายทอด ฝึกฝนวิชาชีพบ่มเพาะใหเ้ ป็นท้งั ผผู้ ลิตและผบู้ ริโภคท่ี มีคณุ ภาพของสังคม 1.2.8 เป็นแหล่งใหก้ ารสังคมสงเคราะหเ์ บ้ืองตน้ มีความรักความเอ้ืออาทร ช่วยเหลือเก้ือกูลกนั ในหมู่ เครือญาติในสภาวะวิกฤติต่าง ๆ ท่ีประสบอยู่ 1.2.9 ควบคุมพฤติกรรมทางเพศของบุคคลในสังคมใหเ้ หมาะสมในรูปของ การสมรส ซ่ึงคู่สมรสจะตอ้ ง ปฏิบตั ิตนตามสถานภาพและบทบาทของแต่ละ ฝ่าย เช่น สามีหรือภรรยาตามท่ีสังคมกาหนด ครอบครัวเป็นสถาบนั ทางสงั คมที่เลก็ และเก่าแก่ที่สุดที่เป็นรากฐานของระบบสงั คม ท้งั หลายเพราะฉะน้นั ครอบครัวจึงไดช้ ่ือวา่ เป็นสถาบนั เบ็ดเสร็จโดย ไมม่ ีสถาบนั ใดๆ ที่ทาหนา้ ท่ีแทน สถาบนั ครอบครัวไดท้ กุ อยา่ ง มนุษยย์ อ่ มมีการเกิดและไดร้ ับการอบรมเล้ียงดูภายในครอบครัว ไดร้ ับ ความรักจากพ่อแม่ ญาติพีน่ อ้ ง มนุษยจ์ ึงจะสามารถ เจริญเติบโตไดอ้ ยา่ งปกติมีความตอ้ งการชีวติ ครอบครัวเม่ือเติบใหญ่พ่อแม่จึงเป็นบคุ คลสาคญั ในการปลกู ฝังความรับผดิ ชอบในหนา้ ท่ีการเอาใจใส่ บตุ รใหไ้ ดร้ ับความรู้ศีลธรรม จรรยา มารยาท ตลอดจนการเรียนรู้ทางสงั คม สรุปไดว้ ่า ครอบครัวเป็น สถาบนั แรกที่ทาใหบ้ ุคคลเกิดการเรียนรู้ ทางสังคม นอกจากน้นั ยงั ช่วยสร้างบคุ ลิกภาพแห่งความเป็น มนุษยอ์ ีกดว้ ย สัญลกั ษณ์และค่านิยมของสถาบนั ครอบครัวท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ แหวนหม้นั การจดทะเบียน สมรสการ ประกอบพธิ ีมงคลสมรส เป็นตน้ สถาบนั ครอบครัวในแตล่ ะสงั คมยอ่ มมีคา่ นิยมวฒั นธรรม ประเพณีท่ีแตกต่างกนั เช่น สังคมไทยในอดีตการแต่งงานเป็นส่ิงสาคญั มาก ผใู้ หญท่ ้งั สองฝ่ายจะเป็น
7 ผดู้ าเนินการให้ ถูกตอ้ งตามขนบธรรมเนียมประเพณี ต้งั แต่พธิ ีการสู่ขอ พิธีหม้นั พิธีแต่งงาน เป็นพิธีที่ สวยงามและ มีเกียรติยงิ่ เป็นการแสดงใหส้ งั คมรับรู้ ผชู้ ายจะเป็นผนู้ าครอบครัว ซ่ึงแตกตา่ งจากปัจจุบนั ท่ีการแต่งงานบา่ วสาวจะเป็นผดู้ าเนินการเอง ต้งั แต่การเตรียมงาน เตรียมสถานท่ี เครื่องแตง่ กาย ขา้ ว ของเครื่องใช้ การจดั งานเล้ียง ของชาร่วย 2.ชาติพนั ธ์ุม้ง มง้ เป็นกลมุ่ ชาติพนั ธุใ์ นภเู ขาของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และมีประวตั ิศาสตร์อันยาวนาน ชาวมง้ อพยพลงมาทางใตต้ ้งั แต่ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากสถานการณ์ท่ีไมส่ งบทางการเมืองและหาพ้ืนท่ี ที่เหมาะสมกบั การเพาะปลูก ปัจจุบนั มีชาวมง้ อาศยั อยใู่ นประเทศจีน ไทย เวียดนาม ลาว และ สหรัฐอเมริกา ประวตั ิศาสตร์การต้งั ถิ่นฐานและการอพยพของมง้ ท่ีเกิดข้นึ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 เป็น ตน้ มาน้นั อาจแบง่ ไดเ้ ป็นสามช่วงหลกั กล่าวคือช่วงแรกคือช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 การอพยพของมง้ จาก ทางตอนใตข้ องจีนเขา้ สู่ทางตอนเหนือของเวยี ดนาม ลาว พม่า และไทย การอพยพเกิดข้ึนหลายระลอก ซ่ึงลว้ นแลว้ แต่มีปัจจยั ผลกั ดนั จากตน้ ทางให้เกิดการอพยพคือ การช่วงชิงทรัพยากรของกลุ่มคนตา่ ง ๆ ในจีน ขณะเดียวกนั ความอุดมสมบูรณ์ของพ้นื ที่ดอยสูงในแหลมอินโดจีนที่เหมาะกบั การปลกู ฝิ่นกเ็ ป็น แรงดึงดูดคนมง้ ใหเ้ ขา้ มาต้งั ถิ่นฐาน การอพยพเขา้ มาสู่เขตอิทธิพลของสยามในช่วงแรกน้นั ไมเ่ ป็นท่ี สังเกตหรือรับรู้โดยเจา้ เมืองประเทศราชของสยามแต่อยา่ งใด อนั เนื่องมาจากการเขา้ ไปอยตู่ ามพ้ืนที่ป่ า ตามดอยสูงตา่ ง ๆ ซ่ึงศนู ยก์ ลางของอานาจของเจา้ เมืองและสยามเขา้ ไปไมถ่ ึง กอปรกบั ไมม่ ีเสน้ ทาง คมนาคมที่สะดวกดว้ ย ความสมั พนั ธข์ องมง้ กบั กลุ่มคนทอ้ งถิ่นในพ้นื ที่จึงยงั ไมเ่ กิดข้ึน อยา่ งไรก็ตามใช่ วา่ พวกเขาจะถูกตดั ขาดจากโลกภายนอก การเป็นผปู้ ลูกฝ่ิ นทาใหพ้ วกเขาน้นั ไดท้ าการแลกเปล่ียนสินคา้ ทามาคา้ ขาย และเดินทางหาประสบการณ์ร่วมกบั คนจีนมุสลิมยนู นานท่ีเป็นพ่อคา้ คนกลางในการรับซ้ือ ฝ่ินจากพวกเขา ขณะเดียวกนั ตา่ งซ้ือของจาเป็น เช่น เกลือ ผา้ และส่ิงจาเป็นอื่น ๆ นาไปขายตามหมูบ่ า้ น มง้ การอพยพในช่วงท่ีสอง เป็นการอพยพของมง้ จากหลวงพระบางเขา้ มาอย่ใู นเขตอิทธิพล ของสยามท่ีเป็นหวั เมืองประเทศราชทางตอนเหนือของสยาม ซ่ึงเป็นจงั หวดั ต่าง ๆ ทางภาคเหนือ ตอนบนและภาคเหนือตอนล่างในปัจจุบนั การอพยพคร้ังดงั กลา่ วเกิดข้นึ ในช่วงทศวรรษ 2430 ซ่ึงเป็น ช่วงท่ีทางตอนเหนือของลาวท้งั หมดตกอยใู่ นอานาจของสยาม สถานการณ์ในหลวงพระบางมีการเก็บ ภาษสี ูงมากข้นึ หลายเทา่ ตวั มีโจรปลน้ สะดม การกดข่ีแรงงาน และการเกณฑค์ นลาวมาเป็นกาลงั พลของ สยาม จนเกิดเหตกุ ารณ์การต่อตา้ นของกลุ่มธงสีตา่ ง ๆ ท่ีขาดผลประโยชนใ์ นการคา้ ขา้ วและฝ่ิน จน นามาซ่ึงสงครามและความขดั แยง้ ในแถบน้นั มง้ ในหลวงพระบางเองกไ็ ดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์
8 ดงั กลา่ วดว้ ย พวกเขาส่วนหน่ึงไดเ้ ดินทางร่วมกบั กลุ่มคนไทลาว ไทล้ือ ไทยวน ขมุ และเม่ียน มาอยใู่ น เขตอิทธิพลของเจา้ เมืองน่าน ต้งั ขอ้ สังเกตวา่ ช่วงเวลาดงั กล่าวมง้ กเ็ ป็นหน่ึงในกล่มุ ผไู้ ดร้ ับความ เดือดร้อน และอพยพมาอยใู่ นความปกครองของเจา้ เมืองน่าน ซ่ึงเจา้ เมืองน่านไดใ้ หค้ วามอนุเคราะหก์ บั ผคู้ นดงั กล่าวท้งั ท่ีดิน เมลด็ พนั ธุ์พืช และการยกเวน้ ภาษีในช่วงการผลิตของปี แรก นอกจากการเขา้ มายงั พ้นื ท่ีดงั กลา่ วแลว้ มง้ ยงั ไดเ้ ขา้ มาอยใู่ นพ้นื ที่ที่ปัจจุบนั เป็นพิษณุโลก เลย และเพชรบรู ณ์ รวมถึงตากและ เชียงใหม่ดว้ ย การเคล่ือนยา้ ยและการกระจายตวั ของกลุ่มมง้ ต่าง ๆ ก่อนที่จะมีการต้งั ถ่ินฐานอยา่ งถาวร ของมง้ ในปัจจุบนั เส้นทางการอพยพและท่ีต้งั ถ่ินฐาน ไดท้ าการสอบถามจากผอู้ าวุโสที่สืบทอดความ ทรงจาจากรุ่นต่อรุ่นมา พบวา่ เส้นทางท่ีมง้ เขา้ มายงั ประเทศไทยมีอยสู่ ามเสน้ ทาง คือ เส้นทางแรก อยู่ บริเวณชายแดนจงั หวดั น่านและพะเยา ซ่ึงมีภแู วและภูลงั กาเป็นหลกั จากน้นั กลมุ่ ท่ีเขา้ มาทางน้ีกอ็ พยพ โยกยา้ ยไปยงั ขนุ สถาน ดอยชา้ ง ดอยอา่ งขาง ภูหินร่องกลา้ เขาคอ้ และดอยละแหง เส้นทางท่ีสอง คือ เขา้ มาทางบริเวณภชู ้ีฟ้าและดอยผาหมน่ และที่ราบระหวา่ งเมืองเชียงของกบั เชียงแสน จากน้นั เดินทาง ตอ่ มายงั ดอยยาว ดอยชา้ ง ดอยอา่ งขาง ดอยผา้ ห่มปก และดอยจกั ตอกในพมา่ ปัจจุบนั และเขา้ มาท่ีดอย เชียงดาว ดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์ ดอยปางอ๋งุ ดอยหมากพริก เป็นตน้ และเส้นทางสุดทา้ ยคอื ขา้ ม แมน่ ้าโขงบริเวณประเทศลาวและพม่าสู่บริเวณเหนือทา่ ข้ีเหลก็ แลว้ ลงมากระจายตวั ไปต้งั ชุมชนตา่ ง ๆ ในจงั หวดั เชียงราย การอพยพในช่วงท่ีสาม เป็นการอพยพของคนในลาวเขา้ สู่ศนู ยอ์ พยพในไทย อนั เนื่องมาจากสถานการณ์ทางเมืองที่คนมง้ ในลาวไดถ้ กู แบ่งออกเป็นสองฝ่ายภายใตอ้ ุดมการณ์ทาง การเมือง มง้ ส่วนหน่ึงไดท้ าการสนบั สนุนฝ่าย \"ประเทศลาว\" กบั มง้ อีกกลุ่มหน่ึงท่ีเขา้ ร่วมกบั ฝ่าย ประชาธิปไตยท่ีมีสหรัฐอเมริกาเป็นผสู้ นบั สนุนหลกั กลา่ วคอื ภายหลงั ปี พ.ศ. 2518 ท่ีฝ่ายปะเทศลาว ไดร้ ับชยั ชนะจากการต่อสู้แลว้ กท็ าใหค้ นมง้ ฝ่ายท่ีสนบั สนุนฝ่ายประชาธิปไตยก็ถูกปราบปรามจนไม่ สามารถอยใู่ นประเทศลาวได้ จนตอ้ งล้ีภยั เขา้ มาอยตู่ ามศูนยอ์ พยพในไทยก่อนที่กล่มุ ประเทศตะวนั ตก อุดมการณ์ประชาธิปไตยจะรับพวกเขาไปเป็นพลเมืองต่อไป ประการสาคญั คือ คนมง้ กล่มุ น้ีไมไ่ ด้ เดินทางไปตา่ งประเทศหมด มีบางส่วนที่ปฏิเสธในการไปต้งั ถิ่นฐานในประเทศท่ีสาม และยนื ยนั ที่จะ อยใู่ นประเทศไทย พวกเขาก็ถูกรัฐบาลไทยจดั ใหไ้ ปอยรู่ ่วมกบั คนมง้ ไทยตามชุมชนตา่ ง ๆ โดยเฉพาะ ตามชุมชนท่ีเคยเป็นฐานท่ีมนั่ ของ พคท. หรือพรรคคอมมิวนิสตแ์ ห่งประเทศไทย ก่อนไดร้ ับการจดั ต้งั ระหวา่ งปี พ.ศ. 2525-2532 ภายหลงั ชาวมง้ ลาวกลุ่มน้ีจึงพลอยไดร้ ับสัญชาติไทยตามชาวมง้ ผรท. ไป ดว้ ย ฉะน้นั เวลาที่เราพูดถึงคนมง้ ไทยน้นั จึงมิไดค้ รอบคลุมถึงเฉพาะบุคคลที่อยอู่ าศยั มาหลายชว่ั อายุ
9 คนเท่าน้นั แต่หมายถึงกลุ่มคนมง้ ลาวส่วนหน่ึงท่ีเขา้ มาในระลอกหลงั และปัจจุบนั กลายเป็นส่วนหน่ึง ของรัฐชาติไทยดว้ ย 3.การแต่งงาน การแตง่ งาน คอื การเขา้ ร่วมพิธีของชายหญิงที่ตกลงปรงใจที่จะใชช้ ีวติ ร่วมกนั เพอ่ื ใหเ้ ป็น สามีภรรยาอนั ถกู ตอ้ งตามประเพณีหรือกฎหมายของสงั คม ซ่ึงแสดงถึงวยั หรือช่วงเวลาอนั เหมาะสม ของชายหญิงที่จะใชช้ ีวิตร่วมกนั ฉนั สามีภรรยาในการสร้างครอบครัวใหม่ พร้อมกบั เป็นที่ยอมรับของ สงั คม การแต่งงานเป็นข้นั ตอนหน่ึงของชีวิต เป็นการแสดงถึงความเป็นผใู้ หญ่พร้อมที่จะเร่ิมตน้ สร้าง ครอบครัวของตนเอง ข้นั ตอนการแตง่ งานน้นั ประกอบดว้ ย 2 ข้นั ตอน คือ การสู่ขอหรือการหม้นั หมาย และสุดทา้ ยเป็นการสมรสหรือเขา้ พิธีแต่งงาน ซ่ึงเป็นกลไกที่สังคมกาหนดข้นึ เพอ่ื ใหห้ ญิงชายมีโอกาส ใชช้ ีวิตร่วมกนั และ สร้างครอบครัวข้ึนใหม่เป็นของตนเอง 3.1 การแต่งงาน 3 ประเภท 3.1.1 ววิ าหมงคล คือ ประเพณีแต่งงานท่ีนิยมทากนั ณ บา้ นฝ่ ายหญิง หรืออาจ ไม่ใช่บา้ นฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง แต่เป็นการแตง่ งานที่ฝ่ายชายเป็นผสู้ ู่ขอฝ่ายหญิง และตอ้ งเขา้ พธิ ีกรรมทางศาสนา โดยฝ่ายชายจะเดินทางเขา้ พิธี ณ บา้ นฝ่าย หญิงหรือท่ีใดท่ีหน่ึงท่ีจดั ข้นึ ซ่ึงก่อนเขา้ บา้ นฝ่ายหญิงหรือสถานท่ีทาพธิ ีก็ จะตอ้ งผา่ นประตูเงิน ประตูทอง เพื่อให้ญาติฝ่ายเจา้ สาวยนิ ยอมก่อน หลงั จาก น้นั คอ่ ยเขา้ สู่พิธีกรรมต่อไป จนถึงแลว้ เสร็จพิธี และหลงั จากแตง่ งานแลว้ เสร็จ ฝ่ายชายจะพกั อาศยั ท่ีบา้ นจา้ วสาวร่วมกบั บิดามารดาของฝ่ายจา้ วสาวโดย ตลอดหรือแยกพกั กบั เจา้ สาวเพยี งลาพงั การแต่งงานประเภทน้ี ไดแ้ ก่ การ แต่งงานตามประเพณีไทย ส่วนการแตง่ งานตามประเพณีของชาวคริสต์ ก็ตอ้ ง ทาพธิ ีเหมือนกนั คือ ทาการแต่งงานโดยมีบาทหลวงเป็นผทู้ าพิธี ซ่ึงนิยมทา พธิ ีท่ีโบสถห์ รืออารมในคริสตศ์ าสนา ซ่ึงกจ็ ดั เป็นวิวาหมงคล เหมือนกบั การ แตง่ งานตามประเพณีไทย 3.1.2 อาวาหมงคล คอื ประเพณีแตง่ งานท่ีนิยมทากนั ณ บา้ นฝ่ ายชาย โดยฝ่าย หญิงจะเดินทางเขา้ พิธี ณ บา้ นฝ่ายชาย ซ่ึงก่อนเขา้ บา้ นฝ่ายหญิงตอ้ งผา่ นประตู เงิน และเม่ือแตง่ งานแลว้ เสร็จ ฝ่ายหญิงจะพกั อาศยั ที่บา้ นฝ่ายชายร่วมกบั บิดา มารดาของฝ่ายชายหรือแยกพกั กบั เจา้ สาวเพียงลาพงั ลกั ษณะการแตง่ งาน ประเภทน้ี จะพบไดใ้ นบางประเทศ เช่น ประเทศอินเดีย และประเทศจีน เป็น ตน้
10 3.1.3 วิวาหเ์ หาะ คือ การแต่งงานท่ีไมไ่ ดเ้ ขา้ ข้นั ตอนกี่ทาพิธีแต่งงาน และไมไ่ ด้ ทา ณ บา้ นฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง โดยฝ่ายชาย และหญิงอาจแตง่ งานกนั เพยี งจด ทะเบียนสมรสตามกฎหมายเทา่ น้นั หรือการใหค้ ามนั่ สญั ญาท่ีจะใชช้ ีวิตคู่ ดว้ ยกนั เทา่ น้นั จนสร้างครอบครัวเป็นหลกั แหล่งได้ 3.2 การแตง่ งาน และพิธีแตง่ งานตามประเพณีไทย การแตง่ งานตามประเพณีไทยจะแลว้ เสร็จน้นั ตอ้ งเริ่มจากการหมน่ั หมายหรือการสู่ขอ ก่อนเพ่ือทาการตกลงเรื่องสินสอด และหาฤกษย์ าอนั ดี ก่อนท่ีจะเขา้ สู่พิธีแต่งงาน 3.2.1 การหม้นั หมาย คือ การท่ีฝ่ ายชายมาทาการสู่ขอเจา้ สาวกบั บิดามารดา ของฝ่ายจา้ วอยา่ งเป็นพิธีการ โดยมีผใู้ หญ่ท้งั สองฝ่ายมาร่วมเป็นสักขีพยาน รวมถึงเป็นการตกลงเร่ืองสินสอด และหาฤกษย์ ามอนั ดีในวนั ที่จะเขา้ พิธี แตง่ งาน การหมน่ั หมายหรือการสู่ขอน้นั ผใู้ หญท่ างฝ่ายชายจะเป็นผนู้ าพูดถึง วตั ถปุ ระสงคข์ องการมาคร้ังน้ีใหแ้ ก่ผใู้ หญท่ างฝ่ายเจา้ สาวรับทราบ หากผใู้ หญ่ ทางฝ่ายเจา้ สาวตกลงในเร่ืองการแตง่ แลว้ ทางผใู้ หญฝ่ ่ายชายจะสอบถามถึง สินสอดที่ตอ้ งการ ซ่ึงอาจจะเป็นฝ่ายบิดามารดาของจา้ วสาวเป็นผเู้ รียกหรือผทู้ ่ี เป็นจา้ วบา่ วกบั จา้ วสาวเป็นผูต้ ้งั ท้งั น้ี ในสมยั ก่อนจะเป็นบิดามารดาของฝ่าย จา้ วสาวเป็นผเู้ รียกเองเทา่ น้นั ซ่ึงสินสอดน้นั มกั ประกอบดว้ ยเงิน และทอง เป็นหลกั แต่อาจมีทรัพยอ์ ่ืนที่ตกลงกนั ได้ เช่น ที่ดิน หรือ อาคารบา้ นพกั เป็น ตน้ เมื่อตกลงสินสอดจนไดข้ อ้ ยตุ ิแลว้ ท้งั สองฝ่ายก็จะหาฤกษย์ ามเพ่อื ทาพิธี แต่งงาน ซ่ึงมกั จะมีผใู้ หญข่ องฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงท่ีมีความรู้เรื่องโหรมาร่วมดว้ ย แตบ่ างคร้ัง หากท้งั สองฝ่ายไมร่ ู้วนั ท่ีแน่นอน ก็จะบอกแค่ช่วงเดือนกวา้ งๆ ก่อน แลว้ จึงใหฝ้ ่ายใดฝ่ายหน่ึงไปหาฤกษว์ นั ท่ีชดั เจน แต่โดยส่วนมากจะหา วนั มาก่อนหรือใหโ้ หรผรู้ ู้มาดว้ ย เพือ่ ใหไ้ ดว้ นั ท่ีชดั เจนในวนั น้นั เลย สาหรับ ฤกษว์ นั แต่งน้นั จะข้นึ อยกู่ บั ความพร้อมของฝ่ายจา้ วบา่ วเป็นสาคญั เพราะ จะตอ้ งเตรียมสินสอดมาใหค้ รบทนั ตามเวลาท่ีกาหนด ซ่ึงบางคอู่ าจตกลงกนั ไดห้ ลงั จากสู่ขอแลว้ เพยี งไม่ก่ีวนั หรืออาจเป็นเดือน หรืออาจถึงขา้ มปี ก็ เป็นไปได้ สาหรับสินสอดที่จะมาแตง่ เม่ือในอดีตน้นั มกั จะเป็นฝ่ายชายที่เป็น คนหาเท่าน้นั แตป่ ัจจุบนั สังคมพฒั นา และเปลี่ยนแปลงมากข้นึ จึงมกั พบวา่ ท้งั ฝ่ายชาย และฝ่ายหญิงจะร่วมกนั หาสินสอดช่วยกนั นอกจากน้ีแลว้ การ หม้นั หมายยงั เป็นช่วงเวลาระหวา่ งการขอสมรสกบั การสมรส อนาคตคู่บา่ ว
11 สาวอาจเรียก ค่หู ม้นั วา่ ทีภรรยาหรือวา่ ท่ีสามี ระยะของช่วงน้ีมีไดต้ า่ งกนั ข้นึ อยกู่ บั บรรทดั ฐานทางสงั คมหรืออยบู่ นความตกลงของฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ ง 3.2.2 พธิ ีแต่งงาน เมื่อมาถึงกาหนดวนั พิธีแต่งงาน ซ่ึงก่อนหนา้ น้นั ผูเ้ ป็น เจา้ สาว และเจา้ บ่าวจะตอ้ งช่วยกนั เตรียมความพร้อมในดา้ นต่างๆ อาทิ การ พมิ พซ์ อง และแจกซองเรียนเชิญ การจดั สถานท่ี การนิมนตพ์ ระสงฆ์ และการ เตรียมขา้ วปลาอาหาร เป็นตน้ และเมื่อถึงวนั แต่งจะเขา้ สู่พธิ ี ดงั น้ี (1) การแห่กระบวนขนั หมาก และการผา่ นประตูเงิน ประตูทอง เมื่อเจา้ บ่าวเดินทางมาถึง ณ บา้ นจา้ วสาว เจา้ บ่าวจะยงั ไมไ่ ด้ ยนิ ยอมใหเ้ ขา้ บา้ นเจา้ สาวได้ ซ่ึงจะตอ้ งต้งั ขบวนขนั หมาก และ แห่เสียก่อน การแห่ขบวนขนั หมากน้ี กเ็ พือ่ บา่ วประกาศใหผ้ คู้ น ในบา้ นใกลเ้ รือนเคียงของฝ่ายจา้ วสาวรับทราบวา่ มีฝ่ายชายมา หมนั่ หมาย และจะแตง่ งานกบั ลกู สาวของบา้ นน้ีแลว้ การกลา่ ว บอกน้นั จะมีผูน้ าแห่ขบวน โห่ร้องนาขบวนจนถึงบา้ นเจา้ สาว การแห่ขบวนขนั หมากจะมีเจา้ บา่ วเดินนาหนา้ พร้อมดว้ ยคู่จา้ ว บา่ ว (บางพ้นื ท่ีจะไม่มีคเู่ จา้ บ่าว) และญาติมิตรผใู้ หญท่ ี่ช่วยกนั ถือ เคร่ืองสินสอด หมอนมงุ้ หรือขา้ วของเครื่องใชส้ าหรับใหเ้ จา้ บ่าว อาศยั ในบา้ นฝ่ายหญิง เม่ือขบวนขนั หมากมาถึงประตบู า้ น เจา้ สาวแลว้ เจา้ บ่าวจะตอ้ งผา่ นประตูนาก ประตูเงิน และประตู ทองเสียก่อน โดยมีฝ่ายญาติของเจา้ สาว 1 คู่ ยนื ถือสายสิญน์ก้นั ไว้ เป็นประตนู าก และอีกหน่ึงคู่ เป็นประตูเงิน และอีกหน่ึงคู่ เป็น ประตทู อง แตป่ ัจจุบนั มกั เหลือเพยี ง 2 ประตู คือประตเู งิน และ ประตทู อง ซ่ึงหากเจา้ บา่ วตอ้ งการผา่ นจะตอ้ งมอบทรัพยส์ ิน บางอยา่ งใหแ้ ก่ผเู้ ฝ้าประตทู ้งั 6 คน ซ่ึงทวั่ ไปมกั นาเงินใส่ซองขาว ยนื่ ให้ และเมื่อผา่ นประตูไปแลว้ คอ่ ยเขา้ ถึงประตูหนา้ บา้ น แลว้ เจา้ บ่าวจะตอ้ งกลา่ วคาบอกกล่าวตอ่ ผใู้ หญห่ รือสิ่งศกั ด์ิภายในบา้ น ก่อน ซ่ึงข้นั ตอนน้ีมกั จะมีผเู้ ป็นพราหมณ์มานากล่าว แต่ข้นั ตอนน้ี (บางพ้ืนที่อาจไมม่ ี เช่น แตง่ ที่โรงแรม) ก่อนจะเขา้ สู่หอ้ งพธิ ีตอ่ ไป (2) พิธีทางสงฆ์ เมื่อจา้ วบ่าว และจา้ วสาวพร้อมแลว้ ก็จะเขา้ สู่พิธี ทางพระสงฆ์ คอื การปวารณารักษาศีล 5 และการสวดเจริญพุทธ
12 มนต์ แลว้ จึงตามดว้ ยการถวายภตั ตาหารเชา้ แก่พระสงฆ์ ก่อนจะ ใหพ้ ร อนั เป็นจบพิธีของสงฆ์ มีรายละเอียดในข้นั ตอนตา่ งๆ คือ เม่ือพระสงฆเ์ ขา้ นงั่ บนอาสนะพร้อมแลว้ คูบ่ า่ วสาวทาการจุดธูป เทียนพระประธาน ต่อมาพราหมณ์นาสวดคาปวารณารับศีล 5 ก่อนพระสงฆจ์ ะกล่าวใหศ้ ีล 5 เป็นภาษาบาลีเป็นขอ้ ๆไป (ใน ข้นั ตอนน้ี ในบางพ้ืนที่จะมีคู่จา้ วบ่าว และคูจ่ า้ วสาวนง่ั อยดู่ า้ นขา้ ง ดว้ ย) เม่ือรับศีลเสร็จแลว้ พิธีตอ่ ไป คือ การสวดเจริญพทุ ธมนต์ โดยพระสงฆน์ าสวด โดยขณะสวดน้นั จะมีการจุดเทียนใหห้ ยดลง บนกระถางน้ามนตท์ ี่รองรับหยดเทียนดา้ นล่าง หลงั จากพระสงฆ์ สวดพทุ ธมนตเ์ สร็จจึงเป็นพรมน้ามนตต์ ่อ โดยมีพระผนู้ าหรือพระ ผอู้ าวุโสเป็นผพู้ รมน้ามนต์ เมื่อรับน้ามนตเ์ สร็จ บรรดาญาติมิตร จดั เตรียมสารับภตั ตาหาร พร้อมดว้ ยเคร่ืองถวายตา่ งๆ ก่อน พราหมณ์นากล่าวคาถวายภตั ตาหาร และเคร่ืองบริวารที่จะถวาย และเมื่อถวายเสร็จ พระสงฆจ์ ะสวดใหพ้ รแก่ญาติโยมท้งั สองฝ่าย หลงั จากน้นั พระสงฆจ์ ึงฉนั ภตั ตาหาร หลงั จากพระสงฆฉ์ ัน ภตั ตาหารเสร็จแลว้ และเดินทางกลบั แลว้ จึงเร่ิมข้นั ตอนนบั สินสอดต่อไป (3) พธิ ีสู่ขอ และนบั สินสอด พธิ ีสู่ขอน้ี เป็นการสู่ขอหรือแตง่ อยา่ ง เป็นทางการ ซ่ึงต่างกบั การสู่ขอหรือการหม้นั ในคร้ังแรก โดยฝ่าย เจา้ สาวเจา้ บา่ วนงั่ เคยี งกนั และมีขนั หมากพร้อมผใู้ หญ่ท้งั สองฝ่าย นงั่ ลม้ ขนั หมาก จากน้นั ทางญาติผใู้ หญฝ่ ่ายชายจะกล่าวคาสู่ขอตอ่ ญาติฝ่ายหญิง โดยมีญาติๆท้งั สองฝ่ายเป็นพยาน หลงั จากกลา่ วคา สู่ขอแลว้ จึงเร่ิมนบั สินสอดที่ไดต้ กลงกนั ไวว้ า่ ครบตามจานวน หรือไม่ ซ่ึงประเพณีโดยทว่ั ไปมกั ใส่เกินไปเลก็ นอ้ ย เพอื่ เป็นเคลด็ วา่ การเพม่ิ สินสอดน้นั จะทาใหม้ ีความเจริญเพ่มิ มากข้ึน โดยให้ นบั ลงเลขเกา้ เช่น สินสอดตกลงท่ีสามแสน แตฝ่ ่ายชายใส่เป็น สามแสนเกา้ ร้อยเกา้ สิบเกา้ บาท เป็นตน้ เมื่อสินสอดครบแลว้ แม่ เจา้ สาวจะใชผ้ า้ ห่อสินสอดเขา้ เกบ็ ไวก้ บั ตน จากน้นั เจา้ บ่าวจะนา แหวนหม้นั มาสวมใหฝ้ ่ายเจา้ สาว ส่วนฝ่ายหญิงไหวข้ อบคุณจา้ ว
13 บ่าว เร่ือสินสอด ในสมยั อดีตหรือในพอ่ แม่บางรายในปัจจุบนั จะ นาเก็บไวก้ บั ตนท้งั หมด แต่ก็มีบางรายที่พอ่ แม่จา้ วสาวใจดีกจ็ ะยก สินสอดน้นั คืนใหแ้ ก่ท้งั คู่ หรือ ใหค้ ืนเพียงบางส่วน (4) พธิ ีรดน้าพระพทุ ธมนต์ และใหพ้ ร หลงั จากการนบั สินสอด และจา้ วสวมแหวนหม้นั เสร็จแลว้ ก็เป็นอนั เสร็จพธิ ีท่ีสาคญั และ ถือวา่ คู่บา่ วสาวเป็นสามีภรรยาอนั ถกู ตอ้ งตามประเพณีแลว้ ต่อไป จึงเรียกวา่ สามีภรรยา ข้นั ตอนต่อมาจะเป็นการรดน้าสงั ขจ์ ากฝ่าย ญาติผใู้ หญท่ ้งั สองฝ่าย เพื่อเป็นการใหพ้ รแก่คูบ่ า่ วสาว โดยญาติ แตล่ ะคนจะเขา้ แถวเขา้ รดน้าสังข์ และกล่าวใหพ้ รแก่ท้งั คู่ ซ่ึงใน บางทอ้ งถิ่น ญาติบางคนอาจมีการผกู ขอ้ ไมข้ อ้ มือร่วมกบั เงินทอง ใหแ้ ก่ท้งั คู่ เงินทองน้ีมกั เรียกวา่ เงินผกู แขน ซ่ึงจะเป็นเงินทองที่คู่ บา่ วสาวนาไปใชส้ าหรับสร้างครอบครัวตอ่ ไป ส่วนลาดบั การรด น้าสงั ขห์ รือผกู ขอ้ ไมข้ อ้ มือจะเริ่มจากพ่อแม่ฝ่ายจา้ วบ่าว และจา้ ว สาวก่อน หลงั จากน้นั ก็ตามดว้ ยญาติผใู้ หญข่ องท้งั สองฝ่าย และ ตามมาดว้ ยแขกเรื่อที่เป็นคนรู้จกั หรือเพอื่ นๆจา้ วบ่าวจา้ วสาว (5) พธิ ีรับไหว้ หลงั จากรดน้าสังข์ และผกู ขอ้ ไมข้ อ้ มือเสร็จแลว้ ฝ่ายจา้ วบ่าวและจา้ วสาวจะตอ้ งทาการไหวผ้ ใู้ หญข่ องท้งั สองฝ่าย เพอื่ เป็นการระลึกถึงอุปการคณุ ที่ท่านมีต่อตน และเป็นการฝาก เน้ือฝากตวั แก่ทา่ นในฐานนะท่ีเป็นเสมือนบุตรในครอบครัวคน หน่ึงแลว้ โดยมีพานดอกไมธ้ ูปเทียนเป็นเคร่ืองสกั การะ ตอ่ จากน้นั จึงไหวข้ อบพระคุณแขกเรื่อที่มาร่วมงานต่อไป (6) พธิ ีส่งตวั เขา้ หอ การส่งตวั จา้ วบา่ ว จา้ วสาวเขา้ หอถือเป็น ข้นั ตอนสุดทา้ ยหลงั จากไหวผ้ หู้ ลกั ผใู้ หญแ่ ลว้ โดยมีแมจ่ า้ วสาว นาพา ท้งั น้ี ฝ่ายจา้ วบ่าวจะคอยในหอ้ งก่อนแลว้ แลว้ จึงนาจา้ วสาว เขา้ หอ้ งที่หลงั โดยพอ่ แมจ่ า้ วสาวจะพดู กลา่ วนาพาจา้ วสาวฝากฝัง ตอ่ จา้ วบา่ ว พร้อมใหโ้ อวาท และใหพ้ รแก่ท้งั คู่ อนั เป็นเสร็จพธิ ี หลงั จากพธิ ีแตง่ งานแลว้ เสร็จ บางคหู่ รือบางบา้ นอาจมีการจดั สงั สรรคเ์ ล้ียงตอ้ นรับแขกอีกคร้ังในตอนเยน็ ซ่ึงอาจมีการจดั งาน
14 บนั เทิงต่างๆร่วมดว้ ย ต่อจากน้นั ในช่วงเชา้ อีกวนั คู่สามีภรรยามกั ไปทาบญุ ตกั บาตรร่วมกนั จากประเพณีการแต่งงานที่จดั ทาเป็นพธิ ีการข้นั ตอนต่าง ๆ น้นั จึงนบั วา่ มีความสาคญั มาก และเป็นประเพณีที่งดงามเหมาะสม แสดงถึงความเจริญงอกงามทางวฒั นธรรมดา้ นจิตใจ และ วฒั นธรรมทางดา้ นวตั ถุของบรรพบุรุษของไทยเราท่ีมองการณ์ไกล และมีความละเอียดออ่ น โดย ธรรมชาติของสิ่งที่มีชีวติ แลว้ ยอ่ มมีความตอ้ งการทางเพศสมั พนั ธ์ และตอ้ งการสืบสกลุ ต่อไปดว้ ย จึงทา ใหเ้ กิดความแตกตา่ งกนั ระหวา่ งคนกบั สัตว์ และขณะเดียวกนั กฎหมายและประเพณีไทยเราจึงตอ้ ง กาหนดกฎเกณฑข์ องบุคคลที่จะทาการแตง่ งานไดจ้ ะตอ้ งมีเงื่อนไขอีกหลายอยา่ ง ดว้ ยเหตุน้ีประเพณี การแตง่ งานจึงจาเป็นตอ้ งจดั ใหม้ ีพธิ ีกรรมตามข้นั ตอนของประเพณีไทย เร่ิมต้งั แต่ การทาบทาม สู่ขอ หม้นั และแตง่ งาน พธิ ีการแต่งงานน้ีถา้ จะใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม จะตอ้ งประกอบพิธีทางศาสนาดว้ ยใน ตอนเชา้ และอีกพธิ ีกค็ อื จะตอ้ งจดทะเบียนแต่งงานใหถ้ ูกตอ้ งตามกฎหมาย กถ็ ือวา่ การแต่งงานน้นั ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ ส่วนจะทาพิธีหลงั่ น้าพระพทุ ธมนตแ์ ละประสาทพรน้นั จะกระทาตอนเยน็ และเล้ียง รับรองแขกผมู้ ีเกียรติไปพร้อมกนั หลงั จากหลง่ั น้าพระพทุ ธมนตแ์ ละประสาทพรแลว้ หรือจะทาใหเ้ สร็จ ภายในภาคเชา้ เลยก็ได้ จะเป็นการประหยดั ท้งั เวลาและเงิน ไม่เป็นการตาน้าพริกละลายแม่น้า การท่ีจะ เล้ียงรับรองแขกจะกระทาท่ีบา้ น หรือโรงแรม สโมสร ท่ีใดท่ีหน่ึงกไ็ ด้ ข้นึ อยกู่ บั ฐานะทางเศรษฐกิจของ คู่บา่ วสาวและเจา้ ภาพของท้งั สองฝ่าย 4. การหย่าร้าง การหยา่ ร้าง คือ การหยา่ เป็นการกระทาเพ่ือสิ้นสุดความสมั พนั ธ์ทางการสมรสที่ทาข้นึ อยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมายและมีการแจง้ การสมรสเป็นหลกั ฐาน ท้งั น้ีสามารถกระทาไดโ้ ดยการตกลง กนั หรือโดยการตดั สินของศาล 4.1 สาเหตุของการหยา่ ร้าง 4.1.1 การนอกใจ การคบชูเ้ ป็นเหตผุ ลทวั่ ไปที่ทาใหช้ ีวิตคพู่ งั ทลายโดยที่ความ ปรารถนาทางเพศอาจเป็นสาเหตุใหเ้ กิดการนอกใจ ซ่ึงนี่รวมถึงความไมเ่ ทา่ เทียมในเร่ืองของความตอ้ งการทางเพศ ความไม่พอใจหรือการโกรธเคืองครู่ ัก ของคุณ และความเสื่อมสลายในความสัมพนั ธ์รักระหวา่ งสามีกบั ภรรยา 4.1.2 ความแตกต่างที่ทาใหไ้ มส่ ามารถเขา้ กนั ไมไ่ ดน้ ้นั มกั ถกู ใชเ้ ป็นขอ้ อา้ ง สาหรับการหยา่ ร้าง การเขา้ กนั ไม่ไดอ้ าจเป็นปัจจยั หน่ึงของการหยา่ ร้าง โดยเฉพาะคูร่ ักท่ีแตง่ งานกนั เร็วจนเกินไป บางคร้ังในท่ีสุดพวกเขาก็พบวา่ คู่รักของเขาหรือเธอน้นั ไม่ใช่คนที่เขาหรือเธอรู้จกั อีกต่อไป แต่บางคร้ังมนั
15 กลบั สายไปแลว้ ความแตกตา่ งในเรื่องของรูปแบบการเป็นพ่อหรือแม่ สามารถทาใหเ้ กิดความตึงเครียดในชีวิตแตง่ งานได้ เม่ือมีสมาชิกตวั นอ้ ยเพม่ิ ข้ึนมาอีกหน่ึงคน 4.2 ลกั ษณะการหยา่ มีอยู่ 2 กรณีคือ 4.2.1 การหยา่ โดยความยนิ ยอมของท้งั 2 ฝ่าย โดยที่ตอ้ งทาเป็นหนงั สือและมี พยานลงลายมือช่ือรับรองอยา่ งนอ้ ย 2 คน และตอ้ งไดม้ ีการจดทะเบียนหยา่ ตามมาตรา 1515 จึงจะสมบูรณ์ 4.2.2 การหยา่ โดยคาพพิ ากษาของศาล การฟ้องหยา่ ตอ้ งอาศยั เหตกุ ารหยา่ (ตามมาตรา 1516 ) มีเหตุ 12 ประการ ดงั น้ี (1) สามีหรือภริยาอุปการะเล้ียงดูหรือยกยอ่ งหญิงอื่นฉนั สามีหรือ ภริยา เป็นชูห้ รือมีชู้ หรือร่วมประเวณีกบั ผอู้ ่ืนเป็นอาจิณ (2) สามีหรือภริยาประพฤติชวั่ ไม่วา่ จะมีความผิดอาญาหรือไม่ ซ่ึง ทาใหอ้ ีกฝ่ายหน่ึง
16 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการโครงงาน การจดั ทาโครงงานประวตั ิศาสตร์ ศึกษาความเช่ือ ท่ีมาและข้นั ตอนดาเนินพธิ ีกรรมพธิ ีผชู่ นเผา่ มง้ ผจู้ ดั ทามีวิธีการดาเนินงานตามข้นั ตอนทางประวตั ิศาสตร์ท้งั 5 ข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ตอนที่ 1 กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา 1. ไดป้ ระชุมหารือเพื่อหาขอ้ คิดเห็นของสมาชิกในกลุ่มแลว้ ประเดน็ ท่ีจะศึกษาและ เน่ืองจากสมาชิกของกลมุ่ เป็นชนเผา่ มง้ ท้งั หมดจึงไดห้ วั ขอ้ เรื่องพิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ คือ ศึกษาดาเนินพิธีกรรมพิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ 2. เขียนเคา้ โครงโครงงานเพื่อเสนอใหค้ รูที่ปรึกษา ครูท่ีปรึกษาใหแ้ กไ้ ขโครงงานและอนุมตั ิใหด้ าเนินการ ข้นั ตอนท่ี 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมูล 1. นาขอ้ มูลท่ีสืบคน้ จากอินเทอร์เน็ตได้ 8 เวบ็ ไซต์ ดงั น้ี 1) http://www.digitalschool.club/digitalschool/health4-6/health5 (สถาบนั ครอบครัว) 2) http://www.familynetwork.or.th/family/?q=node/75 ( การแต่งงาน) 3) https://www.sarakadee.com/2019/09/03 (พธิ ีผ-ู่ โอบกอดผหู้ ญิงมง้ เม่ือชีวิต คลู่ ม้ เหลว) 4) https://www.matichon.co.th/lifestyle/social-women/news_2918117 (หยา่ ร้าง) 5) https://th.wikipedia.org/ (มง้ ) 6) https://sites.google.com/site/prapenee4/chn-phea-mng (ชนเผา่ มง้ ) 7) http://www.openbase.in.th/node/756 (ชนเผา่ มง้ - การหม้นั การแตง่ งาน) 8) https://www.youtube.com/watch?v=XpcKKLBApYQ (พิธีผู่ Phum รับลูก สาวกลบั บา้ น) 2. หนงั สือจากหอ้ งสมุด 3 เลม่ ไดด้ งั น้ี 1) สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่มที่ 22 เร่ืองครอบครัวไทย
17 2) สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เลม่ ท่ี 37 เร่ืองประเพณีเกี่ยวกบั แต่งงาน 3) สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนจงั หวดั เชียงราย เรื่อง เผา่ มง้ 3. มาตรวจสอบกบั เอกสารและแหลง่ ขอ้ มลู อ่ืนเพ่อื มารวบรวมขอ้ มูลหาขอ้ มลู จากผรู้ ู้ที สามารถใหข้ อ้ มูลกบั เราเก่ียวกบั ความเช่ือ ท่ีมาและข้นั ตอนดาเนินพิธีกรรมพิธีผขู่ องชน เผา่ มง้ เกบ็ รวบรวมบนั ทึกขอ้ มลู ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ข้นั ตอนที่ 3 ประเมนิ คณุ ค่าของหลกั ฐาน 1. ไดน้ าขอ้ มูลมารวบรวมกนั 2. ทาการประเมินคุณค่าของหลกั ฐานที่ไดม้ าพิจารณาในรายละเอียดทกุ ดา้ น เพื่อใหไ้ ด้ ขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งที่สุดและชดั เจน เพ่ือรวบรวมขอ้ มลู ของพิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ 3. หาขอ้ มลู จากผรู้ ู้ท่ีสามารถใหข้ อ้ มูลกบั เราเกี่ยวกบั ความเชื่อ ที่มาและข้นั ตอนดาเนินพิ๊ ธีกรรมพธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้ เก็บรวบรวมบนั ทึกขอ้ มูลไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ข้ันตอนท่ี 4 นาข้อมูลมาวเิ คราะห์ สังเคราะห์และจดั หมวดหมู่ 1. ศึกษามาวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และจดั หมวดหมู่หลกั ฐานขอ้ มลู ของพธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้ อีก คร้ัง 2. นาขอ้ มูลมาวิเคราะห์ สังเคราะหแ์ ละจดั เป็นหมวดหมู่ ไดด้ งั น้ี 1) ความเชื่อและท่ีมาของพธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้ 2) ข้นั ตอนในการดาเนินพิธีกรรมพิธีผขู่ องมง้ 2.1 ผหู้ ญิงกลบั บา้ นของตน 2.2 การนาไก่มาตม้ แลว้ ทาพธิ ีเรียกขวญั ของผูห้ ญิง 2.3 ขอผอู้ าวุโสอวยพรใหผ้ หู้ ญิง 3) อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการดาเนินพิธีกรรมพธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้ 3.1 ไก่ 3.2 เงิน 3.3 เหลา้ 3.4 สายสิญจน์
18 ข้นั ตอนที่ 5 เรียบเรียงและการนาเสนอ 1. นาขอ้ มลู ท้งั หมดมาเรียบเรียง จดั ทารูปเล่มโครงงานในรูปแบบรายงานนาเสนอต่อครูที่ ปรึกษาโครงงานมา จดั ทารูปเลม่ E-Book และจดั ทา PowerPoint นาเสนอ
ตารางการปฏบิ ตั งิ าน ผ้รู ับผิดชอบ 19 สมาชิกทกุ คน ข้นั ตอน ข้นั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลา สมาชิกทกุ คน 17-21 มกราคม 1 การต้ังประเดน็ ที่จะศึกษา 2565 -กาหนดหวั ขอ้ เร่ืองที่จะศึกษาที่กลุ่มสนใจ -จดั ทาเคา้ โครงโครงงานเพื่อส่งครูที่ปรึกษาและขอ 24-28 มกราคม คาแนะนา 2565 -วางแผนปฏิบตั ิงานเป็นข้นั ตอน 2 รวบรวมข้อมูล -คน้ ควา้ หาขอ้ มลู จากหนงั สือในหอ้ งสมุด สืบคน้ ขอ้ มูลในอินเทอร์เน็ตและ เวบ็ ไซตต์ ่างๆ 3 การประเมินคุณค่าของข้อมูล สมาชิกทกุ คน 31-4กุมภาพนั ธ์ -นาขอ้ มูลมาเรียบเรียงใหมล่ ะประเมินคณุ ค่า 2565 -เรียบเรียงขอ้ มูลใหถ้ ูกตอ้ ง 4 วเิ คราะห์ ตีความหลกั ฐานและข้อมูล -นาเอาขอ้ มลู และหลกั ฐานที่ไดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ สมาชิกทกุ คน 7-11 กมุ ภาพนั ธ์ ท้งั หมดมาวเิ คราะห์และตีความ 2565 -เรียบเรียงขอ้ มูลใหส้ มบูรณ์อีกคร้ัง 5 การนาเสนอ 21-26กมุ ภาพนั ธ์ - สรุปจดั ทารูปเลม่ โครงงาน ทารูปเล่ม E-Book และ สมาชิกทกุ คน 2565 จดั ทา PowerPoint นาเสนอ
20 บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งานโครงงาน 1.ความเชื่อและท่ีมาของพธิ ีผู่ เมื่อวิถีชีวิตความเป็นอยใู่ นสังคมปัจจุบนั ของพ่นี อ้ งกล่มุ ชาติพนั ธุ์มง้ ไดเ้ ปลี่ยนไปจากเดิม แต่จารีตประเพณีด้งั เดิมบางอยา่ งน้นั ยงั คงอยู่ และถกู นามาใชป้ ฎิบตั ิยดึ ถือสืบตอ่ กนั มา ซ่ึงทาใหก้ ระทบ ตอ่ ชีวิตจิตใจของผถู้ กู กระทา โดยเฉพาะกล่มุ ผหู้ ญิงมง้ เป็นอยา่ งมาก ซ่ึงลว้ นถกู วถิ ีวฒั นธรรมชายเป็น ใหญ่ มีอานาจ กดข่ี ละเมิดสิทธิโดยไมร่ ู้ตวั ไม่วา่ จะเป็นประเพณีการฉุด การขายลูกสาว การตดั ผี ซ่ึง หลายคูน่ ้นั ไมไ่ ดเ้ กิดจากการสมยอม ยนิ ยอมและเตม็ ใจ จึงนาไปสู่ปัญหาครอบครัว การทะเลาะตบตี การหยา่ ร้าง ถกู ไล่ออกจากบา้ นสามี คร้ันเม่ือจะกลบั ไปหาครอบครัวบา้ นเกิดกไ็ ม่มีใครรับเป็นญาติ ตอ้ ง ออกมาเผชิญชะตาชีวิตไปตามยถากรรมเพียงลาพงั กระทง่ั ผหู้ ญิงมง้ หลายคนตอ้ งตดั สินใจหนีปัญหา ดว้ ยการฆา่ ตวั ตาย คาตอบท่ีคน้ พบแลว้ วา่ มีหนทางแกไ้ ขปัญหาน้ีได้ นน่ั กค็ ือการทาพิธี \"ผ\"ู่ หรือ \"รับ ลูกสาวกลบั บา้ น\" นนั่ เอง
21 พธิ ีผู่ เป็นพิธีท่ีรับลูกสาวกลบั บา้ นมีมาต้งั แต่ด้งั เดิมท่ีมีอยแู่ ลว้ ในจารีต ซ่ึงในไทยกเ็ คยใช้ เช่นเดียวกบั มง้ ทวั่ โลก หากเปรียบกบั ของไทย ผกู่ ็คือพิธีปัดรังควาน ไลโ่ ชคร้ายไปและเปิ ดรับเอาโชคดี เขา้ มา แตถ่ ูกทิ้งและลืมเลือนไป ยงั มีใชอ้ ยกู่ บั มง้ ในลาว เวยี ดนาม และมง้ ที่อพยพไปอยอู่ เมริกา เนื่องจากความเช่ือของเผา่ มง้ ไดส้ ืบทอดต่อๆกนั มาวา่ เมื่อผหู้ ญิงแตง่ งานแลว้ ตอ้ งตดั ขาดจากครอบครัว เดิมเพื่อเขา้ เป็นสมาชิกของครอบครัวสามี หรือเม่ือสามีตาย เลิกราหยา่ ร้างกนั ผูห้ ญิงจะกลบั ไปอยบู่ า้ น ไมไ่ ด้ ตอ้ งอยใู่ นภาวะไร้สถานะทางสงั คมถูกรังเกียจ เหยยี ดหยาม และหากตายไปไม่มีใครทาพธิ ีเซ่น ไหวใ้ ห้ รวมถึงความเช่ือท่ีวา่ ผหู้ ญิงท่ีไมแ่ ตง่ งานถือเป็นของสาธารณะ ปญหาการใชช้ ีวิตคู่ส่วนใหญ่ของชนเผา่ มง้ จะมาจากการถกู ผใู้ หญ่บงั คบั หรือถกู ฉุดมา แต่งงาน ตอ้ งจายอมอยใู่ นสถานะที่ตนไมต่ อ้ งการท้งั เมียหลวงและเมียนอ้ ยอยา่ งไมม่ ีสิทธ์ิเลือกหากจะ อาศยั ในบา้ นสามี เพราะจารีตกาหนดใหต้ อ้ งรับความคมุ้ ครองจากผชู้ ายเสมอ เม่ือยงั เลก็ ก็อยใู่ นความ ปกครองของพอ่ หลงั แต่งงานตอ้ งอยใู่ ตอ้ านาจสามี และหากสิ้นสามีกต็ อ้ งอยใู่ นความดูแลของลกู ชาย ตอ่ เด็กสาวบางคนเคยมีพลงั ความสามารถ แต่เมื่อแตง่ งานออกจากครอบครัวของตนไปมีครอบครัว ใหมแ่ ลว้ จะถือวา่ จบสิ้นตดั ขาด มีการทาพธิ ีตดั ผีจากครอบครัวเดิม ตอ้ งไปนบั ถือผีของฝ่ายสามี เป็น สมบตั ิของสามีกบั ครอบครัวสามีโดยเดด็ ขาด ไม่มีความเก่ียวขอ้ งใดๆ กบั ครอบครัวพ่อแม่ที่ใหก้ าเนิด พวกเธอมา ไม่สามารถกลบั มาร่วมผีบรรพบุรุษของพอ่ แม่ไดอ้ ีกต่อไป แตจ่ ะอยภู่ ายใตก้ ารคมุ้ ครองของ ผบี รรพบุรุษฝ่ายชาย พวกเธอตอ้ งร่อนเร่เดินทางไปกบั สามีและครอบครัวของสามี ดงั น้นั หากผหู้ ญิงมง้ ประสบปัญหา ไมว่ า่ จะโดนผวั ซอ้ ม ผวั ตาย ถกู ญาติๆ ของครอบครัวผวั ทาร้าย ผหู้ ญิงเหลา่ น้นั ก็จะตอ้ ง อดทนทรมานอยใู่ นหลมุ มืดของปัญหา ไม่มีทางไป เนื่องดว้ ยพวกเธอผา่ นการ “ตดั ผี” ไปเป็นสมบตั ิของ สามีแลว้ หากพวกเธอจาเป็นตอ้ งกลบั มาอยอู่ าศยั ในเรือนของครอบครัวพอ่ แม่ตน ก็จะถกู มองวา่ เป็น เรื่อง “ผิดผ”ี และหญิงท่ีตดั ผีไปแลว้ น้ีจะถกู หา้ มไม่ใหเ้ ขา้ ร่วมพธิ ีกรรมตา่ งๆ ของครอบครัวพอ่ แม่ ไม่ อนุญาตใหพ้ วกเธอมาเจ็บป่ วยหรือตายอยใู่ นบา้ น เพราะสาหรับครอบครัวมง้ ลูกสาวจะเปรียบเสมือน น้าในขนั ที่สาดทิง้ ออกไปแลว้ ไม่สามารถคนื กลบั มาได้ เม่ือชีวิตครอบครัวลม้ เหลว ผหู้ ญิงมง้ “ไม่มีทางไป” จานวนมากจึงกลายเป็นคนไม่มีบา้ น กลบั บา้ นเดิมไม่ได้ ตอ้ งไปตายเอาดาบหนา้ ร่อนเร่ ปากกดั ตีนถีบทางานเล้ียงตวั เองเล้ียงลูกอยใู่ นเมือง ใหญ่ นง่ั ปักผา้ ขายอยใู่ นไนทบ์ าซ่าร์ท่ีเชียงใหม่ มีจานวนมากเขา้ สู่อาชีพในเงามืดตามสถานบริการทาง เพศ และอีกมากต่อมากที่หนีปัญหาบีบค้นั มืดมนน้ีดว้ ยการตดั สินใจ “ฆา่ ตวั ตาย”
22 หลงั แต่งงานกลบั ถูกกรอบวฒั นธรรมกดข่ีใหอ้ ยใู่ ตอ้ านาจสามีและอดทนอยา่ งไมม่ ีที่สิ้นสุด บางคนอดทนมากจนคดิ วา่ ที่ตนเผชิญไมใ่ ช่ปัญหา บางคนถูกสามีทาร้ายร่างกายสาหสั กย็ งั ทน ดงั น้นั หากผหู้ ญิงมง้ ประสบปัญหา ไม่วา่ จะโดนสามีซอ้ ม สามีตาย ถูกญาติๆของครอบครัวสามีทาร้าย ผหู้ ญิง เหล่าน้นั ก็ตอ้ งอดทนทรมานอยใู่ นหลุมมืดของปัญหา ไม่มีทางไป ไมม่ ีที่อยเู่ พราะกลายเป็นคนอ่ืนของ ท้งั สองครอบครัว ไม่มีใครยนิ ดีใหร้ ่วมชายคาเพราะเกรงกลวั จะถูกอานาจของสิ่งเหนือธรรมชาติลงโทษ แต่ก็มีพ่อแม่ท่ีรักลกู มากจึงช่วยหาท่ีอยใู่ หแ้ ต่ไม่อนุญาติใหร้ ่วมประกอบพิธีกรรมประจาตระกูลหรืองาน เล้ียงฉลองใด ๆ ในชุมชนที่ถือกาเนิดมาแมแ้ ต่นอ้ ย เน่ืองจากตามประเพณีของมง้ เมื่อลูกสาวแต่งงาน ออกไป ก็ตอ้ งตดั ขาดกบั ครอบครัวเดิม ไมอ่ าจกลบั มาเป็นสมาชิกของครอบครัวผูใ้ หก้ าเนิดไดอ้ ยา่ ง สมบูรณ์เหมือนเมื่อก่อน การตดั ขาดน้ีมีผลตอ่ ความเช่ือของครอบครัวและชุมชนมง้ อยา่ งแรงกลา้ เพราะ หากเกิดเหตุการณ์โชคร้ายใด ๆข้ึนในชุมชนที่เธออยู่ ไม่วา่ จะเกิดอุบตั ิเหตุ หรือมีคนเจบ็ ป่ วย ก็มี แนวโนม้ วา่ คนในครอบครัวเองหรือชาวบา้ นจะมองวา่ เธอเป็นผูน้ าโชคร้ายมาสู่ชุมชน บางคนกอ็ าจ เปล่ียนศาสนาเลยกม็ ีเพราะไม่อยากทาใหค้ รอบครัวเดือดร้อน โดยสถานภาพ “โสดหลงั แต่งงาน” หรือ “แม่เล้ียงเด่ียว” จึงนบั เป็นเร่ืองโหดร้ายในสงั คมมง้ ไม่ เพียงถกู มองวา่ ไมม่ ี เจา้ ของ ยงั ถกู ปฏิบตั ิไมต่ า่ งจากผหู้ ญิงสาธารณะ และมีโอกาสถกู ข่มเหงจากผชู้ าย ซ้าแลว้ ซ้าเลา่ ท่ามกลางความเพิกเฉยของสงั คม จึงไม่มีผหู้ ญิงคนไหนอยากเป็นหมา้ ย ชาติพนั ธุม์ ง้ จึงมี
23 พธิ ีผขู่ ้ึนเพ่ือเป็นการปกป้องศกั ด์ิศรีและใหผ้ หู้ ญิงมีความเสมอภาคเทา่ เทียมกบั ผชู้ ายไมใ่ หล้ ะเมิดสิทธิ มนุษยชน 2.ข้นั ตอนการทาพธิ ีผู่ ข้นั ตอนการทาพิธีผกู่ ค็ อื พิธีปัดรังควาน ไลโ่ ชคร้ายไปและเปิ ดรับเอาโชคดีเขา้ มา เพือ่ ที่จะ นาลูกสาวของตนเขา้ มาอยใู่ นบา้ นไดอ้ ยา่ งถกู วีธี พธิ ีที่ทากนั จะเร่ิมโดยดงั รายละเอียดดงั น้ี 2.1 ผหู้ ญิงกลบั บา้ นของตน เนื่องจากวนั ท่ีผหู้ ญิงแตง่ งานจะยา้ ยไปอยบู่ า้ นผชู้ าย เมื่อถึงประตูบา้ นฝ่ายชาย พ่อแมฝ่ ่ายชายจะนาไก่ตวั ผวู้ นรอบหวั สะใภ้ บอกกลา่ วส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิในบา้ นใหร้ ู้วา่ วนั น้ี ตระกลู จะมีลูกสาวคนใหม่ร่วมอาศยั ใหผ้ ปี ่ ูผียา่ ผีบา้ นผีเรือน ผีเตาไฟ ปกป้องคมุ้ ครอง เม่ือมีการหยา่ ร้างกบั สามีหรือสามีเสียชีวติ จากน้นั ผหู้ ญิงก็กลบั บา้ นของตนไปหาพ่อแม่ แลว้ ผอู้ วุโสท้งั หลายก็วางแผนในการดาเนินพิธีผู่ ซ่ึงข้นึ อยกู่ บั ความพร้อมของแต่ละ ครอบครัว ในวนั ทาพิธีกรรมแค่ยอ้ นกลบั ไปจุดเร่ิมวนั ที่ผูห้ ญิงแตง่ งาน แลว้ พส่ี าวหรือ นอ้ งสาวของพ่อจะพาผหู้ ญิงเดินกลบั มาบา้ นของตน ซ่ึงตามพธิ ีกรรมแลว้ จะตอ้ งเป็นพ่ีสาว หรือนอ้ งสาวของพอ่ เท่าน้นั แตถ่ า้ หากพอ่ ของผหู้ ญิงไม่มีพสี่ าวหรือนอ้ งสาวกส็ ามารถพา ญาติผหู้ ญิงมาแทนได้ เมื่อถึงบา้ นกย็ นื รอหนา้ ประตเู พื่อรอใหผ้ นู้ าพิธีกรรมกจ็ ะถามวา่
24 เป็นไงมาไงถึงกลบั บา้ นมาแบบน้ี เม่ือทราบสาเหตแุ ลว้ วา่ ชีวติ คู่เกิดปัญหาไมส่ ามารถอยู่ ดว้ ยกนั ไดอ้ ีก หากฝ่ายหญิงตอ้ งการกลบั บา้ น กท็ าพิธีลกั ษณะเดียวกนั คอื ผนู้ าพธิ ีตอ้ งทา การนาไก่ตวั ผวู้ นรอบหวั ลกู และบอกกลา่ วส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิในบา้ นใหร้ ับรู้วา่ วนั น้ีลกู เลิกกบั สามีแลว้ จะกลบั มาอยบู่ า้ นเป็นลูกสาวของเราเหมือนเดิม แลว้ พ่อแม่ก็จูงลกู สาวเขา้ บา้ น 2.2 การนาไก่มาตม้ แลว้ ทาพิธีเรียกขวั ญของผหู้ ญิง จากที่นาผหู้ ญิงเขา้ บา้ นไปหาพ่อแมแ่ ลว้ กจ็ ะนาไก่ท่ีตม้ แลว้ พร้อมกบั ไข่และ ธูปมาต้งั ไวท้ ่ีเดียวกนั ในกะละมงั ก็จะเริ่มทาพธิ ีกรรมท่ีประตขู า้ งในบา้ น กท็ าพธิ ีเรียกขวั ญ อยา่ งเป็นทางการอีกคร้ังนึงซ่ึงเป็นการเรียกขวั ญเพ่ือให้ผีป่ ูผียา่ ผีบา้ นผเี รือน ผเี ตาไฟ ให้ รับรู้วา่ วนั น้ีลกู เลิกกบั สามีแลว้ จะกลบั มาอยบู่ า้ นเป็นลกู สาวของเราเหมือนเดิม แลว้ เชิญมา กินขา้ วกินไก่ท่ีเขานามาเซ่นไหว้ เม่ือเชิญมากินขา้ วเสร็จก็จะมีการเสี่ยงทายกระดูกไก่ (ฉางจือ)โดยที่ใชก้ ระดูกตรงส่วนของน่องติดสะโพกกจ็ ะมีการเส่ียงทายกระดูกไก่ดูจากไก่ กระดูกน่องติดสะโพกสองขา้ งจะมีรูถา้ มี 2 รูหวั 1 รูทา้ ย 1 รู ถา้ ตรงกนั แลว้ ถือวา่ ขวั ญ มาแลว้ ถือวา่ เป็นส่ิงที่ดี แตถ่ า้ มี 3 หรือ 4 รู ถือวา่ ไม่ไดก้ ็จะแปลเป็นความหมายอื่น ดูจาก หมอผผี นู้ าพิธีกรรมวา่ จะมีความหมายในรูปแบบไหนแบบดูจากรูบนกระดูกไก่วา่ จะออก ล่างหรือออกบน ดูจากรูบนกระดูกไก่แลว้ จะอธิบายตามรูบนกระดูกไก่หมอผีจะเป็นผใู้ ห้ คาทานายเอง
25 ไก่ใชส้ าหรับประกอบการเรียกขวญั การเสี่ยงทายกระดูกไก่ถา้ มีรูบนกระดูกไก่เพยี ง 1 รู ถือวา่ ขวญั ยงั ไมก่ ลบั มาอยกู่ บั พอ่ แม่
26 การเส่ียงทายกระดูกไก่ถา้ รูบนกระดูกไก่อยใู่ นระนาบเดียวกนั 2 รู ถือวา่ ขวญั กลบั มาอยกู่ บั พอ่ แม่แลว้ 2.3 ขอผอู้ าวโุ สอวยพรใหผ้ หู้ ญิง จะใหพ้ ีช่ ายหรือญาตพี่นอ้ งมาขอคาอวยพรจากผอุ้ าวุโสดว้ ยการนาไก่ไปหน่ั แลว้ ตม้ เสร็จ แลว้ ตกั ใส่ถว้ ย 2 ถว้ ย ไวบ้ นโตะ๊ และเตรียมขา้ ว เตรียมน้า ผลไมไ้ วแ้ ลว้ เรียก ผอู้ วุโส 2 คนหรือ 4 คนมาจากน้นั จะใหญ้ าติพ่ีนอ้ งมากล่าวจะขอ ดว้ ยการ “ เป ” ที่เป็น ภาษามง้ ท่ีเขาไวใ้ ชส้ าหรับขอบคุณและขอพรจากผอู้ าวุโส ผอู้ าวุโสกอ็ วยพรใหก้ บั พอ่ แม่ และลูกสาวหรือคนในครอบครัว จะอวยพรวา่ ใหท้ ามาหากินไดด้ ี ร่ารวย และรับประทาน อาหารร่วมกนั
27 ญาติพน่ี อ้ งจะขอ ดว้ ยการ “ เป ” ที่เป็นภาษามง้ ที่เขาไวใ้ ชส้ าหรับขอบคณุ และขอพรจากผอู้ าวโุ ส รับประทานอาหารร่วมกนั หลงั มดั มืออวยพรใหผ้ หู้ ญิงเสร็จ
28 3.วสั ด-ุ อุปกรณ์ 3.1 ไก่เรียกขวญั 2 ตวั จะมีการทาพธิ ีสู่ขวญั หรือพิธีเรียกขวญั ใหค้ นในครอบครัว โดยใชไ้ ก่ 1 คู่ ในการทาพิธี 3.2 ธูป การประกอบพิธีใชธ้ ูป 7 ดอก ซ่ึงในแต่ละทอ้ งถิ่นจะใชธ้ ูปจานวนท่ีแตกตา่ งกนั
29 3.3 เหลา้ ขอผอู้ วุโสอวยพร เหลา้ ใชใ้ นการขอใหผ้ อู้ าวุโสมดั ขอ้ มือ อวยพร และใชแ้ ทนการขอบคุณ 3.5 สายสิญจนม์ ดั มือ ในระหวา่ งการมดั มือน้นั จะกล่าวใหค้ าอวยพรดว้ ยสายสิญจน์ เพ่อื ป้องกนั อนั ตราย เช่น ภูติผปี ี ศาจ และเสริมความเป็นสิริมงคล
30 3.4 การใชก้ วั่ เรียกขวั ญ การใชก้ วั่ จะใชใ้ นการตีกว่ั เพ่ือคยุ กบั ผีเพื่อใหเ้ รียกขวั ญผหู้ ญิงกลบั มาอยบู่ า้ น หรือถามวา่ จะกลบั มาอยบู่ า้ นจริงไหม ถา้ ขวั ญกลบั มาอยกู่ บั พอ่ แมแ่ ลว้ กวั่ จะหงายข้ึนท้งั 2 อนั แต่ถา้ ขวั ญยงั ไม่กลบั มาอยกู่ บั พอ่ แม่ กว่ั จะหงาย 1 คว่า 1 ถา้ หากกว่ั คว่า 2 ขา้ งคอื จะ ยนื ยนั อีกคร้ังวา่ ขวั ญกลบั บา้ นมาอยกู่ บั พอ่ แมม่ าจริงๆแลว้ กว่ั หงาย 2 ขา้ งถือวา่ ขวญั กลบั มาอยกู่ บั พอ่ แมแ่ ลว้
31 บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการดาเนินงาน จากการศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกบั เรื่องพธิ ีผขู่ องชนเผา่ มง้ ทาใหไ้ ดร้ ู้ถึงความเชื่อ และที่มาของพธิ ีผู่ พธิ ีผู่ เป็นพิธีท่ีรับลกู สาวกลบั บา้ นซ่ึงมีมาต้งั แต่ด้งั เดิมอยแู่ ลว้ ในจารีต ผกู่ ็คือพิธีปัด รังควาน ไลโ่ ชคร้ายไปและเปิ ดรับเอาโชคดีเขา้ มา ความเช่ือของเผา่ มง้ ไดส้ ืบทอดตอ่ ๆกนั มาวา่ เมื่อ ผหู้ ญิงแต่งงานแลว้ ตอ้ งตดั ขาดจากครอบครัวเดิมเพอื่ เขา้ เป็นสมาชิกของครอบครัวสามี หรือเม่ือสามี เสียชีวติ เลิกราหยา่ ร้างกนั ผหู้ ญิงจะกลบั ไปอยบู่ า้ นไมไ่ ดจ้ ึงไดม้ ีการร้ือฟ้ื นพิธีผขู่ ้ึนเพ่ือทาใหผ้ หู้ ญิงท่ี ผา่ นพิธีผกู่ ลบั ไปใชช้ ีวิตในครอบครัวเดิมอยา่ งมีศกั ด์ิศรี เป็นที่ยอมรับของเครือญาติและคนในชุมชน ข้นั ตอนการดาเนินพธิ ีกรรมแคย่ อ้ นกลบั ไปจุดเร่ิมวนั ท่ีผูห้ ญิงแต่งงาน พ่อแม่ฝ่ายหญิงก็เพียงทาพธิ ี ลกั ษณะเดียวกนั เหมือนตอนไปแตง่ งานกบั ฝ่ายชาย คือเมื่อลกู สาวถึงบา้ นก็จะทาพธิ ีเรียกขวญั โดยนาไก่ ตวั ผู้ 1 ตวั วนรอบหัวลกู สาวและบอกกล่าวส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิในบา้ นใหร้ ับรู้วา่ วนั น้ีลกู เลิกกบั สามีแลว้ จะ กลบั มาอยบู่ า้ นเป็นลกู สาวของเราเหมือนเดิม แลว้ พ่อแมก่ ็จูงลูกสาวเขา้ บา้ น จากน้นั ทาพธิ ีสู่ขวญั ลูกเพือ่ ตอ้ นรับกลบั บา้ น จึงทานอาหารร่วมกนั 1 ม้ือ และผกู ขอ้ มืออวยพรใหล้ ูกสาว ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาโครงงานเร่ือง พิธีผขู่ องชนเผา่ มง้ พบวา่ ยงั มีพธิ ีกรรมท่ีน่าสนใจท่ีจะศึกษา เรื่องดงั น้ี 1. ศึกษาพธิ ีกรรมการแต่งงานของชนเผา่ มง้ 2. ศึกษาพธิ ีกรรมการตดั ผีของชนเผา่ มง้ มง้
32 บรรณานุกรม นางศิราพร ณ ถลาง. สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน. พิมพค์ ร้ัง ที่ 22. มหาวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์ : รุ่งศิลป์ การพิมพ.์ 2540. เสฐียรโกเศศ (พระยาอนุมานราชธน). ประเพณีเกี่ยวกบั ชีวิต. พิมพค์ ร้ัง ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ศยาม. 2551 เว็บไซด์ 1. http://www.digitalschool.club/digitalschool/health4-6/health5 สถาบนั ครอบครัว วนั ที่ 24 มกราคม 2565 2. http://www.familynetwork.or.th/family/?q=node/75 การแตง่ งานวนั ที่ 24 /1 /65 3. https://www.sarakadee.com/2019/09/03 พิธีผ-ู่ โอบกอดผหู้ ญิงมง้ เมื่อชีวิตคูล่ ม้ เหลว วนั ท่ี 25/1 /65 4. https://www.matichon.co.th/lifestyle/social-women/news_2918117 หยา่ ร้าง วนั ท่ี 25/1/65 5. https://th.wikipedia.org/ มง้ วนั ที่ 26/1 /65 6. https://sites.google.com/site/prapenee4/chn-phea-mng ชนเผา่ มง้ วนั ท่ี 26/1 /65 7. http://www.openbase.in.th/node/756 ชนเผา่ มง้ - การหม้นั การแต่งงาน วนั ที่ 26/1 /65 8. https://www.youtube.com/watch?v=XpcKKLBApYQ พิธีผู่ Phum รับลูกสาวกลบั บา้ น วนั ท่ี 27/1 /65
33 ภาคผนวก เคา้ โครงโครงงาน
34
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: