รายงานโครงงานวชิ าประวตั ิศาสตร์ เร่ือง การต้มเหล้าพืน้ เมืองกะเหร่ียง รายงานนเี้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหสั ส 32104 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่5 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จังหวดั ลาพูน
รายงานโครงงานวชิ าประวตั ศิ าสตร์ เรื่อง การต้มเหล้าพืน้ เมืองกะเหร่ียง โดย 1.นางสาวแคทรียา วงั งวิ้ เลขท่ี 3 ช้ัน 5/4 2.นางสาวรินลดา ดอกสุข เลขที่ 6 ช้ัน 5/4 3.นางสาววมิ ลยา แหล่ลิ เลขที่ 7 ช้ัน 5/4 4.นายเอกพล ผาแดงชัย เลขที่ 12 ช้ัน 5/4 5.นางสาวณัฐธิดา ตาละนะ เลขที่ 16 ช้ัน 5/4 คุณครูทปี่ รึกษาโครงงาน 1.ครูพรี วุฒิ วงค์ตนั กาศ 2.ครูภูมริน ยมหา เสนอ ครูพรี วฒุ ิ วงค์ตนั กาศ รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาวชิ าประวตั ศิ าสตร์รหสั ส 32104 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จังหวดั ลาพูน สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บทคดั ย่อ ชื่อโครงงาน การตม้ เหลา้ พ้ืนเมืองกะเหร่ียง ช่ือผ้เู ขียน 1.นางสาวแคทรียา วงั งิ้ว เลขที่ 3 ช้นั 5/4 2.นางสาวรินลดา ดอกสุข 3.นางสาววิมลยา แหลล่ ิ เลขท่ี 6 ช้นั 5/4 4.นายเอกพล ผาแดงชยั เลขที่ 7 ช้นั 5/4 5.นางสาวณฐั ธิดา ตาละนะ เลขที่ 12 ช้นั 5/4 เลขที่ 16 ช้นั 5/4 อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงงาน 1.คุณครูพีรวุฒิ วงศต์ นั กาศ 2.ครูภมู ริน ยมหา บทคดั ย่อ จากการศึกษาคน้ ควา้ เรื่องการตม้ เหลา้ พ้นื เมืองกะเหรี่ยงมีจุดมงุ่ หมายเพื่อศึกษาการตม้ เหลา้ พ้ืนเมืองของกะเหร่ียง ศึกษาข้นั ตอน วธิ ีการตม้ เหลา้ ของกะเหรี่ยง และประเภทของเหลา้ พ้ืนเมือง กะเหรี่ยง แหลง่ ที่ไปศึกษาคอื หอ้ งสมุดโรงเรียนราชประชานุเคราะห์26จงั หวดั ลาพูนและหอ้ ง คอมพวิ เตอร์โดยการคน้ ควา้ หาขอ้ มูลจากหนงั สือและเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ ผลการศึกษาพบวา่ ในการทาพิธีกรรมหลายอยา่ งของชนเผา่ กะเหรี่ยงน้นั ส่วนใหญ่จะมีการ ใชเ้ หลา้ ตม้ ในการประกอบพิธี เช่น พธิ ีปี ใหม่ การผกู ขอ้ มือ ประเพณีข้ึนบา้ นใหม่ ประเพณีกินขา้ วใหม่ พธิ ีกรรมการเล้ียงผี และการสงั สรรคร์ ื่นเริงตา่ งๆ และไดร้ ู้เก่ียวกบั การตม้ เหลา้ พ้นื เมืองของกะเหรี่ยง ข้นั ตอน วิธีการตม้ เหลา้ พ้นื เมืองกะเหรี่ยง และประเภทของเหลา้ กะเหรี่ยง เหลา้ กะเหรี่ยงน้นั จะแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ สาโท และเหลา้ กลน่ั
กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานเรื่องน้ีสาเร็จลุลวงไปดว้ ยดี เพราะไดร้ ับความช่วยเหลืออนุเคราะหบ์ ุคคลหลาย ทา่ นซ่ึงไมส่ ามารถนามากล่าวไดท้ ้งั หมดโดยหากบุคคลเหล่าน้ีท้งั ท่ีไดเ้ อย่ นามและมิไดเ้ อ่ยนามโครงงาน เล่มน้ีมิอาจจะสาเร็จไดต้ ามวตั ถุประสงค์ ผมู้ ีประคณุ ท่านแรกท่ีจะขอกล่าวคือ คุณครู พีรวฒุ ิ วงคต์ นั กาศ ครูท่ีปรึกษาโครงงานที่คอย ใหค้ าปรึกษาในการเลือกหวั ขอ้ โครงงานให้เหมาะสมใหค้ าต่างๆ ในการเขียนโครงงานศึกษาหาขอ้ มูลใน การเขยี นโครงงานตลอดจนกระบวนการข้นั ตอนตา่ งๆในการทาโครงงาน ท่านที่สองที่จะขอกล่าวถึง คอื คณุ ครุภมู ริน ยมหา ท่ีเอ้ืออานวยสถานท่ีในการสืบคน้ ขอ้ มูล ในการเขยี นโครงงาน
คานา รายงานเรื่อง การตม้ เหลา้ พ้นื เมืองกะเหรี่ยง เลม่ น้ีเป็นส่วนหน่ึงของโครงงานวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหสั วิชา ส 32103 เพ่อื ไดศ้ ึกษาหาความรู้ โดยไดศ้ ึกษาผา่ นแหล่งความรู้ตา่ งๆ เช่น หนงั สือ ห้องสมดุ และเวบ็ ไซตต์ ่างๆ โดยโครงงานเลม่ น้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั ประวตั ิความเป็นมา ข้นั ตอน พธิ ีกรรม วสั ดุ อปุ กรณ์ของการตม้ เหลา้ พ้นื เมืองกะเหร่ียง ผจู้ ดั ทาคาดหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ การจดั ทารายงานโครงงานเลม่ น้ีจะมีขอ้ มูลท่ีเป็นประโยชน์ ตอ่ ผทู้ ี่สนใจศึกษาในการตม้ เหลา้ พ้นื เมืองกะเหร่ียงเป็นอย่างดี หากผจู้ ดั ทาไดท้ าผิดพลาดประการใด ก็ขอ นอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีน้ี คณะผจู้ ดั ทา นางสาวแคทรียา วงั งิ้ว ช้นั ม.5/4 เลขที่ 3 นางสาวรินลดา ดอกสุข ช้นั ม.5/4 เลขท่ี 6 นางสาววมิ ลยา แหลล่ ิ ช้นั ม.5/4 เลขที่ 7 นายเอกพล ผาแดงชยั ช้นั ม.5/4 เลขที่ 13 นางสาวณฐั ธิดา ตาละนะ ช้นั ม..5/4 เลขท่ี 16
สารบัญ เรื่อง หนา้ บทคดั ยอ่ ก กิตติกรรมประกาศ ข คานา ค สารบญั ง บทที่ 1 บทนา 1 1 ท่ีมาและความสาคญั 3 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 4 บทที่ 2 เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง 5 เรื่องท่ี 1 สุราสาโท 9 เรื่องท่ี 2 ไวน์ 9 เร่ืองท่ี 3 เบียร์ 11 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการโครงงาน 11 1.ตารางการปฏิบตั ิงาน 14 บทที่ 4 ผลการดาเนินงานโครงงาน 14 1. ความเป็นมาของชนเผา่ กะเหร่ียง 19 2. ประเภทของเหลา้ กะเหรี่ยง 19 3. การใชเ้ หลา้ ในการประกอบพธิ ีการต่างๆของชนเผา่ กะเหรี่ยง 25 4. วิธีการหมกั เหลา้ และข้นั ตอนการหมกั เหลา้ 36 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 36 สรุป 36 ขอ้ เสนอแนะ 37 บรรณานุกรม 38 ภาคผนวก 39 1. เคา้ โครง โครงงาน
บทท่ี 1 บทนา ท่ีมาและความสาคญั ในการทาพธิ ีกรรมหลายอยา่ งของชนเผา่ ต่างๆท้งั ยงั เป็นความเชื่อประเพณีและเป็นเอกลกั ษณ์ สาคญั ของแตล่ ะชนเผา่ มีการใชเ้ หลา้ ตม้ ในการประกอบพิธี สาเหตทุ ี่ใชส้ ุราในพธิ ีกรรม กเ็ พ่อื เช่นสงั เวย สิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ เพราะเชื่อวา่ ท้งั ผีเทวดาน้นั ชอบสุรา เพ่ือใหเ้ กิดภาวะทางจิตแบบเหนือสามญั เพราะขณะมึน เมามีสภาพจิตประหน่ึงประสบสภาวะลึกล้าทางจิตวญิ ญาณสามารถติดต่อกบั เทพ หรือสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ และ ทาใหเ้ กิดฤทธ์ิ เกิดญาณ นอกจากน้ี ยงั ใชส้ ุราเพื่อความเป็นสิริมงคล ดว้ ยความเชื่อวา่ ผแี ละเทวดา ชอบ สุรา งานพธิ ีตอ้ งการความผาสุกสวสั ดีจึงตอ้ งมีสุราเป็นส่วนประกอบ เช่น พธิ ีกรรมการเล้ียงผี ประเพณี ข้นึ บา้ นใหม่ พิธีปี ใหม่ การผกู ขอ้ มือ พธิ ีแต่งงาน พิธีขอขมาบรรพชนท่ีลว่ งลบั ไปแลว้ ประเพณีกินขา้ ว ใหม่ และการสงั สรรคร์ ื่นเริงต่างๆ เดิมชาวกะเหรี่ยงนบั ถือผมี ีการบวงสรวงและเซ่นสงั เวยอยา่ งเคร่งครัดภายหลงั หนั มานบั ถือ ศาสนาพุทธ และศาสนาคริสตม์ ากข้นึ แตก่ ย็ งั คงความเช่ือเดิมอยไู่ มน่ อ้ ย เช่น ความเช่ือเร่ืองผีหรือการทา กิจกรรมตา่ งๆ จะตอ้ งมีการเซ่นเจา้ ที่เจา้ ทาง และบอกกลา่ วบรรพชน ใหอ้ ุดหนุนค้าจุน ช่วยใหก้ ิจการงาน น้นั ๆ เจริญกา้ วหนา้ ทาเกษตรกรรมไดผ้ ลผลิตดีใหอ้ ยเู่ ยน็ เป็นสุข ปกป้องคมุ้ ครองดูแล และยงั เป็นการขอ ขมาอีกดว้ ย นอกจากชาวกะเหร่ียงมีความเช่ือในเรื่องผีต่างๆ ซ่ึงยงั มีอิทธิพลตอ่ ชีวติ ประจาวนั กะเหร่ียง ยงั เช่ือในเรื่องขวญั ซ่ึงมีประจาตวั ของแต่ละคน กะเหร่ียงเชื่อว่าในร่างกายของคนเรามีอยทู่ ้งั หมด 33 ขวญั ส่วนใหญไ่ ม่สามารถนบั ไดห้ มดวา่ ขวญั อยใู่ นส่วนไหนบา้ งของร่างกาย เพียงแต่บอกไดว้ า่ อยใู่ น ส่วนสาคญั ๆ ของร่างกาย เช่น ขวญั ศีรษะ ขวญั สองขวญั ที่ใบหูท้งั สองขา้ ง ขวญั จะละทิ้งหรือหายไปก็ ตอ่ เม่ือคน ๆ น้นั ไดต้ ายไป นอกจากน้นั แลว้ เช่ือกนั วา่ ขวญั ชอบที่จะหนีไปท่องเท่ียวตามความตอ้ งการ ของมนั เองและก็อาจจะถูกผีร้ายตา่ งๆทาร้าย หรือกกั ขงั ไว้ ซ่ึงจะทาใหผ้ นู้ ้นั ลม้ ป่ วย การรักษาพยาบาล หรือวธิ ีที่จะช่วยเหลือคนเจ็บป่ วยไดก้ ค็ อื การล่อและเรียกขวญั ใหก้ ลบั มาสู่บคุ คลท่ีเจบ็ ป่ วย พร้อมกบั ทา พธิ ีผกู ขอ้ มือรับขวญั ดว้ ย ในสังคมของกะเหร่ียงน้นั ถือเป็นปกติธรรมดา เม่ือแตล่ ะวนั ในหมู่บา้ นจะทาพิธี เล้ียงผีและการเรียกขวญั ของคนเจ็บป่ วยแทนการรักษาดว้ ยหมอสมยั ใหม่ บางคร้ังถึงแมจ้ ะมีหมอเขา้ ไป ช่วยรักษาใหต้ ามแบบทนั สมยั แตถ่ า้ หากท่ีบา้ นผปู้ ่ วยน้นั ไดร้ ักษาดว้ ยการเล้ียงผีแลว้ เขาจะปฏิเสธท่ีจะ รักษาทนั ทีอยา่ งนอ้ ย 3 วนั
ชาวกะเหร่ียงมีความเช่ือวา่ ตอ้ งบูชาผีและวิญญาณ ดงั น้นั จึงมีพิธีกรรมเล้ียงผีเกิดข้ึน ใน พิธีกรรมน้นั ตามประเพณีแลว้ จะเริ่มทาพิธีที่บา้ นผูน้ าเป็นหลงั แรกแลว้ จึงจะไปทาพธิ ีใหก้ บั ชาวบา้ น ซ่ึง กวา่ จะครบทกุ หลงั คาเรือนอาจใชเ้ วลาหลายวนั หลายคนื ในทกุ ๆ หลงั จะมีการหมกั เหลา้ ตม้ เหลา้ จาก ขา้ วสุก ฆา่ ไก่หรือแกงหมเู ป็นอาหาร จากน้นั มีการด่ืมเหลา้ กนั ตามประเพณีแลว้ จึงมีการมดั ขอ้ มือดว้ ยฝ้าย ดิบพร้อมกบั มีคาถาอวยพรใหอ้ ยเู่ ยน็ เป็นสุข และนอกจากน้ียงั มีพิธีการรินเหลา้ และนาเน้ือไก่เพ่ือมา บวงสรวงต่อผีและวญิ ญาณอีกดว้ ย ปัจจุบนั การใชเ้ หลา้ ตม้ ในการประกอบพธิ ีกรรม หรืองานสงั สรรคน์ ้นั มีนอ้ ยลงเน่ืองจาก กฎหมายและข้นั ตอนในการทาที่ซบั ซอ้ นและใชเ้ วลาทานาน กวา่ จะไดเ้ หลา้ ตม้ มาก็ตอ้ งรอเป็นอาทิตย์ และยาก ไมส่ ะดวกเหมือนการไปซ้ือเหลา้ จากตลาดมาเพื่อประกอบพธิ ีกรรมการซ้ือเหลา้ จากทอ้ งตลาด น้นั ท้งั งา่ ย สะดวก รวดเร็ว ไมต่ อ้ งมีข้นั ตอนซบั ซอ้ น ปัจจุบนั ผคู้ นจึงไม่คอ่ ยตม้ เหลา้ พ้นื บา้ นในการ ประกอบพิธีกรรมเหมือนแต่ก่อนจึงอาจจะทาใหค้ นในปัจจุบนั หรือคนรุ่นหลงั อาจลืมวิธีหรือข้นั ตอน ของการตม้ เหลา้ พ้ืนบา้ นไปไดจ้ นทาใหภ้ มู ิปัญญาที่สืบทอดกนั มาของบรรพบุรุษ น้นั สูญหายตาม กาลเวลา และอาจจะไม่วฒั นธรรมหรือภมู ิปัญญาการตม้ เหลา้ ในอนาคตและจากกฎหมายที่เขา้ มา เก่ียวขอ้ ง โดยการควบคมุ การตม้ เหลา้ หรือเรียกกนั วา่ การทาเหลา้ เถื่อนน้นั ตอ้ งผา่ นการการเสียภาษี ถา้ ทาเหลา้ กินหรือใชป้ ระกอบกรรมในครัวเรือนไม่ตอ้ งเสียภาษถี า้ ทาขายในชุมชนเสียในอตั ราหน่ึง ทาขาย นอกชุมชน หรือ นอกเขตหรือทวั่ ประเทศเสียอีกหน่ึงอตั ราจะเป็นแบบอตั รากา้ วหนา้ เพ่ือป้องกนั การ ไดเ้ ปรียบของผมู้ ีทุนมาก กระบวนการตม้ เหลา้ ถา้ เป็นแบบท่ีรู้และทากนั ทวั่ ไป ไม่สามารถจดสิทธิบตั ร ไดต้ อ่ เมื่อเป็นการคิดวิธีใหม่หรือมีการดดั แปลงบางอยา่ งไดอ้ ยา่ งถกู กฎหมายแลว้ ถา้ มีส่ิงใดส่ิงหน่ึงใน กระบวนการ เขา้ ขา่ ยขา้ งตน้ เช่น สูตรลกู แป้ง ส่วนผสมของเหลา้ เคร่ืองตม้ กล้นั ก็สามารถจด สิทธิบตั รประดิษฐ์ได้ ส่วนขวดหรือภาชนะบรรจุก็จดสิทธิบตั รการออกแบบไดด้ งั น้ีแลว้ ผอู้ ่ืนก็ไม่ สามารถลอกเลียนความคิดของเราไปใชไ้ ดก้ ฎหมายเก่ียวกบั ความลบั ทางการคา้ และส่ิงบง่ ช้ีทางภูมิศาสตร์ สามารถบงั คบั ใชไ้ ดอ้ ยา่ งสมบูรณ์แลว้ ยงั จะตอ้ งคานึงถึงเรื่องเหล่าน้ีอีกดว้ ย ถา้ จะทาเหลา้ กต็ อ้ งคิดเร่ือง คุณภาพและกฎหมายดว้ ย คนไทยจึงใชข้ า้ วเป็นวตั ถดุ ิบหลกั ในการทาเหลา้ ส่วนใหญ่ใชข้ า้ วเหนียว ธญั พชื ชนิดอื่นเช่นขา้ วเจา้ ขา้ วโพด หรือขา้ วฟ่ าง ก็ใชท้ าเหลา้ ไดเ้ ช่นกนั มีให้เห็นใหก้ ินเช่นกนั ในหมู่ ชาวเขาบางกล่มุ ในทอ้ งถิ่นที่มีน้าตาลมาก ก็ใชน้ ้าตาลจากตน้ ตาลหรือจากตน้ มะพร้าวเป็นวตั ถดุ ิบ เรียกวา่ น้าตาลเมาการคดั ชนิดและคุณภาพของวตั ถุดิบมีส่วนสาคญั ในการกาหนดรสชาติของเหลา้ ดงั น้นั กล่มุ ขา้ พเจา้ จึงทาโครงงานเหลา้ พ้ืนเมืองกะเหร่ียงเพอ่ื เกบ็ เกี่ยวขอ้ มลู ในการตม้ เหลา้ กะเหรี่ยง วิธีการ ข้นั ตอน ประเภท ของภูมิปัญญาการตม้ เหลา้ ของชนเผา่ กะเหรี่ยงต่อไป
วตั ถปุ ระสงค์ 1. ศึกษาวิธีการและข้นั ตอนการตม้ เหลา้ กะเหรี่ยง 2. ศึกษาประเภทของเหลา้ กะเหรี่ยง 3. ศึกษาการใชเ้ หลา้ ในการประกอบพิธีกรรมต่างๆของชนเผา่ กะเหร่ียง
บทที่ 2 เอกสารที่เกย่ี วข้อง จากการศึกษาโครงงานประวตั ิศาสตร์และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน เร่ืองการตม้ เหลา้ พ้ืนเมือง กะเหรี่ยง พบวา่ มีเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกบั โครงงาน ดงั น้ี 1.สุราสาโท 2.ไวน์ (wine) 3.เบียร์ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1.สุราสาโท สุราพ้นื บา้ น เป็นเครื่องดื่มที่เกิดจากภูมิปัญญาไทยแต่โบราณ มีหลายชนิด และเรียกชื่อตา่ งๆ กนั เช่น อุ กะแช่ สาโท น้าขาว น้าแดง น้าตาลเมา เป็นตน้ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใ้ หค้ วามหมายของคาตา่ งๆ ไวด้ งั น้ี - กะแช่ น้าตาลเมา น้าเมาหมกั แช่เช้ือ แตย่ งั มิไดก้ ลน่ั เป็นสุรา - น้าขาว น้าเมาชนิดหน่ึง ทาดว้ ยขา้ วเหนียวน่ึงคลกุ กบั แป้งเหลา้ ซ่ึงเป็นเช้ือ หมกั ไวจ้ นมีน้าขนุ่ ขาว - น้าจณั ฑ์ เหลา้ - น้าตาลเมา น้าตาลมะพร้าว รองมาใหม่ๆ ยงั ไม่ไดเ้ ค่ยี ว เรียกวา่ น้าตาลสด ถา้ ตม้ ใหเ้ ดือด เรียกวา่ น้าตาลลวกถา้ ใส่เปลือกตะเคียน มะเกลือ หรือเคี่ยมเป็น ตน้ หมกั ไวร้ ะยะหน่ึงจนมีแอลกอฮอล์ กินแลว้ เมาเรียกวา่ น้าตาลเมา - น้าเมา น้าท่ีดื่มแลว้ ทาใหม้ ึนเมา ไดแ้ ก่สุราและเมรัยเป็นตน้ - เมรัย น้าเมาที่เกิดจากการหมกั หรือแช่ น้าเมาท่ีไมไ่ ดก้ ลน่ั - สุรา น้าเมาท่ีกลนั่ แลว้ - สุราบาน น้าเหลา้ การด่ืมเหลา้ - สาโท น้าขาว น้าเมาที่ยงั ไม่ไดก้ ลน่ั - อุ น้าเมาชนิดหน่ึง ใชป้ ลายขา้ วและแกลบประสมกบั แป้งเช้ือ ความหมายของพจนานุกรมฯ สอดคลอ้ งกบั ความหมายในเชิงการผลิต และเทคโนโลยอี ยา่ ง เหมาะสมแลว้ แมช้ ่ือเหลา่ น้ี อาจมีการใชป้ ะปนกนั ในบางทอ้ งถิ่น เน่ืองจาก ภูมิปัญญาไทยในเร่ืองน้ี ไดถ้ ูกจากดั มาเป็นเวลานานทาใหเ้ กิดความสับสน ดงั น้นั เราจะแบง่ สุราพ้ืนบา้ น ออกเป็น 4 ชนิด ไดแ้ ก่ สาโทหรือน้าขาว อุ กะแช่หรือน้าตาลเมา และสุราหรือเหลา้ กลนั่ และรวมกนั
เรียกวา่ สุรา สุราพ้ืนบา้ นแต่ละชนิด มีกรรมวธิ ีการผลิต และวตั ถดุ ิบท่ีแตกตา่ งกนั จนสามารถแยกเป็นคน ละประเภท ไดแ้ ก่สาโท หรือน้าขาว น้าแดง ซ่ึงผลิตจาก ขา้ วเหนียวน่ึงคลกุ กบั ลูกแป้ง หมกั ในภาชนะจนเกิดเป็นน้าสุรา ส่วนอนุ ้นั ผลิตจากขา้ วเหนียวเช่นกนั แต่ มีส่วนผสมของแกลบดว้ ย และหมกั ในไห ปิ ดสนิท และมีวธิ ีดื่มที่แตกตา่ งจากสาโท คอื ตอ้ งดูดจากไห ดว้ ยหลอด สาหรับกะแช่ หรือน้าตาลเมาน้นั จะผลิตจากน้าตาลจากจนั่ มะพร้าว หรือตน้ ตาลโตนด นามา ใส่ไมม้ ะเกลือ เพอ่ื ใหเ้ กิดการหมกั จนเกิดแอลกอฮอล์ และเหลา้ กลน่ั จะไดจ้ ากการนาน้าสาโทมากลน่ั จน ไดเ้ ป็นเหลา้ ที่มีความแรงแอลกอฮอลส์ ูงกวา่ สุรา แช่ คือสูงกวา่ 15 เปอร์เซ็นตส์ าหรับการผลิตสุราพ้ืนบา้ น จะยดึ กระบวนการผลิตสาโทเป็นหลกั เน่ืองจาก เป็นผลิตภณั ฑท์ ่ีแพร่หลาย ส่วนอุ มีการผลิตแบบพ้ืนบา้ น ท่ียงั ไม่มีการพฒั นาเป็นอุตสาหกรรม เน่ืองจาก ตอ้ งหมกั ในไห และจาหน่ายเป็นไห ไมจ่ าเป็นตอ้ งมีการจดั การหลงั การหมกั ส่วนกะแช่ มีวตั ถุดิบและ วธิ ีการหมกั ที่แตกต่างจากสาโทแตม่ ีการเตรียมน้าสุราเพือ่ การบรรจุเหมือนกนั จึงจะกล่าวถึงในภายหลงั กระบวนการผลิตสาโท วตั ถุดิบ สาโท ผลิตจากขา้ วเหนียว มีรายงานวา่ หากใชข้ า้ วเจา้ ในการผลิตจะไดผ้ ลไมด่ ีเทา่ ขา้ วเหนียว คือไดป้ ริมาณแอลกอฮอลน์ อ้ ยกวา่ แตม่ ีปริมาณกรดมากกวา่ แตบ่ า้ งก็รายงานวา่ สามารถใช้ ขา้ วทกุ ชนิดทาสาโทได้ ส่วนผผู้ ลิตท่ีมีประสบการณ์ รายงานวา่ หากใชข้ า้ วเจา้ จะทาใหส้ าโทข่นุ ทาให้ ตกตะกอนยาก และอาจเปร้ียวไดแ้ ต่ยงั ไมม่ ีผลการวจิ ยั ท่ีชดั เจน แตท่ ้งั น้ีอาจเป็นเพราะองคป์ ระกอบทาง เคมีของขา้ วแตล่ ะชนิด ที่แตกต่างกนั อยา่ งไรก็ตามจากการทดลองในหอ้ งปฏิบตั ิการพบวา่ สามารถใช้ ขา้ วเจา้ หมกั สาโทไดก้ าร ทดลองในหอ้ งปฏิบตั ิการ พบวา่ การหมกั สาโท หากใชข้ า้ วที่ยงั มีราขา้ วเหลืออยู่ บา้ ง อาจช่วยใหก้ ารหมกั ดีข้ึน เนื่องจากมีสารอาหารให้จุลินทรียม์ ากกวา่ ขา้ วขดั ขาว แตก่ ย็ งั ไม่มี ผลการวิจยั เพอื่ ยนื ยนั การผลิตแบบพ้ืนบา้ น กระบวนการผลิตสาโท ไดแ้ สดงไวใ้ นแผนภมู ิขา้ งล่างน้ี โดยเริ่มท่ีการ นาขา้ วเหนียว ไปน่ึง นามาผ่งึ ใหเ้ ยน็ แลว้ นาไปคลกุ กบั ลกู แป้งที่บดใหเ้ ป็นผงแลว้ โดยผสมน้าลงไป เพ่ือใหค้ ลุกเคลา้ ไดด้ ี และช่วยใหจ้ ุลินทรียเ์ จริญไดโ้ ดยผผู้ ลิตบางรายใชว้ ิธีนาขา้ วน่ึงไปลา้ งน้า 1คร้ัง แลว้ จึงผสมลูกแป้งตามความเชื่อเดิมวา่ เป็นการลา้ ยางขา้ วออก เมื่อคลุกลูกแป้งแลว้ จึงนาไปใส่ในโอง่ หรือ ภาชนะปากกวา้ ง ท้งั น้ีเพือ่ ใหข้ า้ วและเช้ือ ไดร้ ับอากาศเพียงพอ โดยใส่ขา้ วลงเพียงประมาณ 1 ใน 3 ของ ปริมาตรโอง่ ปิ ดฝาหลวมๆ เช่น ผา้ พลาสติก และหมกั ไว้ 3 วนั เม่ือเวลาการหมกั ผา่ นไปประมาณ 3 วนั เช้ือราจากลกู แป้งจะเจริญและยอ่ ยแป้งใหก้ ลายเป็นน้าตาลและเกิดน้าซึมออกมา เรียกวา่ น้าตอ้ ย แลว้ จึง เติมน้าลงไปเพื่อ ละลายน้าตาลท่ีเกิดข้นึ และสร้างสภาพท่ีไม่มีอากาศ ซ่ึงเหมาะสมกบั ยสี ต์ และยสี ตท์ ี่อยู่ ในลูกแป้งก็จะหมกั น้าตาลใหก้ ลายเป็นแอลกอฮอลแ์ ละกล่ินรสต่างๆ ตอ่ ไป การเติมน้าน้ีเรียกวา่ การผา่ น้า
โดยปกติจะเติมเฉพาะน้า แต่บางรายอาจเติมน้าตาลลงไปดว้ ย เพอ่ื ใหไ้ ดด้ ีกรีแรงๆ จึงหมกั ต่อไปใน ภาชนะเติม จนกวา่ จะไดค้ วามแรงของแอลกอฮอลต์ ามตอ้ งการ โดยทว่ั ไปใชเ้ วลา 1-2 สปั ดาห์ แลว้ จึง นาไปบรรจุขวดจาหน่าย การทาลกู แป้ง ลกู แป้ง เป็นกลา้ เช้ือจุลินทรีย์ ท่ีใชใ้ นการหมกั ขา้ วหมาก อุ และสาโท และ แมแ้ ตน่ ้าส้มสายชูและขนมถว้ ยฟใู นลูกแป้งสาหรับการหมกั สาโทจะมีเช้ือรา และเช้ือยสี ตผ์ สมกนั อยทู่ า หนา้ ที่ในการหมกั ขา้ วใหเ้ ป็นน้าตาล และเกิดแอลกอฮอลข์ ้ึนตามลาดบั เป็นสูตรท่ีถ่ายทอดกนั มาใน ครอบครัวมกั ปิ ดเป็นความลบั และรวบรวมไวโ้ ดยศาสตราจารยน์ ภา โล่ห์ทอง ในหนงั สือกลา้ เช้ืออาหาร หมกั สมุนไพรที่ใชท้ าลูกแป้งเหล่าน้ีสามารถยบั ย้งั แบคทีเรียท่ีทาใหแ้ ป้ง บดู เสีย แต่ไมท่ าลายยสี ตแ์ ละรา ที่ใชใ้ นการหมกั สมนุ ไพรในสูตรน้ี เพยี งพอแลว้ ในการยบั ย้งั แบคทีเรีย ไม่จาเป็นตอ้ งใชส้ ูตรสมุนไพร หลายชนิดเกินไป การทาลูกแป้งโดยผสมแป้งกบั สมนุ ไพรใหเ้ ขา้ กนั เติมน้าใหป้ ้ันเป็นกอ้ นได้ ประมาณ 80 มิลลิลิตรต่อน้า 100 กรัม คอื ใหแ้ ป้งที่นวดมีความช้ืนประมาณ 1 กิโลกรัม คลมุ ดว้ ยผา้ ขาวบางบม่ ประมาณ 48 ชว่ั โมง นาประมาณ 45 % เรียงลกู แป้งบนกระดง้ โรยผงลกู แป้ง15 กรัม ตากแดดใหแ้ หง้ การทากลา้ เช้ือบริสุทธ์ิ ในการผลิตสาโทระดบั อตุ สาหกรรมจาเป็นตอ้ งมีการใชก้ ลา้ เช้ือจุลินทรียบ์ ริสุทธ์ิ เพือ่ ให้ไดผ้ ลิตภณั ฑท์ ี่มีความสม่าเสมอ ลดความสูญเสียจากการ ปนเป้ื อนจุลินทรียท์ ี่ ไมต่ อ้ งการ และช่วยใหส้ ามารถผลิตในปริมาณมากได้ ในปัจจุบนั ยงั ไม่มีผผู้ ลิตกลา้ เช้ือ สาโทจาหน่าย แตเ่ ราสามารถเตรียม กลา้ เช้ือ บริสุทธ์ิไดจ้ ากเช้ือราและยสี ต์ ที่แยกไดจ้ ากลกู แป้ง การผา่ น้าในการผา่ น้า เป็นการเติมน้าลงไปในขา้ วที่หมกั กบั ลูกแป้งจนเกิดน้าซึมออกมาแลว้ เพอ่ื ไปละลายน้าตาลออกจากขา้ วทาใหย้ สี ตส์ ามารถนาไปใชห้ มกั แอลกอฮอลไ์ ดน้ ้าที่ใชค้ วรเป็นน้า สะอาด ปราศจากเช้ือจุลินทรีย์ โดยอาจใชน้ ้าตม้ หรือน้ากรองการผา่ น้ามีจุดประสงค์ เพือ่ เจือจางความ เขม้ ขน้ ของน้าตาลท่ีเกิดจากการหมกั ใหเ้ หมาะสมกบั การเจริญของยสี ต์ โดยปรับใหม้ ีความเขม้ ขน้ ประมาณ 20 องศาบริกส์ การเตรียมน้าสุราเพ่ือบรรจุ น้าสาโท มีความแตกตา่ งจากไวน์ผลไม้ ทว่ั ไป เน่ืองจากมีเศษ ตะกอนขา้ ว และเช้ือยสี ตป์ ะปนจนทาใหส้ าโท มีลกั ษณะข่นุ ขาว ซ่ึงจะเป็นอาหารของจุลินทรียท์ าให้ สาโทมีโอกาสเกิดการหมกั ข้ึนใหมใ่ นขวดเน่ืองจาก เม่ือชาวบา้ นหมกั สาโทเสร็จ ก็ตกั ขายใส่กระบอก ถุงพลาสติกขายให้ ลกู คา้ นาไปด่ืมที่บา้ น หรือขายเป็นโอ่งเป็นไห ใชด้ ื่มในงานบุญงานมงคลตา่ งๆ การปรับปริมาณน้าตาล เมื่อหมกั สาโทไดท้ ่ีแลว้ ยสี ตจ์ ะใชน้ ้าตาลเปล่ียนเป็นแอลกอฮอลจ์ น หมด ทาใหส้ ุราไมม่ ีรสหวานแตร่ สนิยมของผบู้ ริโภคอาจตอ้ งการสุราที่มีรสหวาน จึงสามารถเติมน้าตาล ลงในสุราเพอ่ื ปรับรสชาติได้ การปรับปริมาณน้าตาลในสุราไม่สามารถใชเ้ คร่ืองรีแฟรกโตมิเตอร์วดั ปริมาณน้าตาลได้
การเติมสี กลิ่นกรมสรรพสามิตอนุญาตใหม้ ีการปรับสีและกล่ินของสุราแช่ไดแ้ ต่ในการผลิต จะตอ้ งระบุส่วนผสมในการขออนุญาตกบั กรมสรรพสามิต แต่การเติมสีกลิ่นที่ไมเ่ ป็นธรรมชาติทาให้ สูญเสียเอกลกั ษณ์ของสาโทแบบด้งั เดิมไปการเติมสุรากลน่ั หากตอ้ งการใหแ้ รงแอลกอฮอลส์ ูงกวา่ ท่ีหมกั ได้ ตามประกาศกระทรวงการคลงั อนุญาตให้ นาสุรากลนั่ มาผสมไดแ้ ต่เม่ือผสมแลว้ ตอ้ งมีแรง แอลกอฮอลไ์ ม่เกิน 15 ดีกรี การกรอง หากผผู้ ลิตตอ้ งการสาโทที่มี ลกั ษณะใส เพอื่ ใหเ้ ป็น ผลิตภณั ฑร์ ะดบั เดียวกบั เครื่องด่ืมทาง ตะวนั ตก เช่น ไวน์ เบียร์ สาเก จะตอ้ งนาสาโทมากรองใหใ้ ส ท้งั น้ีเนื่องจาก แมจ้ ะมี การตกตะกอนสาโทแตย่ งั มียสี ต์ และละอองสารแขวนลอยหลงเหลืออยู่ ทาใหน้ ้าสาโทไม่ใส และถา้ ต้งั ทิ้งไวน้ านๆจะตกตะกอนลงสู่กน้ ขวด การกรองสาโทมีหลายระดบั แตส่ าโทท่ีผา่ นการตกตะกอนมาดีแลว้ สามารถนามากรองเพียงข้นั ตอนเดียวการตกตะกอนมาดีแลว้ สามารถนามากรองเพียงข้นั ตอนเดียวคือการ กรองผา่ นเคร่ืองกรองแบบฟิ วเตอร์ เพรส บางคร้ัง อาจมีการใชแ้ ป้งช่วยกรอง เพอ่ื ผา้ กรอง หากสาโทมี ความขนุ่ มากจะกรองไดช้ า้ และทาใหเ้ ครื่องกรองอดุ ตนั ในระดบั ครัวเรือน การกรองแบบมีแป้งกรองอาจ ประยกุ ตใ์ ชเ้ ครี่องป๊ัมสูญญากาศดูดน้าสาโทใหไ้ หลผา่ นแป้งกรองลงในขวดการกรองลงในขวดการกรอง ละเอียดอยา่ งไรก็ตามแมจ้ ะผ่านการกรองแบบ Filter Press แลว้ แตก่ ย็ งั ไมใ่ สเป็นประกาย ซ่ึงทาไดโ้ ดย ใชแ้ ผน่ เยอื่ ใยที่ผลิตจากสารสังเคราะห์ ซ่ึงจะมีรูพรุนท่ีมีขนาดของรูเลก็ กวา่ ขนาดของเซลลย์ สี ต์ การกรอง ดว้ ยแผน่ เย้อื ใยในน้ีจะทาใหไ้ ดไ้ วนใ์ สเป็นประกาย แตต่ อ้ งแลกดว้ ยการเปลี่ยนแปลงของกล่ินรส ท่ีอาจจะ ถกู กรองออกไปและค่าใชจ้ ่ายสูง การพาสเจอไรส์ สาโทโดยทวั่ ไปจะมีรสหวาน ดงั น้นั น้าตาลท่ีมีอยจู่ ะเป็นอาหารของ จุลินทรีย์ ทาใหเ้ กิดการหมกั ภายในขวดไดด้ งั น้นั จึงควรมีการฆ่าเช้ือดว้ ยความร้อน หรือเรียกวา่ การพาส เจอไรส์คือการให้ความร้อนที่เพยี งพอในการทาลายจุลินทรียท์ ี่จะก่อใหเ้ กิดปัญหา แต่ไมไ่ ดฆ้ า่ เช้ือท้งั หมด เพราะถา้ จะฆ่าเช้ือท้งั หมดตอ้ งใชค้ วามร้อนสูงมาก ซ่ึงจะทาใหผ้ ลิตภณั ฑเ์ ส่ือมเสียคุณภาพจากความร้อน จะทาใหน้ ้าสาโทร้อนท่ีอณุ หภูมิเพยี ง 63 – 65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 นาที แลว้ นาไปทาใหเ้ ยน็ ลง ทนั ที โดยการแช่น้าเยน็ การพาสเจอไรส์ อาจทาก่อนการบรรจุขวด โดยส่งน้าสุราไปตามทอ่ ที่ไดร้ ับ ความร้อน และไหลวนอยใู่ นทอ่ จนไดเ้ วลาท่ีตอ้ งการแลว้ จึงบรรจุขวดนาไปแช่น้าเยน็ แต่ขวดท่ีใชต้ อ้ ง ผา่ นการฆ่าเช้ือก่อนดว้ ย โดยการลวกน้าร้อน อีกวธิ ีหน่ึงคือการบรรจุ สุราลงขวด แลว้ นาขวดไปตม้ ในน้า ร้อน เม่ือครบระยะเวลา ก็นาไปทาใหเ้ ยน็ ขอ้ พงึ ระวงั ในการพาสเจอไรส์ คือน้าสุราที่ผ่านความร้อนคือน้า สุราท่ีผา่ นความ ร้อน จะทาใหป้ ริมาณแอลกอฮอลล์ ดลงเลก็ นอ้ ย และหากไดร้ ับความร้อนนานเกินไปจะ ทาใหเ้ สียกล่ินรสเกิดรสไหมข้ ้นึ ซ่ึงเป็นส่ิงที่ไม่พงึ ประสงค์
2.ไวน์(wine) ไวนห์ รือที่เรียกวา่ เหลา้ องนุ่ เป็นท่ีนิยมกนั อยา่ งมากและแพร่หลายแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดงั น้ี 2.1 คอื ไวน์ท่ีหมกั จากองนุ่ โดยไมต่ อ้ งเพิม่ ตอ้ งเติมส่ิงหน่ึงส่ิงใดลงไป ไม่มีแก๊ส ดีกรี ท่ีนิยมก็10-13ดีกรี นิยมด่ืมในทุกโอกาสแต่ส่วนใหญจ่ ะด่ืมประกอบ อาหารเพ่ือเจริญอาหารและชูรสชาติของ อาหารมี3สี - ไวนแ์ ดง จะมีต้งั แต่สีแดงอ่อนถึงสีแดงเขม้ ข้ึนอยกู่ บั ชนิดขององุ่นที่นา มากหมกั และ ระยะเวลาในการหมกั ส่วนใหญ่ไวน์จะมีรสฝาดและใหม้ ี รสหวานนอ้ ยมากเรียกวา่ Dry นิยมดื่มโดยไม่แช่น้า - ไวน์ขาว จะมีต้งั แต่เหลืองซีดจนถึงเหลืองทอง ลกั ษณะทวั่ ไปจะมีรส ออ่ นกล่ินนอ้ ยความหวานมีต้งั แต่หวานนอ้ ยจนถึงหวานมากไม่มีรส ฝาดนิยมแบบแช่เยน็ - ไวนช์ มพู จะมีต้งั แต่สีชมพูออ่ นจนถึงเกือบชมพูหรือเกือบแดงไวน์ ชมพูจะมีระหวา่ งไวนข์ าวกบั ไวนแ์ ดงคือมีความฝาดเลก็ นอ้ ยและมีรส เปร้ียวอมหวานจึงเป็นที่นิยมเพราะดื่มจ่ายและนิยมแช่เยน็ ก่อนดื่ม 2.2 คือไวนท์ ่ีมีแกส๊ จึงทาใหม้ ีรสซ่ามีท้งั สีขาวชมพูและแดง ใชก้ รรมวิธีในการ หมกั ไวน์ซ้าเป็นคร้ังท่ีสองภายในขวด และเก็บรักษาแก๊สน้ีไว้ จึงทาใหเ้ กิดรสซ่าเป็นท่ีนิยม กนั มาก จึงมีการจดลิขสิทธ์ิไวใ้ นช่ือของฝรั่งเศส ส่วนไวนท์ ่ีผลิตดว้ ยกรรมวธิ ีคลา้ ยคลึง กนั จะใชค้ าวา่ แชมเปญนิยมด่ืมเพือ่ แสดงความยนิ ดีต่อกนั เสิร์ฟโดยแช่เยน็ จดั 2.3คอื ไวน์ท่ีเพมิ่ แอลกอฮอล์ ใหส้ ูงประมาณ18-19ดีกรี จะมีกล่ิน รส และ แอลกอฮอลม์ ากกวา่ ไวนธ์ รรมดาแช่เยน็ เพียงเลก็ นอ้ ยก่อนด่ืม 3.เบยี ร์ เบียร์เป็นหน่ึงในเคร่ืองด่ืมที่มีการเตรียมการก่อนดื่มที่เก่าแก่ที่สุดในโลก สามารถนบั ยอ้ นกลบั ไปไดถ้ ึงตน้ ยคุ หินใหมห่ รือราว 9500 ปี ก่อนคริสตกาลเม่ือเมลด็ ธญั พืชถูกนามาเพาะปลูกคร้ัง แรกและไดร้ ับการบนั ทึกในประวตั ิศาสตร์ของเมโสโปเตเมียและอียปิ ตโ์ บราณ ส่วนผสมหลกั องคป์ ระกอบหลกั ในการหมกั เบียร์ คอื น้า ขา้ วมอลตค์ ือเมลด็ ขา้ วอบแหง้
หรือควั่ ของเมลด็ ธญั พืชที่แตกหน่อแลว้ โดยปกติใชเ้ มลด็ ขา้ วบาร์เลยฮ์ อปส์ และ ยสี ต์ และยงั มีส่วนผสมอื่นๆ เช่นผลเชอร์รี่ ราสเบอร์รี่ และเมลด็ ธญั พชื อ่ืน เช่น เมลด็ ขา้ ว สาลี เรียกวา่ แอดจงั ท์ หรือ ส่วนผสมขา้ งเคยี ง - น้า เนื่องจากน้าน้นั เป็นองคป์ ระกอบหลกั ของเบียร์ คณุ สมบตั ิของน้าท่ี ใชจ้ ึงมีผลต่อรสชาติของเบียร์ - มอลต์ เมลด็ ขา้ วมอลต์ จากขา้ วบาเลยน์ ้นั เป็นชนิดที่นิยมใชม้ ากท่ีสุด เนื่องมาจากมีปริมาณเอนไซมอ์ ะไมเลส สูง ซ่ึงทาใหก้ ระบวนการแตก ตวั ของแป้งเป็นน้าตาลน้นั เกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็วนอกเหนือจากขา้ วมอลต์ จากขา้ วบาเลยแ์ ลว้ เมลด็ ธญั พืช อ่ืนๆ เช่น ขา้ วสาลี ขา้ วเจา้ ขา้ วโพด ขา้ วโอ๊ต และขา้ วไรย์ ท้งั แบบที่ทาเป็นขา้ วมอลต์ และเมลด็ ปกติ ก็ยงั ใช้ เป็นส่วนผสมอีกดว้ ย - ฮอปส์ ส่วนผสมซ่ึงใหร้ สขมในเบียร์ เพื่อสมดุลรสหวานจากมอลต์ นอกจากน้นั ยงั มีผลเป็นยาปฏิชีวนะ ต่อตา้ นจุลินทรียอ์ ่ืนๆ ท่ีไมใ่ ช่ยสี ต์ ส่งผลตอ่ การหมกั - ยสี ต์ ใชใ้ นกระบวนการหมกั เพื่อยอ่ ยสลายน้าตาล ท่ีสกดั จาก เมลด็ ธญั พืช ใหเ้ ป็นแอลกอฮอลแ์ ละ คาร์บอนไดออกไซด์ โดยปกติแลว้ ระดบั แอลกอฮอลใ์ นเบียร์จะอยทู่ ี่ 4-6เปอร์เซ็นต์ แตอ่ าจจะต่าถึง 2 เปอร์เซ็นต์ หรือ สูงถึง 14 เปอร์เซ็นต์ ยสี ตท์ ี่ใช้ แบง่ เป็น 3 ประเภทคือ ยสี ตห์ มกั ลอยผวิ ยสี ตห์ มกั นอนกน้ ยสี ตธ์ รรมชาติ
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการโครงงาน ตารางปฏิบตั ิงานระหวา่ ง 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ถึง 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ลาดบั รายการทปี่ ฏิบัติ ว/ด/ป ผู้รับผดิ ชอบ หมาย เหตุ ท่ี 1 กาหนดหัวข้อ 12 มกราคม-19 นางสาวแคทรียา วงั งิว้ -สมาชิกกล่มุ เสนอหวั ขอ้ มกราคม นางสาวรินลดา ดอกสุข -เขียนเคา้ โครงท่ีจะศึกษา นางสาววิมลยา แหลล่ ิ -แบ่งหนา้ ท่ีหาขอ้ มลู นางสาวณฐั ธิดา ตาละ นะ นายเอกพล ผาแดงชยั 2 รวบรวมข้อมูล นางสาวแคทรียา วงั งิว้ -ศึกษาขอ้ มูลจากหอ้ งสมุด พบวา่ มีหนงั สือที่ นางสาวรินลดา ดอกสุข เก่ียวขอ้ งจานวน 3 เล่ม 19 มกราคม- 29 นางสาววมิ ลยา แหลล่ ิ (1) สารานุกรมไทยฉบบั มกราคม นางสาวณฐั ธิดา ตาละ เยาวชนเลม่ 23 นะ (2) หนงั สือประวตั ิศาสตร์ นายเอกพล ผาแดงชยั ไทย ช้นั ม.4-6 (3) หนงั สือชาวชนเผา่ กะเหร่ียง -ศึกษาจากอินเตอร์เน็ตหรือเวบ็ ไซตต์ ่างๆ พบวา่ มีเวป็ ไซตท์ ่ีเก่ียวขอ้ งจานวน 3 เวป็ ไซต์ (1)https://www.silpa- mag.com (2)https://surathai. wordpress.com (3)https://www.silpa- mag.com
3 ประเมินคุณค่าของหลกั ฐาน 29 มกราคม- 6 นางสาวแคทรียา วงั งิว้ -นาขอ้ มลู จากการคน้ หา กมุ ภาพนั ธ์ นางสาวรินลดา ดอกสุข -นาขอ้ มูลจากการศึกษาพธิ ีกรรมท่ีเก่ียวกบั นางสาววมิ ลยา แหลล่ ิ การตม้ เหลา้ กะเหร่ียงมารวมกนั นางสาวณฐั ธิดา ตาละ นะ นายเอกพล ผาแดงชยั 4 วิเคราะห์สังเคราะห์และจัดหมวดหมู่ข้อมูล นางสาวแคทรียา วงั งิว้ -จดั เรียงขอ้ มลู นางสาวรินลดา ดอกสุข (1) ความเป็นมาของชน 6 กุมภาพนั ธ์-18 นางสาววิมลยา แหล่ลิ เผา่ กะเหรี่ยง กมุ ภาพนั ธ์ นางสาวณฐั ธิดา ตาละ (2) ประเภทของเหลา้ นะ กะเหรี่ยง นายเอกพล ผาแดงชยั (3) การใชเ้ หลา้ ในการ ประกอบพธิ ีการ ตา่ งๆของชนเผ่า กะเหร่ียง (4) วิธีการตม้ เหลา้ -การทาลูกแป้ง -วสั ดุการทาหัวเช้ือ -ข้นั ตอนการทาหวั เช้ือ -ข้นั ตอนการหมกั -วสั ดุการตม้ -ข้นั ตอนการตม้ เหลา้
5 เรียบเรียนหรือนาเสนอ 18 กุมภาพนั ธ์-26 นางสาวแคทรียา วงั งิ้ว -นาขอ้ มลู มาจดั ทารูปเลม่ กุมภาพนั ธ์ นางสาวรินลดา ดอกสุข -วางแผนการนาเสนอ นางสาววิมลยา แหลล่ ิ -นาเสนอโครงงาน นางสาวณฐั ธิดา ตาละ นะ นายเอกพล ผาแดงชยั
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งานโครงงาน จากการศึกษาโครงงานเรื่องเหลา้ พ้นื เมืองกะเหรี่ยงพบวา่ เหลา้ พ้ืนเมืองของกะเหร่ียงมีเรื่องที่ ศึกษาไดด้ งั น้ี 1.ความเป็ นมาของชนเผ่ากะเหรี่ยง กะเหรี่ยง อพยพมาจากทางเหนือสู่ดินแดนพมา่ และทางภาคตะวนั ตกของประเทศไทย กาหนดเวลาที่พวกน้ีอพยพมาน้นั ไมท่ ราบแน่นอน แต่ภายหลงั การอพยพของชนกระกลู มอญ-เขมร และ อาจจะก่อท่ีไทยจะอพยพมาทางเหนือ มีนกั คน้ ควา้ บางคนใหค้ วามเห็นวา่ พวกไทยน้นั อพยพก่อนพวก พมา่ ภาพหมู่ของกะเหร่ียงชายหญิง คาดว่าเป็นปกาเกอะญอหรือสะกอ ถ่ายเมื่อปี 2469 ที่เชียงใหม่ แมว้ า่ ชาววชิ าการหลายคนในปัจจุบนั เห็นพอ้ งวา่ กะเหรี่ยงไม่มีถิ่นกาเนิดเดิมอยใู่ นเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้ พวกเขาอยมู่ าชา้ นานร่วมกบั กลมุ่ ชาติพนั ธุ์พม่าและไทยท่ีอพยพเขา้ มายงั ดินแดนแถบน้ี โรนลั เรนาร์ด เสนอวา่ ชาวกะเหรี่ยงน่าจะเคล่ือนยา้ ยมุง้ สู่ทิศใตผ้ า่ นทางแม่น้าโขง สาละวนิ ในขณะที่ หลกั ฐานกลา่ วถึงกะเหร่ียงในเอกสารไทยเช่น ตานาน พงศาวดารต่างๆ ก่อนช่วงพทุ ธศตวรรษที่22 น้นั ไม่ ปรากฏใหเ้ ห็น แสดงวา่ พวกเขาอยใู่ นเขตพมา่ มาก่อน ก่อนจะเคล่ือนยา้ ยมาเทื่อนเขาตะนาวศรีฝ่ังไทยใน ศตวรรษที่22 เป็นตน้ มา โรนลั เรนาร์ด เสนอวา่ ช่าวกะเหรี่ยงน่าจะเริ่มปรากฏต้งั แต่ศตวรรษท่ี22 ดงั
ปรากฏในเหตกุ ารณ์ยกทพั กลบั สู่อยธุ ยาของสมเดจ็ พระนารายณ์ในปี 2004 หลงั ข้นึ ไปตีเมืองเชียงใหม่ ซ่ึง สันนิษฐานโดยสมเดจ็ ฯกรมพระยาดารงราชานุภาพวา่ เป็นเมืองแม่ระนาดในปัจจุบนั ในหนงั สือ สมดุ ราชบรุ ี ไดก้ วา่ วา่ พวกกะเหรี่ยง ในเขตเพชรบุรี,ราชบุรี, กาญจนบุรี ไวว้ า่ ชนเผา่ พวกน้ีอยตู่ ามภูเขาทีค่ตอ่ แดนระหวา่ งพระราชอาณาจกั ร์สยามกบั เขตพมา่ และถือเป็นพลเมือง พิเศษ โดยกะเหร่ียง เริ่มแรกจะเขา้ มาอยใู่ นอาเภอสังขละ ประเทศสยามน้นั เดิมทีอยทู่ ี่บา้ นเมกะวะ เมือยง ละมะเมง่ ประเทศพมา่ เขา้ มากนั เองโดยมิไดม้ ีการบีบค้นั กดขจี่ ากประเทศ ภายหลงั กม็ ีพวกกะเหรี่ยงบา้ นเมกะวะน้นั พากนั ยกตามเขา้ มาเสมอ เท่ียวแยกยา้ ยกนั อยตู่ าม หุบหว้ ยหุบเขา ไม่เคยถูกเกณฑใ์ นสงครามแรกเขา้ มาจนทุกวนั น้ีไดป้ ระมาณ150ปี ภายหลงั มีกะเหรี่ยง มากข้นึ ในหวั หนา้ ของกะเหรี่ยงกพ็ ากนั ลงไปหาเจา้ หนา้ ท่ีจงั หวดั กาญจนบุรี เพ่ือขอต้งั ใหมีเจา้ ยนาย ปกครอง ตอนน้ีไดต้ ้งั กะเหร่ียงเป็นหวั หนา้ เจา้ เมือง เรียกวา่ เมืองสังลขะบุรุ ชนชาติกะหร่ียงเป็นเจา้ เมืองที่พระยาศรีสุวรรณคีรีหรือ๓วะโพ โดยกาหนดวา่ ทกุ 3ปี จะตอ้ งลงไปถือน้าพระพิฑฒั นส์ ตั ยาที่ กาญจนบุรีพร้อมนามเครื่องบรรณาการ ไดแ้ ก่ ผา้ ทอสีขาวและผา้ ทอสีแดงทาเอง30ผืน ไปถวายพระเจา้ แผน่ ดินถา้ คานวณอายกุ ารเดินทางเขา้ มาต้งั ถ่ินฐานของ ‘ชาวเกรี่ยง’ หรือ ‘กะเหรี่ยง’ ที่กาญจนบุรีกจ็ ะตก อยรู่ าวปี 2318 หรือหลงั การเสียกรุงคร้ังที่สอง ซ่ึงเป็นไปไดว้ า่ ผลกระทบจากสงครามเสียกรุงน้ีทาให้ ทางการสยามยนิ ดีท่ีมีประชากรเขา้ มาต้งั ถ่ินฐาน จึงยกพ้นื ที่ดงั กล่าวเป็นเมือง และต้งั ชาวกะเหร่ียงใหเ้ ป็น เจา้ เมืองดว้ ย ชาวกะเหร่ียง มณฑลราชบุรี
ชาวกะเหรี่ยงในพ้นื ที่น้ีมีบทบาทสาคญั ยงิ่ ตอ่ การป้องกนั ชายพระราชอาณาเขตดา้ นทิศ ตะวนั ตก ดงั เห็นไดจ้ ากช่วงปี 2317-2336 และปี 2367 ไดม้ อบหมายใหล้ าดตระเวนแนวชายแดนของเมือง ราชบรุ ี อมุ้ ผาง ตาก และกาญจนบรุ ีถา้ สรุปโดยรวบรัด ชาวกะเหรี่ยงในเขตเทือกเขาตะวนั ตกน้ีพบวา่ มีการ ต้งั ถิ่นฐานมานานแลว้ ก่อนปี 2317 เป็นแน่ โดยอยภู่ ายใตก้ ารรับรู้ของรัฐไทยท้งั ในสมยั อยธุ ยาและ รัตนโกสินทร์แลว้ ผ้หู ญิงและผู้ชายชาวกะเหร่ียงจากเชียงใหม่ที่เกินขบวนหน้าพระที่น่ังสมัยรัชกาลที่ 5
กระบวนรถภาพของชาวยางหรือกะเหรี่ยง ท่ีเชียงใหม่ เม่ือปี 2469 กะเหรี่ยงเป็นชนเผา่ ที่จดั ไดว้ า่ มีหลายเผา่ พนั ธุ์ หลายภาษา มีการนบั ถือศาสนาที่ตา่ งกนั แต่ กะเหรี่ยงด้งั เดิมจะนบั ถือผี เชื่อเร่ืองตน้ ไมป้ ่ าใหญ่ ภายหลงั หนั มานบั ถือพทุ ธคริสตเ์ ป็นตน้ กะเหร่ียง มีถ่ิน ฐานต้งั อยทู่ ี่ประเทศพม่า แต่หลงั จากถูกรุกรานจากสงคราม จึงมีกะเหร่ียงท่ีอพยพเขา้ มาอาศยั อยปู่ ระเทศ ไทย กะเหรี่ยงท่ีอาศยั อยใู่ นประเทศไทย แบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท แบง่ ออกเป็นกล่มุ ยอ่ ย กะเหรี่ยง สะกอ หรือท่ีเรียกนามตวั เองวา่ ปากะญอ หมายถึงคน หรือมนุษยน์ ้นั เองกะเหร่ียงสะกอเป็นกลุ่มท่ีมี จานวนมากท่ีสุด มีภาษาเขยี นเป็นของตนเอง โดยมีมิชชนั นารีเป็นผคู้ ิดคน้ ดดั แปลงมาจากตวั หนงั สือพมา่ ผสมภาษาโรมนั กล่มุ น้ีหันมานบั ถือศาสนาคริสตเ์ ป็นส่วนใหญ่ กะเหรี่ยงโปร์น้นั เป็นกลุม่ ที่ค่อนขา้ ง เคร่งครัดในประเพณี พบมากที่อาเภอ แม่สะเรียง จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน อาเภอ อมก๋อย จงั หวดั เชียงใหม่ และแถบตะวนั ตกของประเทศไทย คอื กะเหร่ียงบเว พบที่ อาเภอ ขนุ ยวม แม่ฮ่องสอน ส่วนปะโอ หรือ ตองสูกม็ ีอยบู่ า้ ง แตพ่ บนอ้ ยมากในประเทศไทย ชนเผา่ \"ปกากะญอ\" เป็นชนเผา่ ที่บอกกล่าวถึง ประวตั ิศาสตร์ความเป็นมานบั ร้อยนบั พนั เรื่อง เรียงร้อยเก็บไวใ้ นเเนวของนิทาน อาจจะไม่ใช่หลกั ฐานท่ี เเน่ชดั เเตก่ พ็ ยายามที่จะเล่าสืบทอดใหล้ กู หลานไดร้ ู้ ถึงความเป็นมาของเผา่ พนั ธุ์ และวฒั นธรรมของ ตวั เอง เลา่ กนั ต้งั แต่สมยั ท่ีพระเจา้ สร้างโลก พระองคไ์ ดส้ ร้างมนุษย์ คู่แรก คือ อดมั กบั เอวา ท้งั สองคนได้ ใชช้ ีวติ อยรู่ ่วมกนั ในสวน (เอเดน) ที่พระองคไ์ ดส้ ร้างไว้ ท้งั สองไดท้ า ผดิ กฎ ของสวรรค์ จึงถกู เนรเทศลง มาใชก้ รรมอยใู่ นโลกจนกระทงั่ มีลูกหลานสืบเช้ือสายมาจนถึงทกุ วนั น้ี
การแตง่ กายของเผา่ กะเหร่ียง การแตง่ กายที่เป็นเอกลกั ษณ์ประจากลุ่มมกั เป็นไดจ้ ากการ แตง่ กายของผหู้ ญิง เส้ือสีแดงเป็นสญั ลกั ษณ์ของความเป็นชาย นน่ั คือ ความอดทนแขง็ แรง เส้ือสีแดงของ ชายกะเหร่ียงเนน้ เส้ือทรงสอบ คอเส้ือเป็นรูปตวั วี ตรงชายเส้ือติดพู่หอ้ ยลงมา ผหู้ ญิงกะเหร่ียงสะกอท่ียงั ไม่แตง่ งานใส่ชุดทอดว้ ยมือทรงสอบ สีขาว ยาวคร่อมเทา้ ชุดขาวน้ีเรียกวา่ “เชว้ า้ ” ใส่ต้งั แต่เดก็ จนถึงวนั แตง่ งานจึงจะเปลี่ยนใส่ชุดขาว เพ่ือแสดงความบริสุทธ์ิ ผหู้ ญิงกะเหร่ียงสะกอท่ีแต่งงานแลว้ สวมเส้ือ ประดบั ประดาดว้ ยลกู เดือยและฝ้ายสี เส้ือของหญิงที่แตง่ งานแลว้ ตอ้ งมีลายปัก ตอ้ งมีการปักลกู เดือย สาหรับนบั ถือผีและพุทธ ส่วนศาสนาคริสตไ์ ม่จาเป็นตอ้ งปักลูกเดือย จะใส่ผา้ ซิ่นท่ีมีลายถ่ี ผา้ ซิ่นของ หญิงที่แต่งงานแลว้ และนบั ถือคริสตจ์ ะไมม่ ีลายถี่ ภาษาของเผา่ กะเหร่ียง ภาษากะเหรี่ยงที่มีการพดู ในประเทศไทยมากที่สุดคอื ภาษา กะเหร่ียงสะกอ และภาษากะเหรี่ยงโป ท้งั สองภาษาแบง่ ออกเป็นคนละภาษา เพราะแตกต่างกนั ใน เรื่องของระบบเสียง และคาศพั ทค์ อ่ นขา้ งมาก ท้งั ท่ีพูดอยู่ประเทศไทยและพมา่ ก็อยใู่ นตระกูลภาษาจีน-ธิ เบต เหมือนกนั ภาษาสาขากะเหร่ียงมีลกั ษณะสาคญั ท่ีแตกตา่ งจากภาษาในสาขาธิเบต คือภาษาในสาขา กะเหร่ียงจะมีการเรียงลาดบั คาในประโยคเป็นประธาน–กริยา-กรรม แต่ภาษาในสาขาธิเบตจะมีการ เรียงลาดบั คาในประโยคเป็น ประธาน-กรรม-กริยา ภาษากระเหร่ียงโปที่มีพดู กนั อยใู่ นประเทศไทยน้นั มีผู้ ศึกษา และแบ่งภาษาถ่ินของกะเหรี่ยงโปตามบริเวณพ้ืนที่ต้งั ถ่ินท่ีอยขู่ องชาวกะเหรี่ยงโปเป็น กล่มุ คือ กลมุ่ ที่ 1 เป็นภาษากะเหรี่ยงโปที่อาศยั อยใู่ นจงั หวดั เชียงใหม่และแมฮ่ ่องสอน กลุม่ ท่ี 2 เป็นภาษากะเหรี่ยงโปท่ีอาศยั อยใู่ นจงั หวดั ลาพนู และลาปาง กลมุ่ ที่ 3 เป็นภาษากะเหรี่ยงโปท่ีอาศยั อยใู่ นจงั หวดั เชียงราย แพร่ ตาก และกาญจนบุรี ประเพณีและวฒั นธรรม ดว้ ยความเชื่อและนบั ถือในเร่ืองผี-วญิ ญาณ ชาวกะเหรี่ยงจึงมี ประเพณี และพธิ ีกรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเล้ียงผีอยเู่ สมอ ผีท่ีชาวกะเหร่ียงนบั ถือมีอยู่ 2 อยา่ ง คือ ผีดี กบั ผี ร้าย ผีดีคือผบี า้ น ซ่ึงมีหนา้ ที่ดูและรักษาหมบู่ า้ นหรือผีเจา้ ที่นนั่ เอง และผเี รือน คือผบี รรพบุรุษ เช่น ผปี ่ ูยา่ ตายายท่ีตายไปแลว้ วิญญาณยงั วนเวยี น คุม้ ครองลกู หลานอยู่ ชาวกะเหรี่ยงจะมีพิธี เซ่น บวงสรวงบชู าผี เรือนอยา่ งนอ้ ยปี ละ 2 คร้ัง เพื่อใหป้ ลอดภยั จากการเจบ็ ไขไ้ ดป้ ่ วย หรือรอดพน้ จากภยั ท้งั ปวง นอกจากการ เล้ียงผบี า้ นผเี รือนแลว้ ชาวกะเหรี่ยงยงั มีพธิ ีเล้ียงผไี ร่ ผนี า ผีป่ า ผีดอย อีกดว้ ย ท้งั น้ีโดยอาศยั หมอผีผมู้ ี ความรู้ในเรื่องไสยศาสตร์ เวทมนตร์คาถา เนน้ ผปู้ ระกอบพธิ ีกรรมเล้ียงผเี หล่าน้ี ซ่ึงอาจจะมีท้งั ผดี ีและผี ร้าย ท่ีอยตู่ ามป่ าเขาลาธารทว่ั ไป คอยลงโทษผทู้ ่ีผา่ นไปใหไ้ ดร้ ับความเดือดร้อน ดงั น้นั ความเชื่อถือใน เรื่องผีและวญิ ญาณของชาวกะเหรี่ยง จึงมีผลดีตอ่ สังคมชาวกะเหรี่ยงอยา่ งมาก และทาใหเ้ กิดคณุ ธรรมข้ึน เพราะไม่มีใครกลา้ ทาความผิดแมแ้ ต่ตอ่ หนา้ และลบั หลงั เช่น การลกั ขโมยหรือการผดิ ลูกผิดเมียผอู้ ่ืน แม้ คนไม่เห็นแต่ผีเห็นเสมอ เป็นตน้ นอกจากการนบั ถือผีแลว้ ชาวกะเหร่ียงยงั นบั ถือศาสนาคริสต์ และพทุ ธ
ศาสนาอีกดว้ ย ซ่ึงก่อใหเ้ กิดเป็นประเพณีและวฒั นธรรมในเผา่ ข้นึ ข้ึน เช่น ประเพณีปี ใหม่ ประเพณีข้ึน บา้ นใหม่ ประเพณีเก้ียวสาว และแตง่ งาน หรือแมก้ ระทงั่ ประเพณีงานศพประเพณีปี ใหม่ซ่ึงเป็นประเพณี ท่ีสาคญั ท่ีสุดของชาวกะเหร่ียง โดยถือกาเนิดเอาเดือนกมุ ภาพนั ธข์ องทุกปี แตก่ ารจดั งานอาจจะไม่ตรงกนั ทุกปี ก็ได้ แลว้ แตห่ วั หนา้ หมู่บา้ นหรือฮีโข่ จะแจง้ ใหท้ ราบ ส่วนใหญแ่ ลว้ จะเป็นระยะเวลาก่อนจะถึง ฤดูกาลการเกษตร คือ หลงั จากงานปี ใหม่แลว้ กะเหร่ียงจะเริ่มทางานในไร่ ในนา ทนั ที 2.ประเภทของเหล้ากะเหร่ียง เหลา้ กะเหร่ียงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 2.1 สาโท สุราแช่ประเภทหน่ึงที่ไดจ้ ากการนาขา้ วมาหมกั ดว้ ยรา และ ยสี ต์ ท่ีอยใู่ นรูป ของ ลูกแป้ง จนเกิดการเปล่ียนแป้งใหเ้ ป็นน้าตาล และ เปลี่ยนน้าตาลใหเ้ ป็น แอลกอฮอล์ สาโทมีปริมาณแอลกอฮอล์ ไมเ่ กิน 15 ดีกรี ทาไดด้ ว้ ยการนาขา้ ว เหนียวน่ึง ปลอ่ ยใหเ้ ยน็ แลว้ นามา คลกุ เคลา้ กบั ผงลูกแป้งที่บดแลว้ ก่อนนาหมกั ใน ภาชนะปิ ดสนิท มี ช่องอากาศเลก็ นอ้ ย นาน 20-35 วนั ก่อนแยกน้าสาโท 2.2 เหลา้ กลนั่ หรือ เหลา้ ขาว เป็นเหลา้ ท่ีไดจ้ าก การหมกั ขา้ วเหนียวตอ่ จากน้นั เติมยสี ต์ เขา้ ไปเพือ่ ใหย้ สี ตก์ ินน้าตาลจากขา้ วจนหมดแลว้ คายแอลกอฮอลอ์ อกมา นา แอลกอฮอลท์ ี่ไดไ้ ปผา่ นกระบวนการกลนั่ เพอื่ ใหม้ ีดีกรีสูงข้นึ โดยเหลา้ ขาวตอ้ ง ปราศจากเครื่องยอ้ ม หรือส่ิงผสมปรุงแตง่ อ่ืนนอกจากน้า และมีปริมาณแอลกอฮอล์ ไม่เกิน 40 ดีกรี 3.การใช้เหล้าในการประกอบพธิ ีการต่างๆของชนเผ่ากะเหร่ียง ในการทาพิธีกรรมหลายอยา่ งของชนเผา่ กะเหรี่ยงน้นั ส่วนใหญ่จะมีการใชเ้ หลา้ ตม้ ในการ ประกอบพธิ ี เช่น พิธีปี ใหม่ การผกู ขอ้ มือ ประเพณีข้ึนบา้ นใหม่ ประเพณีกินขา้ วใหม่ พธิ ีกรรมการ เล้ียงผี และการสังสรรคร์ ่ืนเริงต่างๆ 3.1 พธิ ีข้ึนปี ใหม่ ทกุ หลงั คาเรือนในหมูบ่ า้ นจะหมกั เหลา้ เตรียมไวเ้ ม่ือถึงวนั กาหนด งาน หมอผีจะประกอบพิธีให้ โดยเร่ิมจากบา้ นของขงั คู หรือ หวั หนา้ หมู่บา้ นก่อน เป็นหลงั แรกแลว้ กระทาตอ่ ไปจนครบทุกหลงั คาเรือน ซ่ึงกินเวลาถึง 3 วนั กวา่ จะ เสร็จ โดยพิธีกรรมก็คอื มีการนาเหลา้ และไก่มาบวงสรวงตอ่ ผีและวิญญาณ จากน้นั กจ็ ะดื่มเหลา้ กนั ตามประเพณีและทาพิธีผกู ขอ้ มือดว้ ยสายสิญจน์เสกมนต์ คาถาอวยพรใหอ้ ยเู่ ยน็ เป็นสุขทุกบา้ น
https://www.bloggang.com การทาพิธีผกู ข้อมือด้วยสายสิญจน์เสกมนต์คาถาอวยพรให้อย่เู ยน็ เป็นสุขทกุ บ้าน 3.2 การผกู ขอ้ มือ การมดั มือน้ีกระเหรี่ยงมกั นิยมทากนั ในงานพิธีมงคลตา่ งๆ เมื่อมดั มือเสร็จแลว้ กเ็ ล้ียงฉลองกนั อยา่ งสนุกสนาน ร่ืนเริงงานประเพณีปี ใหม่น้ีไก่และหมจู ะ ถูกฆา่ นามาเป็นเครื่องเซ่น ไหวผ้ ีและนามาเล้ียงกนั อยา่ งทว่ั ถึงในหมู่บา้ นแต่ละแห่ง
https://sites.google.com ไหว้ผีและนามาเลยี้ งกนั อย่างท่ัวถึงในหมู่บ้านแต่ละแห่ง 3.3 ประเพณีข้นึ บา้ นใหม่ พิธีน้ีจะจดั ข้ึนเมื่อชาวกะเหร่ียงสร้างบา้ นเรือนใหม่ ซ่ึงถือเป็น เร่ืองจาเป็นและมีความสาคญั เพราะชาวกะเหรี่ยงถือวา่ ถา้ หากสร้างบา้ นเสร็จแลว้ ไมไ่ ดท้ าพิธีข้นึ บา้ นใหม่ผเู้ ขา้ อยอู่ าศยั กจ็ ะไมม่ ีความสุข ดงั น้นั พิธีข้นึ บา้ นใหมข่ อง ชาวกะเหรี่ยงจึงถกู จดั ข้นึ โดยการจดั เล้ียงสุรา อาหาร ฆ่าหมู ไก่ เล้ียงกนั สาหรับ แม่บา้ นกจ็ ะจดั กาหนดหรือขา้ วปุกหรือขา้ วเหนียงตาคลุกงา และขา้ วตม้ มดั เล้ียงกนั อยา่ งสนุกสนานครึกคร้ืนมีการร้องเพลงอวยพรใหเ้ จา้ ของบา้ นดว้ ย
https://armsport555.wordpress.com ครอบครัวต้องขึน้ ไปบนบ้านเพื่อทาพิธีมัดมือ 3.4 ประเพณีกินขา้ วใหม่ มีชาวเขาหลายเผา่ ที่จดั ใหม้ ีพธิ ีน้ีข้ึน ท้งั น้ีเพ่ือเป็นการขอบคุณสิ่ง ศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีดลบนั ดาลใหไ้ ดผ้ ลผลิตอยา่ งท่ีหวงั เช่นเดียวกบั ชาวมูเซอที่จดั งานประเพณี กินขา้ วใหมช่ าวกะเหร่ียงจะจดั งานพธิ ีกินขา้ วใหมภ่ ายหลงั จากการเก็บเก่ียวขา้ วในไร่นา เสร็จแลว้ ในพธิ ีเล้ียงกจ็ ะจดั คลา้ ยๆกบั ประเพณีข้นึ บา้ นใหม่ คือ มีการเล้ียงฉลองใน ระหวา่ งเพ่ือนบา้ นคลา้ ยหมบู่ า้ นเดียวกนั ประเพณีพิธีกรรม และความเชื่อ ส่ิงเหล่าน้ีท่ี ชาวกะเหรี่ยงมีการนบั ถือท้งั ศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์ เกือบร้อยละ90ถือผี การ เล้ียงผีท่ีสาคญั มีผีเรือนผีบรรพบุรุษและผนี ้า พิธีมดั มือปี ใหม่จดั ข้ึนประมาณเดือน กุมภาพนั ธถ์ ึงเมษายน ตอนเชา้ ของวนั พิธีมีหมูเน้ือหมทู าอาหารรับประทานกนั มีการตม้ เหลา้ ใชเ้ วลาประมาณ4-5ชวั่ โมงและมีการตาขา้ วป๊ กุ
https://armsport555.wordpress.com พิธีกินข้าวใหม่ภายหลงั จากการเกบ็ เกย่ี วข้าวในไร่นาเสร็จแล้วในพิธีเลีย้ งกจ็ ะจัดคล้ายๆกบั ประเพณีขึน้ บ้านใหม่ คือ มกี ารเลยี้ งฉลองในระหว่างเพ่ือนบ้านคล้ายหมู่บ้านเดียวกนั 3.5 พิธีกรรมเล้ียงผี ดว้ ยความเช่ือและนบั ถือในเร่ืองผี-วิญญาณ ชาวกะเหรี่ยงจึงมีประเพณี และพธิ ีกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเล้ียงผีอยเู่ สมอ ผที ี่ชาวกะเหรี่ยงนบั ถือมีอยู่ 2 อยา่ งคอื ผี ดีกบั ผีร้าย ผดี ีคือผีบา้ นซ่ึงมีหนา้ ท่ีดูแลรักษาหมบู่ า้ นหรือผีเจา้ ท่ีน้นั เองและผเี รือนคือผี บรรพบุรุษ เช่น ผีป่ ยู า่ ตายายท่ีตายไปแลว้ วญิ ญาณยงั วนเวยี นคุม้ ครองลูกหลานอยู่ ชาวกะเหรี่ยงจะมีพิธี เช่น บวงสรวงบูชาผีเรือนอยา่ งนอ้ ยปี ละ 2 คร้ัง เพอ่ื ใหป้ ลอดภยั จากการเจบ็ ไขไ้ ดป้ ่ วย หรือรอดพน้ จากภยั ท้งั ปวง นอกจากการเล้ียงผบี า้ นผีเรือนแลว้ ชาวกะเหรี่ยงยงั มีพิธีเล้ียงผไี ร่ ผนี า ผดี อย อีกดว้ ย ท้งั น้ีโดยอาศยั หมอผีผมู้ ีความรู้ใน เร่ืองไสยศาสตร์ เวทมนตร์คาถาเนน้ ผปู้ ระกอบพธิ ีกรรมเล้ียงผีเหลา่ น้ี ซ่ึงอาจจะมีท้งั ผี ดีและผีร้ายที่อยตู่ ามป่ าเขาลาธารทงั่ ไป คอยลงโทษผทู้ ี่ผา่ นไปใหไ้ ดร้ ับความเดือดร้อน
ดงั น้นั ความเชื่อถือในเร่ืองผีและวิญญาณของชาวกะเหร่ียง จึงมีผลดีต่อสงั คมชาว กะเหรี่ยงอยา่ งมากและทาใหเ้ กิดคณุ ธรรมข้ึน เพราะไม่มีใครกลา้ ทาความผิดแมแ้ ต่ต่อ หนา้ และลบั หลงั เช่น การลบั ขโมยหรือการผิดลกู ผิดเมียผอู้ ่ืน แมค้ นไมเ่ ห็นแต่ผีเห็นเสมอ เป็นตน้ นอกจากการนบั ถือผีแลว้ ชาวกะเหรี่ยงยงั นบั ถือศาสนาคริสต์ และพุทธศาสนาอีก ดว้ ยซ่ึงก่อใหเ้ กิดเป็นประเพณีและวฒั นธรรมในเผา่ ข้ึน เช่นประเพณีปี ใหม่ ประเพณีข้นึ บา้ นใหม่ ประเพณีเก้ียวสาวและแต่งงานหรือแมก้ ระทง่ั ประเพณีงานศพประเพณีปี ใหม่ ซ่ึงเป็นประเพณีท่ีสาคญั ที่สุดของชาวกะเหรี่ยง โดยถือกาเนิดเอาเดือนกมุ ภาพนั ธ์ของทกุ ปี แต่การจดั งานอาจจะไม่ตรงกนั ทุกปี ก็ไดแ้ ลว้ แต่หวั หนา้ หมูบ่ า้ นหรือขงั คู จะแจง้ ให้ ทราบส่วนใหญ่แลว้ จะเป็นระยะเวลาก่อนจะถึงฤดูกาลการเกษตรคือ หลงั จากงานปี ใหม่ แลว้ กะเหร่ียงจะเริ่มทางานในไร่ในนาทนั ที https://sites.google.com เป็นพิธีเลีย้ งผบี ้าน ผเี รือนเพ่ือให้ปลอดภยั จากการเจบ็ ไข้ได้ป่ วย
4.วิธกี ารหมกั เหล้า และข้นั ตอนการหมักเหล้า 4.1 การทาลกู แป้ง วสั ดุการทาหวั เช้ือ -กระเทียม 6 กรัม -พริกไทย 6 กรัม -ขงิ 6 กรัม -ข่า 6 กรัม -ดีปลี 2 กรัม -แป้งขา้ วเหนียว 400 กรัม -ชะเอม 6 กรัม -หวั เช้ือ 2 ขีด -ข้นั ตอนการทาลูกแป้งหวั เช้ือ - นาแป้งขา้ วเหนียวมา 1 ถงุ ผสมกบั หวั เช้ือ 2 ขดี คลุกใหเ้ ขา้ กนั ใส่ น้าเลก็ นอ้ ยแลว้ ทิ้งไว้
- นากระเทียม 2 หัว เคร่ืองเทศ 1 ถุง ดีปลี 3 ลกู เกลือ 2 ชอ้ นโต๊ะ พริกข้ีหนู 4-6 เมด็ มาตาใหเ้ ขา้ กนั - ตาเสร็จแลว้ นามาคลุกเคลา้ กบั แป้งขา้ วเหนียวที่ผสมทิ้งไวก้ บั หวั เช้ือใหเ้ ขา้ กนั ใส่น้าเลก็ นอ้ ย
- จากน้นั ก็นามาป้ันเป็นกอ้ นๆ กอ้ นละประมาณ 3 ขีด - แลว้ นาใบตองมาปิ ดไวจ้ ากน้นั ปล่อยใหแ้ หง้
4.2 ข้นั ตอนการหมกั - แช่ขา้ วเหนียวไวป้ ระมาณ 1 คนื - นาขา้ วเหนียวที่แช่ไวไ้ ปน่ึง
- แลว้ ขา้ วเหนียวที่น่ึงสุกแลว้ มาลา้ งแลว้ คนใหเ้ ยน็ ลง - นาขา้ วท่ีลา้ งแลว้ มาใส่ถงั แลว้ นาหวั เช้ือมาโรยบนขา้ วเหนียวที่น่ึงเสร็จแลว้ คนใหเ้ ขา้ กนั
- เมื่อคนกนั ไดด้ ีแร้วกใ็ ส่น้าลงไปพอประมาณ - พอคนขา้ วเหนียวกบั หวั เช้ือเขา้ ที่แลว้ กน็ าพริกแหง้ มา โรยบนขา้ วที่หมกั แลว้ เอาฝามาปิ ดไวป้ ระมาณ 1 เดือน
4.3 วสั ดุการตม้ - หมอ้ ดิน - เตาฮงั โล - ไห - ผา้ พนั (ใชเ้ ศษผา้ ) - กระทะสองหู - ท่อ PVC - ขวด
4.4ข้นั ตอนการตม้ เหลา้ - ก่อไฟ แลว้ ต้งั หมอ้ นาขา้ วที่หมกั ไวใ้ ส่หมอ้ ที่ต้งั ไว้ นาขา้ วที่หมกั ไวแ้ ยกออก มาส่วนหน่ึง - นาหมอ้ ดินมาต้งั บนหมอ้ ที่ใส่ขา้ วหมกั แลว้ ต้งั บ่อไมใ้ นหมอ้ ดินต่อท่อ PVC แลว้ เอาขา้ วหมกั ที่แยกออกมาติดรอยรั่ว
- ต้งั กระทะสองหู - เอาน้าใส่กระทะสองหู แลว้ รอใหข้ า้ วหมกั ระเหยออกมา
- ส่วนขวดเหลา้ จะอยตู่ รงท่อ PVC เพราะขา้ วหมกั ท่ีเราตม้ เมื่อระเหยออก มาน้าก็จะหยดลงตรงท่ีทอ่ PVC
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 1.สรุปผล จากการทาโครงงานเรื่องการตม้ เหลา้ พ้ืนเมืองกะเหรี่ยง โดยคณะผศู้ ึกษาพบวา่ กะเหรี่ยง อพยพมาจากทางเหนือสู่ดินแดนพม่าและทางภาคตะวนั ตกของประเทศไทย ประเทศสยามน้นั เดิมทีอยทู่ ่ี บา้ นเมกะวะ เมืองละมะเมง่ ประเทศพม่า เขา้ มากนั เองโดยมิไดม้ ีการบีบค้นั กดขจ่ี ากประเทศ ภายหลงั ก็มี พวกกะเหร่ียงบา้ นเมกะวะน้นั พากนั ยกตามเขา้ มาเสมอ เที่ยวแยกยา้ ยกนั อยตู่ ามหุบหว้ ยหุบเขา กะเหร่ียง เป็นชนเผา่ ท่ีจดั ไดว้ า่ มีหลายเผา่ พนั ธุ์ หลายภาษา มีการนบั ถือศาสนาที่ตา่ งกนั แต่กะเหรี่ยงด้งั เดิมจะนบั ถือ ผี เชื่อเร่ืองตน้ ไมป้ ่ าใหญด่ ว้ ยความเชื่อและนบั ถือในเรื่องผี-วิญญาณผที ่ีชาวกะเหร่ียงนบั ถือมีอยู่ 2 อยา่ ง คอื ผดี ี กบั ผีร้าย ชาวกะเหรี่ยงจึงมีประเพณี และพิธีกรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั การเล้ียงผีอยู่เสมอ การตม้ เหลา้ ของกะเหรี่ยงจึงมีความสาคญั ต่อชนเผา่ กะเหรี่ยงมากเพราะชนเผา่ กะเหร่ียงส่วนมากจะใชเ้ หลา้ ตม้ ไป ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ส่วนใหญ่ เมื่อคนในหมบู่ า้ นมีงานแตง่ งานข้นึ บา้ นใหม่ มดั มือส่วนมากจะใช้ เหลา้ ตม้ ในการประกอบพิธี ถือวา่ เป็นการอนุรักษว์ ฒั นธรรมของชนเผา่ กะเหร่ียง จากการศึกษาการตม้ เหลา้ ของชนเผา่ กะเหรี่ยง พบวา่ ประเพณีตา่ งๆเหลา่ น้ีจะขาดเหลา้ ตม้ ไมไ่ ดแ้ ละเป็นสิ่งท่ีสาคญั กบั ชนเผา่ กะเหรี่ยงมากซ่ึง เหลา้ กะเหร่ียงน้นั จะแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ สาโท และเหลา้ กลน่ั การตม้ เหลา้ น้นั จะเริ่มจากการทาลูกแป้งหวั เช้ือ แลว้ หมกั ขา้ วโดยแช่ขา้ วไว้ 1 คนื แลว้ นาขา้ วไปน่ึงพอสุกพกั ขา้ วใหเ้ ยน็ ลงจากน้นั ใส่น้าสะอาดผสมกบั หวั เช้ือแลว้ ปิ ดฝาเก็บไว้ 1 เดือน ข้นั ตอนการกลนั่ เหลา้ น้นั จะก่อไฟต้งั หมอ้ ใส่ขา้ วหมกั แลว้ นาหมอ้ ดินมาต้งั บนหมอ้ ที่ใส่ขา้ วหมกั แลว้ ต้งั บ่อไมใ้ นหมอ้ ดินต่อท่อ PVC ต้งั กระทะสองหูเอาน้าใส่กระทะสองหู แลว้ รอใหข้ า้ วหมกั ระเหยออกมา เม่ือระเหยออกมาน้าก็จะหยดลงตรงที่ท่อ PVC 2.ข้อเสนอแนะ จากการทาโครงงานเร่ืองประเพณีการตม้ เหลา้ ของชนเผา่ กะเหรียงส่ิงท่ีน่าศึกษาเพม่ิ เติมคือ 1.ศึกษาการตม้ เหลา้ ของชนเผา่ พ้นื เมืองหรือชนเผา่ อื่นๆ
บรรณานุกรม - https://www.royalprojectthailand.com/karen - https://www.silpa-mag.com/history/article_45371 - https://surathai.wordpress.com - https://www.silpa-mag.com
ภาคผนวก
เคา้ โครงโครงงาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 45
Pages: