รายงานโครงงานวชิ าประวตั ศิ าสตร์ เร่ือง ผ้าไหมยกดอกลาพูน รายงานนเี้ ป็ นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาวชิ าประวตั ิศาสตร์ รหสั ส 32104 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท5่ี ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จงั หวดั ลาพูน
รายงานโครงงานประวตั ิศาสตร์ เรื่อง ผ้าไหมยกดอกลาพนู โดย 1. นาย จกั รพนั ธ์ วงค์ซ่ือ เลขท่ี 1 ช้ัน ม.5/4 2. นางสาว นิภาพร บุญนา เลขที่ 17 ช้ัน ม.5/4 3. นางสาว พธุ ิตา ศรีวชิ ัย เลขที่ 18 ช้ัน ม.5/4 4. นางสาว สาลนิ ี เป็ งดอก เลขที่ 19 ช้ัน ม.5/4 5. นางสาว สุภาวดี สุณา เลขท่ี 24 ช้ัน ม.5/4 คุณครูท่ปี รึกษาโครงงาน 1. ครูพรี วฒุ ิ วงค์ตนั กาศ 2.ครูมลวภิ า ชนะทพิ ย์ เสนอ ครูพรี วฒุ ิ วงค์ตนั กาศ รายงานนเี้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาวชิ าประวตั ิศาสตร์ รหัส ส32104 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 5 ปี การศึกษา 2565 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จังหวดั ลาพูน สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ช่ือโครงงาน การทอผา้ ไหมยกดอกลาพูน ชื่อผู้เขียน 1.นายจกั รพนั ธ์ วงศซ์ ่ือ 2.นางสาวนิภาพร บุญนา 3.นางสาวพธุ ิตา ศรีวิชยั 4.นางสาวสาลินี เป็งดอก 5.นางสาวสุภาวดี สุณา อาจารย์ทีป่ รึกษาโครงงาน คุณครูพรี วฒุ ิ วงศต์ นั กาศ บทคดั ย่อ จากการศึกษาคน้ ควา้ เร่ืองผา้ ไหมยกดอกลาพูนมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาประวตั ิความเป็นมา ของผา้ ไหมยกดอกลาพูน ศึกษาข้นั ตอนและวิธีการทอ ลวดลายตา่ งๆของผา้ ไหมยกดอกลาพูนแหล่งที่ไป ศึกษาคือหอ้ งสมดุ โรงเรียนราชประชานุเคราะห2์ 6จงั หวดั ลาพนู และหอ้ งคอมพิวเตอร์โดยการคน้ ควา้ หา ขอ้ มูลจากหนงั สือและเวบ็ ไซตต์ า่ งๆผลการศึกษาพบวา่ ในจงั หวดั ลาพูนยงั มีการทอผา้ ไหมยกดอกใน อาเภอตา่ งๆ เช่น ในอาเภอล้ี อาเภอทุ่งหวั ชา้ ง และไดร้ ู้เก่ียวกบั ประวตั ิความเป็นมาของผา้ ไหมยกดอก ลาพูน ข้นั ตอนและวธิ ีการทอผา้ ไหมยกดอกลาพนู ลวดลายที่เป็นเอกลกั ษณ์ของผา้ ไหมยกดอกลาพูน
กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานฉบบั น้ี สาเร็จลงดว้ ยความกรุณาเป็นอยา่ งยง่ิ จากคุณครู พีรวุฒิ วงคต์ นั กาศ ท่ีไดใ้ ห้ คาแนะนา ถา่ ยทอดวิชาความรู้ แนวคิด วธิ ีการดาเนินงานตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบรู ณ์ของโครงงาน และในการดาเนินการสืบคน้ ขอ้ มูล ขอขอบคุณ คุณครูมลวิภา ชนะทิพยท์ ่ีใหค้ วามอนุเคราะหใ์ นการใช้ หอ้ งสมดุ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จงั หวดั ลาพนู เพื่อคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ต่างๆ คณุ ครูภมู รินทร์ ยมหา ที่ใหค้ วามอนุเคราะห์ในการใชห้ อ้ งคอมพิวเตอร์ คณุ ครูหอนอนท่ีใหค้ วามอนุเคราะหใ์ นการใช้ คอมพิวเตอร์หอนอน ทางคณะผจู้ ดั ทาขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ีดว้ ย คณุ คา่ และประโยชนอ์ นั พงึ ประสงคจ์ ากโครงงานฉบบั น้ีทางผจู้ ดั ทาขอมอบเป็นกตญั ญบู ูชา แด่บิดา มารดา ครูบาอาจารยแ์ ละผทู้ ่ีมีพระคณุ ทุกทา่ น
คานา รายงานโครงงานเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหสั วชิ า ส 32103 เพ่ือไดศ้ ึกษาหาความรู้ในเร่ืองของโครงงานภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน โดยไดศ้ ึกษาผา่ นแหลง่ ความรู้ต่างๆ อาทิเช่น หนงั สือ หอ้ งสมุด และแหลง่ ความรู้จากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ โดยรายงานโครงงานเล่มน้ีมีเน้ือหา เกี่ยวกบั ประวตั ิความเป็นของผา้ ไหมยกดอกลาพนู วิธีการทอผา้ ไหมยกดอกลาพนู วสั ดุอุปกรณ์และ ข้นั ตอนในการทอผา้ ไหมยกดอกลาพูนรวมไปถึงลวดลายต่างๆของผา้ ไหมยกดอกลาพูน ผจู้ ดั ทาคาดหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ การจดั ทารายงานโครงงานเลม่ น้ีจะมีขอ้ มลู ที่เป็นประโยชนต์ ่อ ผทู้ ี่สนใจศึกษาในเรื่องผา้ ไหมยกดอกลาพูนเป็นอยา่ งดี หากผจู้ ดั ทาไดท้ าผิดพลาดประการใด ก็ขอนอ้ มรับ ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที่น้ี นายจกั รพนั ธ์ วงศซ์ ่ือ นางสาวนิภาพร บญุ นา นางสาวพธุ ิตา ศรีวชิ ยั นางสาวสาลินี เป็งดอก นางสาวสุภาวดี สุณา
สารบัญ หน้า เรื่อง 1-3 3 บทคัดย่อ กิตตกิ รรมประกาศ 4-7 คานา 7-9 สารบญั 9-12 บทท่ี 1 บทนา 13-15 ทม่ี าและความสาคญั 16-17 วัตถุประสงค์ของโครงงาน บทที่ 2 เอกสารท่เี ก่ยี วข้อง 18 เรื่องที่ 1 ผ้าทอในประเทศไทย 19 เรื่องที่ 2 เอกลกั ษณ์หตั ถกรรมผ้าพื้นเมืองในแต่ละภมู ภิ าค 20-23 เรื่องท่ี 3 ววิ ัฒนาการผ้าทอไทย 23-29 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการโครงงาน 30-33 ข้นั ตอนทางประวตั ศิ าสตร์ 33 ตารางการปฏิบตั ิงาน บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งานโครงงาน 34 1.ท่ีต้งั จงั หวดั ลาพูน 34 2.ประวัติความเป็ นมาของจงั หวดั ลาพนู 3.ความเป็ นมาของผ้าไหมยกดอกลาพนู 35 4.ข้ันตอนการทอผ้าไหมยกดอกลาพนู 5.ลวดลายผ้าไหมยกดอก 36 6.ผ้าไหมยกดอกลาพนู จากราชสานกั สู่สินค้า GI และชุดผ้าไหม Lisa BLACKPINK บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ สรุป ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก 1. เค้าโครง โครงงาน
บทท่ี 1 บทนา 1. ท่มี าและความสาคญั ผ้าเป็ นปัจจัยพ้ืนฐานท่ีมีผลต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ เพราะผ้าเป็ นหน่ึงในปัจจัยส่ี นอกเหนือจากอาหารท่ีอยอู่ าศยั และยารักษาโรค ทุกครัวเรือนจะมีการทอผา้ เพื่อใชส้ อยภายในครอบครัว และมีการถ่ายทอดและส่ังสมกรรมวิธีการทอให้แก่สมาชิกที่เป็นเพศหญิง เพราะการทอผา้ เป็นงานศิลปะ ที่ตอ้ งใชค้ วามขยนั ความอดทน ความพยายาม และความประณีตละเอียดอ่อน กรรมวธิ ีในการทอเป็นการ กระทาให้เกิดลวดลายบนผืนผา้ ในรูปแบบต่างๆ ท้งั ที่แบบซับซ้อนและไม่ซับซ้อน เช่น การเพ่ิมเส้นพุ่ง เพ่อื ใหเ้ กิดลวดลาย ส่วนลวดลายที่ปรากฏบนผืนผา้ ทอมีลวดลายท่ีสวยงามเกิดจากภมู ิปัญญาของผทู้ อและ สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ลวดลายผา้ ทอไทยเป็นลวดลายท่ีเริ่มตน้ จากสิ่งท่ีพบเห็นจากธรรมชาติ และ ลวดลายจากเรขาคณิตแลว้ นามาผสมผสานกัน ลวดลายส่วนใหญ่มกั เป็ นลวดลายที่จดจาและไดร้ ับการ ถา่ ยทอดมาจากบรรพบุรุษ การทอผา้ หรือ \"การทอ\"ถือเป็นศิลปะ และหตั ถกรรม หรืองานฝี มือ อย่างหน่ึงมีมาต้งั แต่สมยั โบราณ เป็นกรรมวิธีการผลิตผืนผา้ โดยใช้เส้นดา้ ยพุ่ง และเส้นดา้ ยยนื มาขดั ประสานกนั จนไดเ้ ป็นผืนผา้ ท้งั น้ีตอ้ งมีเคร่ืองมือในการทอ เรียกวา่ หูก หรือก่ี ในภาษาไทยถิ่นอีสาน มกั เรียกการทอผา้ วา่ \"ตาหูก\" การ ทอผา้ น้ัน นอกจากเป็นข้นั ตอนการผลิตเครื่องนุ่งห่ม หน่ึงในปัจจยั สี่ของมนุษยแ์ ลว้ ยงั ถือเป็นงานศิลปะ ประเภททศั นศิลป์ ดว้ ย เน่ืองจากมีการใหส้ ีสันและลวดลายตา่ งๆ เด็กผูห้ ญิงในหมู่บา้ นในสมยั ก่อน จะเรียนรู้การทอผา้ จากการเฝ้าสังเกตการทางานของยาย แม่ น้า หรือพี่สาวจะเป็ นผูท้ าหน้าที่อบรมและถ่ายทอดวิชาการกรรมวิธี และประสบการณ์ทอผา้ ให้แก่ บุตรสาวหรือหลานสาว จนสั่งสมเป็ นภูมิปัญญาที่ไดร้ ับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษรุ่นหน่ึงไปยงั อีกรุ่น หน่ึง เปรียบเสมือนมรดกทางวฒั นธรรม เม่ือเด็กโตพอจะน่ังกี่สาหรับใช้ทอผา้ ได้ ก็จะเร่ิมทอผา้ ง่ายๆ ก่อน แลว้ จึงเร่ิมพฒั นาเทคนิคการทอ จนสามารถทอผา้ ท่ีมีลวดลายวิจิตร สาหรับงานพิธีได้ การทอผา้ จึง เป็นงานศิลปหตั ถกรรมของผูห้ ญิงท่ีเรียนรู้สืบทอดกนั ภายใน ครอบครัวต่อมาหลายๆ ชว่ั คน นบั เป็นการ อบรมบ่มนิสัยลูกผูห้ ญิงให้มีความละเอียด มีระเบียบ อดทน รู้จกั ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ และรู้จกั ศิลปะ นอกจากน้ียงั เป็ นการสืบทอดเทคนิควิธี และเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมของครอบครัว และของ ชุมชนอีกดว้ ย นบั ไดว้ ่า การทอผา้ เป็นบทบาททางสังคมวฒั นธรรม ท่ีสาคญั อย่างหน่ึงของผหู้ ญิงไทย ใน ทอ้ งถิ่นตา่ งๆ ในอดีต ในอดีต การทอผา้ ใชเ้ องในครัวเรือนเคยมีความสาคญั มากในสังคมไทย ชุมชนนอ้ ยใหญ่ ใน หมู่บ้าน และแมแ้ ต่ในเมือง ต่างก็มีธรรมเนียมการทอผา้ ไวใ้ ช้สอยเอง และสาหรับมอบให้ผูอ้ ื่น เป็ น
ของขวญั ในโอกาสต่างๆ เช่น สงกรานต์ หรือในการไหวผ้ ใู้ หญ่ ในงานแต่งงาน และยงั มีประเพณีการทอ ผา้ ถวายวดั ถวายพระ ในงานทาบญุ ประจาปี อีก เช่น ในประเพณีทอดผา้ กฐิน และทอดผา้ ป่ า เป็นตน้ ในประเทศไทย และในประเทศเพื่อนบา้ น ท่ีมีวฒั นธรรมคลา้ ยคลึงกบั ไทย งานทอผา้ เป็ น งานเฉพาะของผหู้ ญิง ผชู้ ายจะทางานหัตถกรรมอ่ืนๆ ท่ีจาเป็นสาหรับครอบครัว และชุมชน เช่น จกั สาน ตีเหลก็ ทาเครื่องเงิน และแกะสลกั ไม้ งานหัตถกรรมของท้งั หญิงและชายเหล่าน้ี มกั จะ ทาในยามวา่ งจาก การทาไร่ทานา ซ่ึงท้งั หญิงและชายมีหนา้ ท่ีออกไปใชแ้ รงงานร่วมกนั ไหล่ ชนช้นั สูงจะสวมเส้ือ มีผา้ พนั เอง ผูห้ ญิงนุ่งซิ่นลายขวางลาตวั มีเชิงเป็นลวดลาย ไม่สวมเส้ือแต่มีผา้ รัดอก มกั เกลา้ ผมมวยไวก้ ลางศีรษะแลว้ ปักปิ่ นหรือเสียบดอกไม้ การทอผา้ พ้ืนบา้ นพ้ืนเมืองหลายแห่งยงั ทอลวดลายลกั ษณะด้งั เดิม โดยเฉพาะในชุมชนที่มี เช้ือสายชาติพนั ธุ์บางกลุ่มท่ีกระจายกันอยู่ในภาคต่างๆของประเทศไทย ศิลปะการทอผา้ ของชนกลุ่ม เหลา่ น้ีนบั วา่ เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะกลมุ่ โดยเฉพาะในกลุ่มชาวไทยโยนกหรือไทยยวน และชาวไทยล้ือ ซ่ึง เป็นกลุม่ ชนด้งั เดิมของลา้ นนาไทย ผหู้ ญิงไทยยวนและไทยล้ือ ผา้ ท่ีทอในบริเวณภาคเหนือหรือลา้ นนา ปัจจุบนั คือบริเวณภาคเหนือ ไดแ้ ก่ จงั หวดั เชียงราย พะเยา ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน บริเวณภาคเหนือประกอบดว้ ยเนินเขาและที่ ราบคล้ายอ่างที่อุดมสมบูรณ์ ในบริเวณน้ีมีความเช่ือกันว่าเป็ นที่อยู่ของมนุษยเ์ ผ่าพนั ธุ์ต่างๆ มาต้ังแต่ สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ จนถึงสมยั ท่ีชาวไทยวน ไทล้ือ และลาว เขา้ มาต้งั ถ่ินฐานเมื่อราวพ.ศ.1600โดยมา เป็ นกลุ่มเล็กๆ ก่อน แลว้ ขยายตวั ข้ึนเป็ นลาดบั ผูค้ นเหล่าน้ีเขา้ มาอาศยั อยู่ในบริเวณทิศเหนือของเมือง ลาพูน ผา้ พ้ืนบา้ นภาคเหนือท่ีมีเอกลกั ษณ์โดดเด่นท่ีสุดคือ ผา้ ไทยวน ผา้ ไทล้ือ ผา้ ของกลุ่มชนท้งั สอง ไดแ้ ก่ เครื่องนุ่งห่ม เครื่องนอน และเคร่ืองบูชาตามความเช่ือที่ใชใ้ นพิธีกรรมต่างๆ กลุ่มคนไทยวน ในอดีตมีวฒั นธรรมการใชผ้ า้ เป็ นของตนเอง ต้งั แต่การทอ การสร้างลวดลาย จนถึงการนุ่งห่ม เช่น ผชู้ าย จะนุ่งหยกั ร้ังจนถึงโคนขาเพ่ืออวดลายสักต้งั แต่เหนือเข่าข้ึนไปจนถึงโคนขา ไม่สวมเส้ืออแต่มีผา้ ห้อย ไหล่ ชนช้นั สูงจะสวมเส้ือ มีผา้ พนั เอง ผูห้ ญิงนุ่งซ่ินลายขวางลาตวั มีเชิงเป็นลวดลาย ไม่สวมเส้ือแต่มีผา้ รัดอก มกั เกลา้ ผมมวยไวก้ ลางศีรษะแลว้ ปักป่ิ นหรือเสียบดอกไม้ ปัจจุบนั การทอผา้ พ้ืนบา้ นในภาคเหนือยงั ทอกนั อย่ใู นหลายทอ้ งถิ่น เช่น ในบริเวณอาเภอป่ า ซาง จงั หวดั ลาพูน อาเภอสันกาแพง อาเภอแม่แตง อาเภอแม่อาย อาเภอฮอด อาเภอจอมทอง จงั หวดั เชียงใหม่ และในหลายอาเภอของจงั หวดั ลาปาง โดยเฉพาะผา้ ไหมยกดอกของจงั หวดั ลาพนู ลาพูน เป็ นจงั หวดั ที่เก่าแก่ที่สุดในภาคเหนือ เดิมมีชื่อว่า นครหริภุญชยั เป็นจงั หวดั ท่ีมีกลุ่ม คนชาติพนั ธุ์ท่ีหลากหลายที่สุดในภาคเหนือ อาทิ ยวน โยนก ไทใหญ่ ยางแดง เขิน ล้ือ ล้วั ะ และ มอญ คน ลาพูนมีการทอผา้ ใชเ้ องมาแต่อดีตอนั ยาวนาน โดยเฉพาะการทอผา้ ที่เป็นเอกลกั ษณ์ของชนชาวยอง หรือ
ไทล้ือที่อพยพมาจากเมืองยองซ่ึงเป็ นส่วนหน่ึงของเมืองเชียงตุง ในประเทศพม่า ในกลุ่มชนช้ันสูงท่ี วตั ถุดิบเป็นเส้นไหมมากกว่าท่ีจะเป็นเสน้ ฝ้ายที่ใชก้ นั ในชนช้นั ลา่ งลงไป ในปัจจุบนั การทอผา้ ไหมยกดอกลาพูนเป็นมรดกทางหัตถกรรมที่ถ่ายทอดสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน และมีการขยายแหล่งทอผา้ ไปยงั อ.ล้ี อ.ทุ่งหัวชา้ ง จึงทาให้จงั หวดั ลาพูนเป็ นศูนยก์ ลางการทอผา้ ไหมยก ดอกแหล่งสาคญั ของประเทศไทย จึงไดท้ าโครงงานเร่ืองผา้ ไหมยกดอกของลาพูนข้ึนเพื่อศึกษาประวตั ิ ความเป็ นมา วัตถุประสงค์ 1.ศึกษาประวตั ิความเป็นมาของผา้ ไหมยกดอกลาพูน 2.ศึกษาวธิ ีการทอผา้ ไหมยกดอกลาพูน 3.ศึกษาลวดลายผา้ ไหมยกดอกลาพนู
บทที่2 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง ในการจดั ทาโครงงานเร่ืองผา้ ไหมยกดอกลาพูน ทางผจู้ ดั ทาไดศ้ ึกษาหาเอกสารและเวบ็ ไซต์ ต่างๆท่ีเกี่ยวขอ้ งดงั น้ี 1.ผา้ ทอในประเทศไทย 2.เอกลกั ษณ์หตั ถกรรมผา้ พ้ืนเมืองในแต่ละภมู ิภาค 3.ววิ ฒั นาการของการทอผา้ ในประเทศไทย โดยมีรายละเอียดตา่ งๆดงั ต่อไปน้ี 1.ผ้าทอในประเทศไทย ผา้ เป็นหน่ึงในปัจจยั ส่ิงของการดารงชีวิตของมนุษย์ นอกจาก อาหาร ที่อยอู่ าศยั และยา รักษาโรค ในสังคมเกษตรจะมีการทอผา้ เพื่อใชส้ อยภายในครอบครัว โดยการถา่ ยทอดวิธีการทอผา้ ใหแ้ ก่ สมาชิกท่ีเป็นเพศหญิง ซ่ึงนบั วา่ เป็นภมู ิปัญญาท่ีถา่ ยทอดเป็นมรดกทางวฒั นธรรม การทอผา้ ของไทยมีแต่ โบราณ จากอดีตถึงปัจจุบนั มนุษยไ์ ดพ้ ฒั นาการทอผา้ ท้งั รูปแบบ เทคนิคการยอ้ มสี และการออกแบ ลวดลาย ดงั ปรากฏในจดหมายเหตแุ ละพงศาวดารคร้ังสมยั สุโขทยั อยธุ ยา และกรุงรัตนโกสินทร์ ซ่ึงมี การทอผา้ ตามกลุ่มชนตา่ งๆของไทย เช่น ขา่ กระโส้ กระเลิง ส่วย ฯลฯ ผา้ ทอในประเทศไทยแสดงถึง ศิลปะภูมิปัญญาของชุมชน ซ่ึงแบ่งประเภทของผา้ ทอไดเ้ ป็นสองประเภท ตามวตั ถุดิบในการทอ และ กรรมวิธีในการทอ คือ 1.1 ผ้าทอท่แี บ่งตามวัตถดุ ิบท่ใี ช้ ได้แก่ ฝ้ายและไหม - ฝ้าย เป็นพชื เศรษฐกิจท่ีปลกู ทว่ั ไปในทุกภาคของประเทศไทย เป็นพชื เขต ร้อนชอบดินปนทรายและอากาศโปร่งไมช่ อบท่ีร่ม เส้นใยของฝ้ายจะดูด ความช้ืนไดง้ ่าย และเมื่อดูความช้ืนแลว้ จะระเหยเป็นไอ ดงั น้นั เม่ือสวมใส่ เส้ือผา้ ท่ีทาดว้ ยผา้ ฝ้ายจะมีความรู้สึกเยน็ สบาย - ไหม เส้นใยไหมไดจ้ ากตวั ไหม ซ่ึงส่วนใหญ่นิยมเล้ียงไหมกนั ใน ภาคเหนือภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและภาคกลาง ตวั ไหมมีลกั ษณะคลา้ ย หนอน เมื่อแก่ตวั จะชกั ใยหุม้ ตวั ของมนั เอง เรียกวา่ รังไหม รังไหมน้ีจะ
นามาสาวเป็น เสน้ ไหม แลว้ จึงนาไปฟอกดว้ ยการตม้ ดว้ ยด่าง และนามากวกั เพื่อใหไ้ ดเ้ ส้นใยไหหลงั จากน้นั จึงนามายอ้ มสีและนาไปทอเป็นผืน ผา้ ตามที่ตอ้ งการ เส้นไหมมีคุณสมบตั ิ ล่ืน มนั และ ยดื หยนุ่ ไดด้ ี 1.2 ผ้าทอทีแ่ บ่งตามกรรมวธิ ีในการทอ ซ่ึงมีช่ือเรียกต่างกนั ออกไป ตามลวดลายท่เี กดิ จากการทอบนผืนผ้า เช่น - ผา้ มดั หมี่ มีกรรมวิธีการทอที่ทาใหใ้ หเ้ กิด ลวดลายโดยการยอ้ มเส้น ฝ้ายใหด้ ่างโดยการผกู มดั ใหเ้ กิดช่องวา่ ง การทอผา้ มดั หมี่แต่ละผนื ตอ้ งใช้ เวลาและความประณีตโดยจดั เรียงเสน้ ไหมและฝ้ายใหส้ ม่าเสมอ คงที่ กรรมวิธีตอ้ งเรียงลาดบั ก่อนหลงั ใหถ้ กู ตอ้ ง เพือ่ ทาใหเ้ กิดลวดลายสวยงาม ตามตอ้ งการ - ผา้ จก การทอจกเป็นกรรมวธิ ีของการทอและการปักผา้ ไปพร้อมๆกนั การ ทอลวดลายใชว้ ธิ ีการเพมิ่ ดา้ ยเสน้ พ่งุ พเิ ศษเขา้ เป็นช่องๆไม่ติดต่อกนั ตลอด หนา้ กวา้ งของผา้ ซ่ึงจะทาไดโ้ ดยใชไ้ มห้ รือขนเม่น หรือนิ้วมือยกข้ึน เป็น การทอผสมการปักกลายๆ - ผา้ ขิด เป็นการทอผา้ ดว้ ยกรรมวิธี เขี่ย หรือสะกิดเส้นดา้ ยยนื ข้นึ แลว้ สอด เสน้ พงุ่ ไปตามแนวเส้นยนื จงั หวะการสอดเสน้ ดา้ ยพุ่งจะทาใหเ้ กิดลวดลาย รูปแบบตา่ งๆ -ผา้ แพรวา เป็นผา้ ทอมือดว้ ยกรรมวธิ ีทอผา้ ใหเ้ กิดลวดลาย ลกั ษณะผสมกนั ระหวา่ งลายขิดกบั ลายจก ผา้ แพรวาตอ้ งมีหลายๆลายอยใู่ นผืนเดียวกนั -ผา้ ยกดอก มีกรรมวิธีการทอใหเ้ กิดลวดลายในการยกตะกรอแยกดา้ ยเส้นยนื แต่ไม่ไดเ้ พมิ่ เสน้ ดา้ ยยนื หรือ เสน้ พุ่งพเิ ศษเขา้ ไปในผืนผา้ แต่ในบางคร้ังจะ ยกดอกดว้ ย การเพ่มิ เส้นพ่งุ จานวน สองเส้น หรือมากกว่าน้นั เขา้ ไป 1.3 ผ้าทอกบั โอกาสท่ีใช้ - ผา้ พ้ืน ทอโดยการใชไ้ หมเสน้ พงุ่ และไหมยนื สีเดียวเท่าน้นั เช่น ไหมพุ่ง เป็นสีเขยี ว ไหมเส้นยนื เป็นสีทองใชเ้ ป็นผา้ นุ่ง หรือในโอกาสอื่นๆ - ผา้ สไบ มีลกั ษณะคลา้ ยผา้ ขาวมา้ ใชพ้ าดบา่ ในงาน บวช งานบุญ และงานรื่น เริงต่างๆ - ผา้ โสร่ง เป็นผา้ นุ่งสาหรับผชู้ าย ใชน้ ุ่งอยกู่ บั บา้ น หรือ ใส่ไปในงานพิธี ต่างๆ และ เป็นผา้ ไหวพ้ ่อ – แม่ ของเจา้ บ่าวเจา้ สาว - ผา้ นุ่ง ใชน้ ุ่งอยกู่ บั บา้ น ใชใ้ นงานพธิ ี ใชเ้ ป็นผา้ ไหวใ้ นงานแต่งงาน ไดแ้ ก่
ผา้ พ้นื - ผา้ เก็บ ใชส้ าหรับพาดบ่า ไปวดั หรืองานพธิ ีต่างๆ 1.4.ลวดลายและโทนสี - ผา้ ขาวมา้ นิยมทอเป็นลายตาหมากรุก สีท่ีนิยมคือ สีแดง เขยี ว ขาว ดา - ผา้ สไบ นิยมทอเป็นสีพ้นื และลายเหมือนผา้ ขาวมา้ - ผา้ โสร่ง นิยมทอเป็นลายตาหมากรุกขนาดใหญ่ สีที่นิยม คือ สีแดง และ สีเขียว - ผา้ นุ่ง มีหลายชนิด ไดแ้ ก่ - ผา้ พ้นื ไม่มีลวดลายบนผืนผา้ นิยมทอเป็นสีน้าตาลทอง สีมว่ ง ขาว น้าเงินและเขยี ว - ผา้ โฮล มีลกั ษณะเป็นลายเสน้ ลายจะเป็นนูน มีหลายสีในหน่ึง ผืน นิยม สีเขียว ดา เหลือง แดง ฯลฯ - ผา้ โคน ลวดลายมี ลกั ษณะเป็นส่ีเหลี่ยมอาจปรากฏร่วมกบั ลายอื่นๆ สีท่ีนิยมคอื สี น้าตาลทอง มว่ ง เขียว น้าเงิน แดง ฯลฯ - ผา้ กระเนียว หรือหางกระรอก เป็นผา้ ลายเสน้ ละเอียด สีท่ีนิยม คอื สีเขียว แดงเหลือง - ผา้ อนั ปรม มีลกั ษณะลวดลายคลา้ ยผา้ โฮล แตจ่ ะมีเส้นคนั่ ใน แนวต้งั ชดั เจนกวา่ ผา้ โฮล ลายของผา้ เป็นลายเรียบไม่ใช่ ลาย นูนเหมือนผา้ โฮล - ผา้ สมอ เป็นผา้ ท่ีมีลกั ษณะของลวดลาย เป็นส่ีเหล่ียมเลก็ ๆ สีที่ นิยม คือ สีเขยี ว เหลืองและ แดง - ผา้ คนั่ มีลกั ษณะคลา้ ยๆผา้ โฮล แตจ่ ะมีเส้นคน่ั ในแนวต้งั ชดั เจนกวา่ ผา้ โฮล สีที่นิยมคือสีเขยี ว ดา เหลือง และแดง - ผา้ มดั หม่ี คือผา้ ที่มีลกั ษณะของลายผา้ ที่เกิดจากการนาเส้น ไหมไปมดั ดว้ ยเชือกฟางหรือปอกลว้ ย แลว้ นาไปยอ้ มสีเพอ่ื ให้ ไดล้ วดลายตามท่ีตอ้ งการ เช่นลายตน้ สน ลายไก่ลายนกยงู ลาย แมงมุม ฯลฯ สีที่นิยม คอื สีตองออ่ น สีแดง น้าเงิน เหลือง ม่วง
การทอผา้ จะมีลกั ษณะพิเศษเป็นของตนเอง โดยเฉพาะผา้ ไหมเป็นผา้ พ้ืนเมืองประเภทหน่ึงที่ นิยมกนั มาก เนื่องจากเป็นผา้ ท่ีมีความคงทนอายกุ ารใชง้ านนาน รวมท้งั มีความสวยงาม ความแวววาวของ เน้ือผา้ ไหม ผา้ ไหมนอกจากจะเป็นสินคา้ สาคญั แลว้ ยงั มีบทบาททางสังคมทางสังคมอีกดว้ ย เช่น การใช้ ผา้ ไหมที่ตา่ งชนิด และมีลวดลายตา่ งกนั จะเป็นเครื่องบ่งบอกถึงสถานะและสถานภาพทางสงั คมไดอ้ ีก ดว้ ย ผา้ ไหมที่มีช่ือของไทยไดม้ าจากภาคเหนือ และภาคอีสาน เช่น ผา้ ไหมจากหาดเส้ียว จงั หวดั สุโขทยั ภาคอีสาน จากจงั หวดั อุดรธานี สุรินทร์ เนื่องจากคณุ ภาพดี และสีสันลวดลายแปลกตา ปัจจุบนั น้ีผา้ ไหมไดพ้ ฒั นาจากการผลิตในครัวเรือนไปเป็นการผลิตแบบอุตสาหกรรม ท่ีมี แหลง่ ผลิตทวั่ ประเทศ ประเทศไทยเป็นแหลง่ ผลิตผา้ ไหม และผลิตภณั ฑไ์ หมท่ีมีคุณภาพดีมีชื่อเสียงแห่ง หน่ึง มีมูลค่าการส่งออกเป็นจานวนมากในแต่ละปี ตลาดที่สาคญั ไดแ้ ก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยโุ รปและ ญี่ป่ นุ ในยคุ ที่ผา้ ไทยกา้ วสู่ความเป็นสากลโลก ทาใหไ้ ม่มีการจากดั ขอบเขตของการใชผ้ า้ ไทยอีก ต่อไป ไม่วา่ จะเป็นแนวแฟชนั่ แบบไหนก็สามารถนาผา้ ไทยมาดดั แปลงและปรับวธิ ีการใชไ้ ดห้ มด แมว้ า่ จะนาเอาผา้ ไหม ผา้ เปลือกไหม และผา้ จก มาออกแบบตดั เยบ็ ใหอ้ อกมาในรูปแบบใด ก็สามารถประดิษฐ์ ออกมาไดอ้ ยา่ งสวยงาม 2.เอกลกั ษณ์หตั ถกรรมผ้าพืน้ เมืองในแต่ละภูมิภาค ในปัจจุบนั น้ี การทอผา้ พ้ืนบา้ นพ้นื เมืองหลายๆแห่ง ยงั มีการทอลวดลาย และสญั ลกั ษณ์ ด้งั เดิม โดยเฉพาะตามชุมชน ที่มีเช้ือสายชาติพนั ธุบ์ างกลมุ่ ที่กระจายตวั กนั อยใู่ นภาคต่างๆของประเทศ ไทย ศิลปะการทอผา้ ของกล่มุ ชนเหลา่ น้ี จึงนบั วา่ เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะกลุม่ อยจู่ นถึงทกุ วนั น้ี หากจะแบ่ง ผา้ พ้นื เมืองของกลมุ่ ชนดงั กล่าว ตามภมู ิภาคต่างๆของประเทศไทยเราแลว้ เพอ่ื ใหเ้ ห็นภาพท่ีชดั เจนข้ึนก็ อาจจะแบง่ คร่าวๆ ไดด้ งั น้ี 2.1 ผ้าในภาคเหนือ ภาคเหนือหรือดินแดนลา้ นนา ใน 8 จงั หวดั ภาคเหนือ ตอนบน ท่ี ประกอบดว้ ยจงั หวดั เชียงราย พะเยา ลาพนู ลาปาง แพร่ น่าน เชียงใหม่ และแมฮ่ ่องสอน โดยเฉพาะในกลมุ่ ชาวไทโยนก หรือไทยวนและชาวไทล้ือ ซ่ึงเป็นกลมุ่ ชนด้งั เดิมของ ลา้ นนาไทย ยงั คงความเชื่อ ในการทอผา้ แบบด้งั เดิมหนาแน่นโดยเฉพาะผหู้ ญิงชาวไทยวน หรือคนเมืองยงั คงทอผา้ ซ่ินตีนจก ซ่ึงมีแหลง่ ทอท่ีมีช่ือเสียงไดแ้ ก่ อาเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชียงใหม่และอาเภอลอง จงั หวดั แพร่ ส่วนชาวไทล้ือในปัจจุบนั กย็ งั คงรักษาวฒั นธรรม การทอผา้ ในรูปแบบและลวดลายท่ีสืบทอดกนั มา โดยในผา้ ซิ่นจะมีลวดลายท้งั เทคนิคจก เกาะและขิดแต่เทคนิคและเอกลกั ษณ์อนั สาคญั ที่ทาใหไ้ ดร้ ู้จกั กนั โดยทว่ั ไปของกลุ่มไทล้ือ โดยสร้างช่ือเสียง กค็ ือเทคนิคของการเกาะ ใหผ้ า้ มีลวดลายซิกแซก หรือท่ีเรียกวา่ “ลายน้า
ไหล” มีแหลง่ ทอที่มีช่ือเสียง เช่น อาเภอเชียงคา จงั หวดั พะเยา อาเภอเชียงของจงั หวดั เชียงราย และอาเภอเวยี งสา จงั หวดั น่าน เป็นตน้ 2.2 ผ้าในภาคกลาง ผา้ ในภาคกลาง เขตภาคกลางตอนบน อนั ประกอบไปดว้ ย จงั หวดั พษิ ณุโลก พิจิตร อุตรดิตถ์ และสุโขทยั ส่วนภาคกลางตอนลา่ งก็จะมี จงั หวดั อุทยั ธานี ชยั นาท สุพรรณบุรี สระบรุ ี ลพบุรี นครปฐม ราชบุรี และ เพชรบุรี มีกล่มุ ชนชาวไทยวน และชาวไทลาวอพยพไปต้งั ถิ่นฐานอยู่ พวกไทลาวน้นั มีหลายเผา่ เช่น พวน โซ่ง ผไู้ ท คร่ัง ฯลฯ ซ่ึงอพยพเขา้ มาเพราะมีสงคราม และกวาดตอ้ นผคู้ นเหลา่ น้นั เขา้ มา ชาวไทยวนและ ไทลาวเหลา่ น้ี ยงั รักษาวฒั นธรรมและเอกลกั ษณ์เฉพาะถิ่นไว้ โดยเฉพาะวฒั นธรรมทอผา้ ของผหู้ ญิงที่ใชเ้ ทคนิคจก ในการทาตีนจกและการขิดเพ่ือตกแตง่ เป็นลวดลายบนผา้ ท่ีใช้ นุ่งในเทศกาลต่างๆหรือใชท้ าเครื่องนอน เช่น หมอน ผา้ ห่ม ผา้ เช็ดหนา้ ผา้ ขาวมา้ ฯลฯ แมว้ า่ ในปัจจุบนั น้ีสภาพเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนไปมาก คนไทยเหลา่ น้ี กย็ งั ยดึ อาชีพ ทอผา้ เป็นอาชีพรองต่อจากการทานาซ่ึงเป็นอาชีพหลกั เช่นเดียวกนั กบั ผา้ ในภาคเหนือ ลวดลายท่ีตกแต่งบนผืนผา้ .ท่ีทอโดยกลุ่มชนตา่ งเผา่ กนั ในภาคกลางน้ี กม็ ีลกั ษณะและ สีสันแตกต่างกนั ผศู้ ึกษาท่ีคุน้ เคย จึงจะสามารถระบุแหล่งที่ผลิตผา้ จากลวดลายและสี ได้ 2.3 ผ้าในภาคอสี าน แถบภาคอีสานของเรา มีชุมชนต้งั ถิ่นฐานโดยอาศยั บริเวณที่มีความอดุ ม สมบรู ณ์จากลาหว้ ย หนองบึง หรือแม่น้า กลุม่ คนไทยเช้ือสายลาว เป็นชนกลุ่มใหญ่ของ ภาคอีสานท่ีกระจายกนั อยตู่ ามจงั หวดั ต่างๆ และมีวฒั นธรรมการทอผา้ อนั เป็นประเพณี ของผหู้ ญิง ท่ีสืบทอดกนั มาชา้ นานเกือบทกุ ชุมชน แตล่ ะกลมุ่ แต่ละเผา่ กจ็ ะมีลกั ษณะและ ลวดลายการทอผา้ ที่แปลกเป็นของตวั เองอยา่ งชดั เจน โดยเฉพาะผา้ ทอที่มีชื่อเสียงของ อีสานคอื การทาผา้ ไหมมดั หม่ี เพือ่ ใชเ้ ป็นผา้ ถงุ หรือผา้ ขดิ ท่ีงดงาม กค็ ือ ผา้ แพรวาซ่ึงแต่ เดิมน้นั ใชเ้ ป็นผา้ เบ่ียง หรือ ผา้ สไบ แตป่ ัจจุบนั ไดป้ รับเปล่ียนใหส้ ามารถนาไปตดั เยบ็ เป็น เส้ือผา้ ได้ 2.4 ผ้าในภาคใต้ ภาคใตม้ ีแหล่งทอผา้ ท่ีมีช่ือเสียงหลายๆแห่ง โดยเฉพาะ แหลง่ ทอผา้ ยกดิ้นเงินด้ินทองซ่ึงสันนิษฐานวา่ ไดร้ ับอิทธิพลจากชาวมุสลิม ชาวอาหรับ ท่ีมาคา้ ขาย ต้งั แต่สมยั โบราณ และต่อมา ผา้ ยกเงินยกทอง ไดก้ ลายเป็นที่นิยม ในหมชู่ นช้นั สูง ของ
อาณาจกั รไทยในภาคกลาง บรรดาพวกเจา้ เมืองและขา้ ราชการหวั เมืองทางภาคใต้ จึงต่าง สนบั สนุนใหล้ ูกหลานและชาวบา้ นทอกนั เป็นล่าเป็นสัน โดยเฉพาะท่ีเมือง นครศรีธรรมราช เมืองสงขลา และ ที่ตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ลว้ น เคยเป็นแหล่งทอผา้ ที่มีช่ือเสียงมากในอดีต จนเป็นที่กลา่ วขวญั ถึง แลว้ ก็นิยมกนั มากใน หมูข่ นุ นางกรุงศรีอยธุ ยาเร่ือยมาถึงในยคุ กรุงธนบรุ ี และสืบมาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ใน ปัจจุบนั น้ีผา้ ยกเมืองนคร ไดม้ ีผบู้ ริจาคใหแ้ ก่ พิพธิ ภณั ฑส์ ถานแห่งชาติ จ.นครศรีธรรมราช ท้งั น้ีไดม้ ีการจดั แสดงเอาไวใ้ หป้ ระชาชนไดไ้ ปชื่นชมกนั ในหอ้ งผา้ ของพิพิธภณั ฑจ์ านวน มาก แต่ปัจจุบนั ช่างทอท่ีมีชื่อเสียงน้นั ไดเ้ สียชีวิตไปแลว้ เป็นส่วนใหญ่และมีผทู้ ่ีไดส้ ืบ ทอดความรู้ไวน้ ้นั มีนอ้ ยมาก จึงไม่มีการทอกนั เป็นล่าเป็นสันเหมือนอยา่ งในสมยั โบราณ 3.ววิ ฒั นาการของการทอผ้าในประเทศไทย 3.1ววิ ฒั นาการของการทอ แมว้ า่ เราจะไม่มีหลกั ฐานท่ีแน่ชดั มาใชอ้ ธิบายเรื่องจุดกาเนิดของการทอผา้ ใน ประเทศไทยกต็ าม แต่ก็อาจกล่าวไดว้ า่ การทอผา้ เป็นงานศิลปหตั ถกรรมที่เก่าแก่ท่ีสุดอยา่ ง หน่ึงท่ีมนุษยใ์ นสมยั โบราณท่ีอาศยั อยใู่ นดินแดนน้ีรู้จกั ทาข้นึ ต้งั แต่สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ ภาพเขยี นสีบนผนงั ถ้าเช่นที่ เขาปลาร้าจงั หวดั อทุ ยั ธานี อายปุ ระมาณ 2,500 ปี มาแลว้ มีรูป มนุษยโ์ บราณกบั สตั วเ์ ล้ียง เช่น ควายและสุนขั แสดงวา่ มนุษยร์ ู้จกั เล้ียงสัตวแ์ ลว้ ลกั ษณะการ แต่งกายของมนุษยย์ คุ น้นั ดูคลา้ ยกบั จะเปลือยทอ่ นบน ส่วนทอ่ นลา่ งสนั นิษฐานวา่ จะใชห้ นงั สัตว์ หรือผา้ หยาบๆ ร้อยเชือกผกู ไวร้ อบๆสะโพก บนศรีษะประดบั ดว้ ยขนนกจากภาชนะ เครื่องป้ันดินเผาโบราณที่พบบริเวณถ้าผี จงั หวดั แมฮ่ ่องสอนอายปุ ระมาณ 7,000-8,000ปี มาแลว้ พบวา่ มีการตกแตง่ ดว้ ยรอยเชือก และรอยตาข่ายทาบ ทาใหเ้ ราสันนิษฐานวา่ มนุษย์ น่าจะรู้จกั ทาเชือกและตาข่ายก่อน โดยนาพชื ท่ีมีใยมาฟั่นใหเ้ ป็นเชือก แลว้ นาเชือกมาผูกหรือ ถกั เป็นตาขา่ ย จากการถกั ก็พฒั นาข้ึนมาเป็นการทอดว้ ยเทคนิคงา่ ยๆแบบการจกั สานคือนา เชือกมาผกู กบั ไมห้ รือยดึ ไวใ้ หด้ า้ ยเสน้ ยนื แลว้ นาเชือกอีกเสน้ หน่ึงมาพงุ่ ขดั กบั ดา้ ยเส้นยนื เกิด เป็นผา้ หยาบๆข้ึน เหมือนการขดั กระดาษหรือจกั สาน เกิดเป็นผา้ กระสอบแบบหยาบๆ หลกั ฐานที่สาคญั ทางโบราณคดีที่บริเวณบา้ นเชียง จงั หวดั อุดรธานี เช่น พบ กาไลสาริด ซ่ึงมีสนิม และมีเศษผา้ ติดอยกู่ บั คราบสนิมน้นั นกั วทิ ยาศาสตร์อธิบายวา่ สนิม เป็นตวั กดั กร่อนโลหะซ่ึงเป็นอนินทรียวตั ถแุ ตก่ ลบั เป็นตวั อนุรักษผ์ า้ ไวไ้ มใ่ หเ้ สื่อมสลาย ไปตามกาลเวลา ที่แหล่งบา้ นเชียงน้ี เรายงั พบแวดินเผาซ่ึงเป็นอปุ กรณ์การป่ันดา้ ยแบบ
งา่ ยๆและพบลกู กลิง้ แกะลายสาหรับใชท้ าลวดลายบนผา้ เป็นจานวนมาก จึงทาใหพ้ อจะ สันนิษฐานไดว้ า่ มนุษยอ์ าศยั อยใู่ นบริเวณบา้ นเชียงเม่ือ2,000-4,000ปี มาแลว้ รู้จกั การป่ัน ดา้ ย ทอผา้ ยอ้ มสีและพมิ พล์ วดลายลงบนผา้ อีกดว้ ย 3.2วตั ถุดบิ สาหรับการทอผ้า วตั ถุดิบสาหรับการทอผา้ น้นั คงจะมีการพฒั นากนั ข้ึนมาเป็นลาดบั แต่พอจะ สันนิษฐานจากหลกั ฐานทางโบราณคดีที่พบในประเทศไทยไดว้ า่ ในสมยั โบราณมนุษยค์ ง จะไดแ้ สวงหาพืชใทถิ่ท่ีมีเส้นใยแขง็ แรง เช่น ปอ ป่ านกญั ชา กลว้ ย สบั ปะรด มาปั่นเป็น เกลียวเชือกใชก้ ่อน ต่อมาจึงนาเชือกมาถกั ทอเป็นตาขา่ ยและเป็นผนื ผา้ เป็นลาดบั เศษใยผา้ ที่พบท่ีบา้ นเชียงเช่ือวา่ เป็นใยกญั ชา การใชเ้ ส้นใยพชื เป็นวตั ถุดิบในการทอผา้ น้ี กย็ งั มีผคู้ น บางทอ้ งถ่ินในประเทศตา่ งๆรวมท้งั ประเทศไทย ทาใชก้ นั อยบู่ า้ งในปัจจุบนั เช่น ใน ภาคเหนือของไทยและในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน กม็ ีการทาผา้ จากใยของป่ าน กญั ชา ซ่ึงมีลกั ษณะเหมือนผา้ ลินินอยา่ งหยาบๆในโอกินาวา ประเทศญี่ป่ ุนกม็ ีการทอผา้ จากใยของตน้ กลว้ ย ในบอร์เนียร์และในฟิ ลิปิ นส์กย็ งั ใชใ้ ยสับปะรดทอผา้ กนั อยู่ ผา้ ป่ านใย สับปะรดของฟิ ลิปปิ นส์ไดม้ ีการพฒั นาเทคนิคการฟอก จนกลายเป็นผา้ ป่ านแกว้ ท่ีทนทาน สวยงาม และราคาแพง นิยมใชก้ นั ในสงั คมช้นั สูงของฟิ ลิปปิ นส์จนถึงทุกวนั น้ี วตั ถดุ ิบอ่ืนๆท่ีนิยมนามาใชใ้ นการทอผา้ ไดแ้ ก่ ไหม ฝ้าย และขนสัตว์ น้นั นกั วชิ าการเช่ือกนั วา่ มีการกาเนิดจากดินแดนอ่ืนนอกประเทศไทย ไหมน้นั เช่ือวา่ มีตน้ กาเนิดมาจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนแลว้ นาไปเผยแพร่ในญี่ป่ ุน อินเดียรวมท้งั ดินแดนตา่ งๆในเอเชีย และยโุ รป ส่วนฝ้ายเชื่อกนั วา่ อาจมาจากอาหรับและเผยแพร่เขา้ มา ใชก้ นั อยา่ งกวา้ งขวางในอินเดียก่อน จึงเขา้ มาในแถบประเทศไทย และประเทศใกลเ้ คยี ง ภายหลงั จนกลายเป็นพชื พ้ืนเมืองในแถบน้ีไป สาหรับขนสตั วเ์ ป็นวสั ดุที่เหมาะกบั อากาศ หนาว เช่ือกนั วา่ นามาใชท้ าผา้ ในยโุ รปตอนเหนือก่อน แลว้ จึงแพร่หลายไปสู่ดินแดนอ่ืนๆ วตั ถุดิบท่ีใชย้ อ้ มสีผา้ น้นั เช่ือกนั วา่ คนโบราณรู้จกั นาพืชสมุนไพร และเปลือกไมท้ ี่มีอยมู่ ากมายในทอ้ งถ่ินของเรามาใชย้ อ้ มผา้ และทุกวนั น้ีกย็ งั มีผสู้ ืบทอด และคน้ ควา้ เกี่ยวกบั การใชส้ ีธรรมชาติจากพืชมายอ้ มผา้ กนั อยู่ เช่น นางแสงดา บณั สิทธ์ิ ท่ี บา้ นไร่ไผง่ าม อาเภอจอมทองจงั หวดั เชียงใหม่ ศิลปิ นแห่งชาติดา้ นการยอ้ มสีธรรมชาติ และทอผา้ แบบลา้ นนาเดิม ในจงั หวดั ชยั ภูมิและจงั หวดั สุรินทร์ ก็ยงั มีการยอ้ มผา้ ดว้ ยพืช พ้นื บา้ นเหลา่ น้ีสามารถนาเอาดอก ใบ เปลือกไม้ และเมลด็ นามาตม้ เคย่ี วใหเ้ กิดเป็นสีเขม้
ข้นึ แลว้ นาน้าสีมายอ้ มผา้ เช่น ยอ้ มรากยอเป็นสีแดง ยอ้ มครามเป็นสีน้าเงิน ยอ้ มมะเกลือ เป็นสีดา ยอ้ มขมิ้นชนั หรือแก่นขนุนเป็นสีเหลือง ยอ้ มลูกสมอหรือใบหูกวางหรือเปลือก มะกรูดเป็นสีเขยี ว ยอ้ มลกู หวา้ เป็นสีม่วง ยอ้ มเปลือกไมโ้ กงกางเป็นสีน้าตาล เป็นตน้ 3.3อปุ กรณ์ในการทอผ้า อปุ กรณ์หรือเคร่ืองมือสาคญั ในการทอกค็ ือเคร่ืองทอ ซ่ึงคนไทยพ้ืนบา้ นใน ภาคกลาง ภาคเหนือและภาคอีสาน เรียกกนั วา่ ก่ี หรือ หูก ภาคใตเ้ รียกวา่ เก ก่ีหรือหูก พฒั นาข้นึ มาจากหลกั การเบ้ืองตน้ ท่ีตอ้ งการใหม้ ีการขดั ลายกนั ระหวา่ งดา้ ยเสน้ ยนื กบั ดา้ ย เสน้ พงุ่ เป็นจานวนมากเพียงพอที่จะใหเ้ กิดเป็นผืนผา้ ข้นึ ดา้ ยเส้นยนื บางแห่งกเ็ รียกเสน้ เครือ จะมีจานวนก่ีเสน้ หรือความยาวเทา่ ใดกต็ าม จะตอ้ งมีการขึงใหต้ ึงและยดึ อยกู่ บั ท่ี ในขณะที่ดา้ ยเสน้ พ่งุ จะตอ้ งพนั ร้อยอยกู่ บั เครื่องพงุ่ ซ่ึงคนไทยเรียกวา่ กระสวย สาหรับใช้ พ่งุ ดา้ ยเขา้ ไปขดั กบั ดา้ ยเส้นยืนทุกเส้น และพ่งุ กลบั ไปกลบั มาจนเกิดเป็นเน้ือผา้ ตาม ลวดลายและขนาดที่ตอ้ งการเครื่องมือทอผา้ ท่ีงา่ ยและมีลกั ษณะธรรมชาติท่ีสุดในโลก ไดแ้ ก่ การผกู ดา้ ยเสน้ ยนื เขา้ กบั นิ้วมือขา้ งหน่ึง และใชน้ ิ้วมืออีกขา้ งหน่ึงพุ่งดา้ ยเขา้ ไปถกั ทอ โดยอาจใชเ้ ขม็ หรือกระดูกช่วยวิธีน้ีใชก้ นั ในหมู่ชาวอินเดียนแดนในสหรัฐอเมริกาการ ทอแบบน้ีเรียกเป็นภาษาองั กฤษวา่ ฟิ งเกอร์ ในปัจจุบนั ชาวบา้ นในประเทศไทยที่ทอผา้ ใชเ้ องหรือทอขายเป็นหตั ถกรรม พ้ืนบา้ นต่างนิยมใชก้ ่ีท่ีปรับปรุงใหท้ อผา้ ไดง้ า่ ยและสะดวกข้ึน กี่ท่ีใชก้ นั อยจู่ ึงมีโครงไมท้ ี่ แขง็ แรง มีที่นงั่ หอ้ ยเทา้ บางแห่งยงั ใชก้ ่ีแบบพ้นื บา้ นโบราณท่ีมีที่โครงไมข้ นาดเลก็ เรียกวา่ ฟื มเลก็ และใชข้ นเมน่ หรือนิ้วมือช่วยเกบ็ ลาย ซ่ึงเหมาะสาหรับทอผา้ ท่ีตอ้ งการความ ละเอียด และทอเป็นผา้ หนา้ แคบ เช่น ผา้ ตีนจก หรือผา้ ขิต ท่ีมีลวดลายวจิ ิตรผืนเลก็ บาง แห่งก็นิยมใชฟ้ ื มใหญ่ และบางแห่งเช่นในจงั หวดั สุรินทร์ จะนิยมก่ีผกู ดา้ ยท่ีมีความยาว มากซ่ึงขนาดของก่ีน้นั จะแตกต่างกนั ไปตามความตอ้ งการ แต่โดยทว่ั ไปแลว้ หูกหรือกี่ ชาวบา้ นมกั จะยาว12ฟุต กวา้ งประมาณฟุตคร่ึงและสูงจากพ้นื ประมาณ4ฟุตคร่ึง เหมาะท่ี จะต้งั ไวใ้ ตถ้ ุนบา้ นและสามารถทอใหผ้ า้ ไดห้ นา้ กวา้ งพอสมควร แต่กย็ งั ใชม้ ือพุ่งกระสวย และใชไ้ มค้ านสอดในการเก็บลายขติ หรือในการทอผา้ มดั หมี่ที่ตอ้ งขยบั เสน้ พงุ่ ใหต้ รงลาย ทกุ คร้ัง บางแห่งก็อาจจะมีเครื่องท่นุ แรง เช่น มีเขาหรือไมเ้ ก็บขติ แขวนไว้ ไม่ตอ้ งมาสอด ลายทุกคร้ังเป็นการประหยดั เวลา กี่ชนิดน้ีเรียกวา่ กี่มือ บางแห่งก็ใชก้ ่ีกระตกุ ซ่ึงสมารถใช้ มือกระตกุ กระสวยใหพ้ งุ่ หรือบินไปมาไดอ้ ยา่ งรวดเร็วมากกวา่ ก่ีมือเหมาะสาหรับการทอ
ผา้ ท่ีไม่มีลวดลายมาก เช่น ผา้ ขาวมา้ ผา้ นุ่ง ก่ีกระตกุ น้ีชาวจีนท่ีอาศยั อยแู่ ถบสาเพง็ เป็นผู้ นาเขา้ มาใชท้ อผา้ ขายในสมยั รัชกาลท่ี6 เพ่อื ทอผา้ ใหไ้ ดป้ ริมาณมากข้ึนสาหรับชาวเมือง ก่ี กระตุกก็ยงั เป็นเครื่องทอผา้ ที่ใชม้ ือคนอยู่ ตอ่ มาในปี พ.ศ.2475 กระทรวงกลาโหมไดต้ ้งั โรงงานทอผา้ สาหรับใชใ้ น ราชการทหารข้นึ เรียกวา่ โรงฝ้ายสยาม เพอ่ื ผลิตเส้ือผา้ และสาลีสาหรับทหาร มีการสั่ง เครื่องจกั รทอผา้ และฝ้ายจากต่างประเทศเขา้ มา นบั เป็นจุดเริ่มตน้ ของอตุ สาหกรรมการทอ ผา้ ดว้ ยเคร่ืองจกั ร สามารถผลิตผา้ ไดจ้ านวนมาก และไมต่ อ้ งมีลวดลายตามแบบผา้ พ้ืนบา้ น อุตสาหกรรมการทอผา้ ดว้ ยเคร่ืองจกั รในประเทศ ไดม้ ีการปรับปรุงขยายตวั ออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง จนกระทง่ั ในปัจจุบนั น้ีอุตสาหกรรมส่ิงทอของไทยไดก้ ลายเป็น อตุ สาหกรรมขนาดใหญ่หรือการส่งออกในปริมาณมากทุกๆปี และปรับเปล่ียนรูปแบบ การทอใหม้ ีลกั ษณะเป็นผา้ ที่ใชส้ อยตามรสนิยม และความตอ้ งการของตลาดโลก
บทท3่ี วธิ ดี าเนนิ การโครงงาน การจดั ทาโครงงานประวตั ิศาสตร์ การทอผา้ ไหมยกดอก ผจู้ ดั ทามีวธิ ีการดาเนินงานตาม ข้นั ตอนทางประวตั ิศาสตร์ท้งั 5 ข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี 1 กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา 1 .ไดป้ ระชุมหารือเพอื่ หาขอ้ คิดเห็นของสมาชิกในกล่มุ แลว้ ประเด็นที่จะศึกษาคอื การ ทอผา้ ไหมยกดอก จงั หวดั ลาพนู 2. เขียนเคา้ โครงโครงงานเพ่ือเสนอใหค้ รูท่ีปรึกษา 3. ครูที่ปรึกษาใหแ้ กไ้ ขโครงงานและอนุมตั ิให้ดาเนินการ ข้ันตอนท่ี 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมูล 1. หาขอ้ มลู จากผรู้ ู้ท่ีสามารถใหข้ อ้ มูลกบั เราเก่ียวกบั การทอผา้ ไหมยกดอก 2. สืบคน้ หาขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ต พบขอ้ มลู จานวน 3 เวบ็ ไซต์ คือ (1)https://sites.google.com/site/xnurakmaithai/prawatiphahimthiy?fbclid=I w AR3DjEijkmXGmEwIpcw6G6kU6bFYjUMi-_9ewS2PVA18l3kRFfciu-ZCtrE (2).http://aboutliving.asia/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A5 %E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8% AB%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B 8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0 %B8%B7/?fbclid=IwAR1z- LdpfujcaDTZDyWRYaaN8Dk0mvD6lGsFZCdGX5GHk2p2d3Q4l_ejK4Q (3).https://qsds.go.th/silkcotton/k_20.php?fbclid=IwAR0zFfM6xfUXFScJNZ6vcDp KsKJeH6ACDT8Vtf42JOME42XVeetNPD4o-YI และหอ้ งสมุดพบหนงั สือจานวน 3 เลม่ คือ (1).หนงั สือเรื่อง สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เล่มท่ี 21 (2).หนงั สือเรื่อง สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ที่ 15 (3).หนงั สือประวตั ิศาสตร์ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่4-6
3. เกบ็ รวบรวมบนั ทึกขอ้ มลู ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน 4. บนั ทึกภาพท้งั หมดท่ีคิดวา่ เก่ียวขอ้ งกบั การทอผา้ ไหมยกดอก ข้นั ตอนท่ี 3 ประเมินคุณค่าของหลกั ฐาน 1. นาขอ้ มูลมารวบรวมกนั 2.ทาการประเมินคุณคา่ ของหลกั ฐานที่สืบคน้ ไดม้ าพิจารณาในรายละเอียดทุกดา้ น เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งที่สุดและชดั เจน 3.พบขอ้ มลู ที่น่าเช่ือถือ จานวน 3 เวบ็ ไซต์ คอื (1).https://sites.google.com/site/xnurakmaithai/prawatiphahimthiy?fbclid=Iw AR3DjEijkmXGmEwIpcw6G6kU6bFYjUMi-_9ewS2PVA18l3kRFfciu- ZCtrE (2).http://aboutliving.asia/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0% B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B9% 8C%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%81% E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0 %B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B7/?fbclid=IwAR1z- LdpfujcaDTZDyWRYaaN8Dk0mvD6lGsFZCdGX5GHk2p2d3Q4l_ejK4Q (3).https://qsds.go.th/silkcotton/k_20.php?fbclid=IwAR0zFfM6xfUXFScJNZ 6vcDpKsKJeH6ACDT8Vtf42JOME42XVeetNPD4o-YI และหอ้ งสมดุ พบหนงั สือจานวน 3 เลม่ คือ (1).หนงั สือเร่ือง สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เล่ม 21 (2).หนงั สือเรื่อง สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ น พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว เลม่ (3). หนงั สือประวตั ิศาสตร์ 4-6 4. นาหนงั สือจากหอ้ งสมดุ มาตรวจสอบกบั เอกสารและแหล่งขอ้ มลู อื่นที่เช่ือถือได้ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลที่ถกู ตอ้ งชดั เจน น่าเชื่อได้ ข้ันตอนที่ 4 นาข้อมูลมาวเิ คราะห์ สังเคราะห์และจัดหมวดหมู่ 1. ศึกษามาวิเคราะห์หลกั ฐานขอ้ มลู อีกคร้ัง 2. นาขอ้ มูลจดั เป็นข้นั ตอนและเป็นหมวดหมู่
(1).ทต่ี ้ังจงั หวดั ลาพนู (1.1) ท่ีต้งั จงั หวดั ลาพนู (1.2) ลกั ษณะภูมิศาสตร์ (2).ประวัตคิ วามเป็ นมาของจังหวดั ลาพนู (3).ความเป็ นมาของผ้าไหมยกดอกลาพูน (4).ข้ันตอนในการท่อผ้าไหมยกดอกลาพนู (4.1) การทาเสน้ ไหม (4.2) การฟอกไหม (4.3) การยอ้ มไหม (4.4) การกรอไหม (4.5) การสาวไหม (4.6) การเขา้ ฟันหวีหรือฟื ม (4.7) การเขา้ หวั มว้ น (4.8) การทอ (5).การทาลวดลายและวิธีการทอ ข้นั ตอนท่ี 5 เรียบเรียงและการนาเสนอ 1. จดั ทารูปเล่มโครงงานในรูปแบบ E book 2. นาเสนอโดยจดั ทาเป็นวดี ีโอ
ตารางการปฏบิ ัตงิ าน ข้นั ตอน ข้นั ตอนการดาเนินงาน ผรู้ ับผดิ ชอบ ระยะเวลา 1 16 มกราคม การต้งั ประเดน็ ท่ีจะศึกษา 1.นายจกั รพนั ธ์ วงศซ์ ื่อ 2565 2 -กาหนดหวั ขอ้ เร่ืองท่ีจะ 2.นางสาวนิภาพร บุญ 17-31 มกราคม ศึกษาท่ีกลุ่มสนใจ นา 2565 -สารวจพ้นื ท่ีที่กลมุ่ จะศึกษา 3.นางสาวพุธิตา ศรีวิชยั -จดั ทาเคา้ โครงโครงงานเพื่อ 4.นางสาวสาลินี เป็ง ส่งครูที่ปรึกษาและขอ ดอก คาแนะนา 5.นางสาวสุภาวดี สุณา -วางแผนปฏิบตั ิงานเป็น ข้นั ตอน รวบรวมข้อมูล 1.นายจกั รพนั ธ์ วงศซ์ ่ือ -คน้ ควา้ หาขอ้ มูลจาก 2.นางสาวนิภาพร บุญ หนงั สือและเวบ็ ไซตต์ ่างๆ นา -หาขอ้ มลู ทางอินเทอร์เนต็ 3.นางสาวพธุ ิตา ศรีวชิ ยั เพ่อื เก็บขอ้ มูลในการทา 4.นางสาวสาลินี เป็ง โครงงาน ดอก -บนั ทึกขอ้ มลู ที่กลมุ่ ได้ 5.นางสาวสุภาวดี สุณา ศึกษา 3 การประเมินคณุ ค่าของ 1.นายจกั รพนั ธ์ วงศซ์ ื่อ 1-14 ข้อมูล 2.นางสาวนิภาพร บุญ กมุ ภาพนั ธ์ -นาขอ้ มูลมาเรียบเรียงใหม่ นา 2565 แลว้ ประเมินคุณคา่ 3.นางสาวพธุ ิตา ศรีวิชยั -เรียบเรียงขอ้ มูลใหช้ ดั เจน 4.นางสาวสาลินี เป็ง -จดั ขอ้ มลู แลว้ ตรวจสอบไห้ ดอก ถ่ีถว้ น 5.นางสาวสุภาวดี สุณา
4 วิเคราะห์ ตีความหลกั ฐาน 1.นายจกั รพนั ธ์ วงศซ์ ื่อ 15-25 และข้อมูล 2.นางสาวนิภาพร บุญ กมุ ภาพนั ธ์ -นาเอาขอ้ มลู และหลกั ฐานที่ นา 2565 ไดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ 3.นางสาวพุธิตา ศรีวิชยั ท้งั หมดมาวเิ คราะห์และ 4.นางสาวสาลินี เป็ง ตีความ ดอก -เรียบเรียงขอ้ มลู อีกคร้ัง 5.นางสาวสุภาวดี สุณา 5 การนาเสนอ 1.นายจกั รพนั ธ์ วงศซ์ ื่อ 26 กุมภาพนั ธ์ -จดั ทารูปเลม่ โครงงาน 2.นางสาวนิภาพร บุญ 2565 -จดั ทาเป็น e-book เพ่อื นา นาเสนอใหค้ รูที่ปรึกษา 3.นางสาวพุธิตา ศรีวิชยั 4.นางสาวสาลินี เป็ง ดอก 5.นางสาวสุภาวดี สุณา
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ผลการศึกษาโครงงานประวตั ิศาสตร์ในทอ้ งถิ่นเรื่องผา้ ไหมยกดอกลาพูน ลาพนู เป็น จงั หวดั ที่เก่าแก่ที่สุดในภาคเหนือเดิมมีช่ือวา่ นครหริภุญชยั ผา้ ยกดอกมีลกั ษณะเด่น คอื ในผืนผา้ จะมี ลวดลายในตวั โดยผิวสัมผสั ผา้ ยกดอกจะมีความนูนของผืนผา้ แตล่ ะชิ้นแตกต่างกนั ข้นึ อยกู่ บั ลวดลายแต่ ละลาย ผศู้ ึกษาขอนาเสนอดงั น้ี 1.ท่ีต้ังจังหวดั ลาพนู ต้งั อยทู่ างภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อยหู่ ่างจากกรุงเทพมหานคร ตามทางหลวง แผน่ ดินหมายเลข 11 สายเอเซีย เป็นระยะทาง 689 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผน่ ดินสายพหลโยธิน เป็น ระยะทาง 724 กิโลเมตร และตามทางรถไฟ 729 กิโลเมตร ต้งั อยรู่ ะหวา่ งเสน้ รุ้งที่ 18 องศาเหนือ และเสน้ แวงท่ี 99 องศาตะวนั ออก อยใู่ นกลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน อยหู่ ่างจากจงั หวดั เชียงใหม่เพยี ง 22 ก.ม. เป็นพ้นื ที่ ท่ีมีศกั ยภาพในการพฒั นาเป็นศูนยก์ ลางความเจริญของภาคเหนือตอนบน และอนุภูมิภาค ลุม่ น้า โขง หรือพ้ืนท่ีสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจร่วมกบั จงั หวดั เชียงใหม่ ลกั ษณะภูมิศาสตร์จงั หวดั ลาพนู ต้งั อยใู่ นภาคเหนือ ซ่ึงตามตาแหน่งที่ต้งั อยใู่ นเขตร้อนท่ีค่อนไป ทาง เขตอากาศอบอุ่น
2.ประวัตคิ วามเป็ นมาของจงั หวัดลาพูน จงั หวดั ลาพูน เดิมช่ือเมืองหริภญุ ไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายปุ ระมาณ 1,343 ปี ตาม พงศาวดารโยนกเลา่ สืบตอ่ กนั ถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤาษีวาสุเทพ เป็นผเู้ กณฑพ์ วกเมง็ คบตุ ร หรือ ชนเช้ือชาติมอญมาสร้างเมืองน้ีข้ึน ในพ้ืนที่ระหวา่ แมน่ ้าสองสาย คือ แม่น้ากวง และแมน่ ้าปิ ง เม่ือมา สร้างเสร็จไดส้ ่งทูตไปเชิญราชธิดากษตั ริยเ์ มืองละโวพ้ ระนาม จามเทวี มาเป็นปฐมกษตั ริยป์ กครองเมือง หริภุญไชย สืบราชวงศก์ ษตั ริย์ ตอ่ มา หลายพระองคจ์ นกระทง่ั ถึงสมยั พระ ยายบี าจึงไดเ้ สียการปกครองใหพ้ อ่ ขนุ เมง็ รายมหาราช เมอื งหริภุญไชยสมยั โบราณ ผรู้ วบรวม แว่นแควน้ ทางเหนือเขา้ เป็นอาณาจกั รลา้ นนาเมือง ลาพูนถึงแมว้ า่ จะตกอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของอาณาจกั รลา้ นนา แต่กไ็ ดเ้ ป็นผถู้ า่ ยทอดมรดกทางศิลปและวฒั นธรรมให้แก่ผทู้ ี่เขา้ มาปกครองจึงปรากฏหลกั ฐานทว่ั ไปในเวียงกุมกามเชียงใหม่และ เชียงรายเมืองลาพูนยงั คงมีความสาคญั ในทางศิลปะและ วฒั นธรรมของอาณาจกั รลา้ นนาจนกระทง่ั สมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตาก สินมหาราชเมืองลาพูนจึงไดเ้ ขา้ มาอยใู่ นราชอาณาจกั รไทย มีผู้ ครองนครสืบต่อมาจนถึงสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมามีการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475เมื่อเจา้ ผคู้ รองนครองคส์ ุดทา้ ย พระนางจามเทวี คือพลตรีเจา้ จกั รคา ขจรศกั ด์ิ ถึงแก่พิราลยั เมืองลาพูนจึงเปล่ียนเป็นจงั หวดั มีผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เป็น ผปู้ กครองสืบมาจนกระทง่ั ถึงปัจจุบนั
3.ความเป็ นมาของผ้าไหมยกดอกลาพูน คนลาพูนมีการทอผา้ ใชเ้ องมาแต่อดีตอนั ยาวนาน โดยเฉพาะการทอผา้ ที่เป็นเอกลกั ษณ์ของ ชนชาวยองไทล้ือที่อพยพมาจากเมืองยองซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของเมืองเชียงตงุ ในประเทศพมา่ ในกลุ่มชน ช้นั สูงท่ีวตั ถดุ ิบเป็นเส้นไหมมากกวา่ ท่ีจะเป็นเสน้ ฝ้ายที่ใชก้ นั ในชนช้นั ลา่ งลงไป คนยองป่ าซาง กาลเวลาล่วงเลยผา่ นมานบั ร้อยปี การทอผา้ ไหมและผา้ ฝ้ายยงั มีการประยกุ ตใ์ ชก้ นั อยแู่ ตเ่ ป็นการทอเป็น ลวดลายไมว่ ิจิตรนกั จวบจนกระทงั่ พระราชชายาเจา้ ดารารัศมีพระธิดาในพระเจา้ อินทร์วชิ ยานนท์ ผคู้ รอง นครเชียงใหม่ องคท์ ี่ 7หลงั จากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จสวรรคตพระราชชายาเจา้ ดารารัศมีไดพ้ ระราชทานทูลขอพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในรัชการที่ 6 เจ้าดารารัศมี เจา้ ดารารัศมี พระราชชายา มีพระนามเดิมวา่ เจา้ ดารารัศมี พระนาม ลาลองเรียกกนั ในครอบครัววา่ เจา้ นอ้ ย และในพระประยูรญาติวา่ เจา้ อ่ึง ประสูติเมื่อวนั องั คาร ข้ึน 4 ค่า เดือน 8 ปี ตรงกบั วนั ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 เวลา 00.30 น.เศษ ณ คมุ้ หลวงกลางเวียง นครเชียงใหม่ ปัจจุบนั คือโรงเรียนยพุ ราชวิทยาลยั เป็นพระธิดาในพระเจา้ อินทวชิ ยา นนทก์ บั เจา้ ทิพเกสร มีพระเชษฐภคินีร่วมพระอทุ รหน่ึงพระองคค์ อื เจา้ จนั ทรโสภาเมื่อทรงพระเยาว์ เจา้ ภาษาองั กฤษจนแตกฉาน ท้งั ยงั ไดท้ รงศึกษาขนบธรรมเนียม ประเพณี
ตา่ งๆจนนบั ไดว้ า่ ทรงเป็นผูร้ อบรู้ในดา้ นขนบประเพณีอนั เก่าแก่เหลา่ น้นั ดีท่ีสุดคนหน่ึงทีเดียว และโปรด การทรงมา้ เป็นอยา่ งยง่ิ พระราชชายาเจา้ ดารารัศมีทรงไดน้ าความรู้ที่เรียนรู้มาจากราชสานกั ส่วนกลาง ขณะประทบั ณ วงั หลวงในกรุงเทพฯ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประดิษฐล์ วดลาย และไดฝ้ ึกหดั คนในคมุ้ เชียงใหมใ่ หท้ อผา้ ยกโดยเพมิ่ ลวดลายลงในผนื ผา้ ไหมใหพ้ เิ ศษข้นึ คือเพิ่มดา้ ยเสน้ พงุ่ พเิ ศษเป็น ดิ้นเงิน ด้ินทอง การเก็บลายจึงตอ้ งใชต้ ะกอเพอ่ื ใหส้ ามารถทอลวดลายที่สลบั ซบั ซอ้ นประณีตงดงามจึงได้ เทคนิค การทอน้ีวา่ ยกดอกเพ่ือนาไปถวายเจา้ นายช้นั ผใู้ หญ่ในภาคกลางและทรงใชส้ ่วนพระองค์ เนื่องดว้ ยทรง เป็นพระญาติกบั เจา้ เมืองลาพูนจึงทรงถา่ ยทอดความรู้เรื่องการทอผา้ ยก ที่มีลวดลายสวยงามแปลกตาและ วิจิตรบรรจงใหแ้ ก่เจา้ หญิงส่วนบุญ พระราชชายาของเจา้ จกั รคาขจรศกั ด์ิเจา้ ผคู้ รองนครลาพูนองคส์ ุดทา้ ยและพระธิดาเจา้ จกั รคา ขจรศกั ด์ิ ท้งั สองพระองคจ์ ึงไดน้ าความรู้การทอผา้ ยกมาฝึกคนในคมุ้ หลวงลาพูน และชาวบา้ นได้ เรียนรู้การทอผา้ ยกจากคนในคมุ้ จนมีความชานาญ และมีการเผยแพร่ทวั่ ไปในชุมชนตา่ งๆ โดยไดม้ ีการ ฝึกหดั ชาวบา้ นในบริเวณใกลเ้ คยี งจนมีความรู้เรื่อง การทอผา้ ไหมยกดอกเป็นอยา่ งดี ทรงฟ้ื นฟูผา้ ไหม ยกดอกลาพูน โดยทรงดดั แปลงใหผ้ า้ ไหมมีความ วิจิตรสวยงามยงิ่ ข้นึ โดยทรงใชเ้ ทคนิคภาคกลางมา เจ้าจักรคาและเจ้าหญงิ ส่วนบญุ ประยกุ ตแ์ ละทอกนั มากในตาบลเวียงยอง และบริเวณใกลเ้ คียงท่ีเป็น ชุมชนของเจา้ นายยองในอดีต ในอดีตเมืองลาพูนมีโรงงานทอผา้ ไหม ยกดอกมากมายกระจายอยตู่ ามที่ตา่ ง ๆ ในตวั เมือง โรงงานที่สาคญั ไดแ้ ก่ โรงทอผา้ คมุ้ เจา้ หญิงส่วนบุญ แตแ่ รกเป็นการฝึกหดั ช่างฝีมือทอ ผา้ สาหรับใชใ้ นคุม้ หลวงและส่งไปทางราชสานกั กรุงเทพฯเท่าน้นั ตอ่ มาไดม้ ีการ คณุ หญิงพงษ์แก้ว ณ ลาพนู
จาหน่ายใหก้ บั คนโดยทว่ั ไป นบั เป็นโรงงานท่ีดาเนินกิจการที่ยงั่ ยนื และสืบทอดต่อมาโดยคณุ หญิงพงษ์ แกว้ ณ ลาพนู และปัจจุบนั ไดส้ ืบทอดมายงั ลูกหลาน นบั เป็นแหล่งอนุรักษก์ ารทอผา้ ไหมยกดอกที่สาคญั ของลาพนู โรงทอผา้ เจา้ หญิงลาเจียก ณ ลาพูน ไดต้ ้งั โรงงานข้นึ ภายในคมุ้ หลวง ท่านไดส้ ่งเสริมและ พฒั นารูปแบบผา้ ยกดอกขอลาพนู ใหม้ ีความหลากหลายมาก ปัจจุบนั โรงงานกลายสภาพเป็นตลาดพกิ ลุ แกว้ โรงทอผา้ ป้าฟองคา อินทพนั ธ์ ถนนแวน่ คา ขา้ งศาลากลางทางดา้ นทิศใต้ ปัจจุบนั เป็นกิจการทอผา้ ฝ้ายขนาดเลก็ โรงทอผา้ คุณยา่ บวั ผนั โนตานนท์ ใชบ้ ริเวณหลงั บา้ นทากิจการทอผา้ ปัจจุบนั ยกเลิกไปแลว้ โรงทอผา้ ป้าบญุ ศรี บณุ ยเกียรติ หรือ ร้านผอ่ งพรรณ บริเวณรอบเมืองในประตลู ้ี ปัจจุบนั ยงั ดาเนินกิจการ อยู่ เปล่ียนช่ือร้านเป็นปรีชาเกียรติไหมไทย ปรีชาเกยี รติ บุณยเกยี รติ ครูศิลป์ แผ่นดิน ผ้าไหมยกดอกลาพูน โรงทอผา้ เพญ็ ศิริไหมไทย ร้านท่ีมีชื่อเสียงในการออกแบบผา้ ไหมยกดอกไดส้ วยงาม เหมาะสมกบั ยคุ และเป็นท่ีตอ้ งการของตลาดมาก โรงทอผ้าเพญ็ ศิริไหมไทย
เป็นโรงงานทอผา้ ยกดอก ผา้ ด้ินเงิน ผา้ ด้ินทองและเป็นแหล่งทอผา้ ยกดอกแห่งสาคญั ของจงั หวดั ลาพูน ในปัจจุบนั ท้งั น้ีเน่ืองมาจากไดม้ ีกรปรับกิจกรรมการทอผา้ แบบโบราณใหเ้ ขา้ กบั ยคุ สมยั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี จึง ทาใหจ้ งั หวดั ลาพูนเป็นศนู ยก์ ลางการทอผา้ ไหมยกดอกแหลง่ สาคญั ของประเทศไทย ผา้ ยกดอกมีลกั ษณะ เด่น คือในผนื ผา้ จะมีลวดลายในตวั โดยผิวสมั ผสั ผา้ ยกดอกจะมีความนูนของผนื ผา้ แต่ละชิ้นแตกตา่ งกนั ข้นึ อยกู่ บั ลวดลายแต่ละลาย ส่วนใหญล่ ายจะใชฝ้ ้าย หรือไหมสีเดียวกนั ตลอดท้งั ผืนบางคร้ังอาจมีการ จกฝ้ายเพิม่ เติมเพ่อื เพิม่ ความเด่นของลวดลายกไ็ ด้ 4.ข้นั ตอนการทอผ้าไหมยกดอกลาพนู การทาผา้ ไหมยกดอกเป็นงานหตั ถกรรมท่ีตอ้ งมีฝีมือความชานาญและความพยายามต้งั แต่ การทาเสน้ ไหมจนถึงการทอสาเร็จเป็นผืนผา้ แบง่ เป็นข้นั ตอนตา่ งๆ ดงั น้ี 4.1 การสาวไหม การสาวไหม คือ การที่ดึงเอาเสน้ ไยซ่ึงมีขนาดเลก็ ๆ น้ีออกจากรังไหมโดย ใชว้ ธิ ีนารังไหมไปตม้ เพ่ือทาลายกาวที่ผนึกเส้นไยท่ีอดั แน่นออกจากกนั แลว้ ดึงเอาเส้น ไยออกมาตามกรรมวิธี เส้นไหมที่ไดน้ ้นั จะไดม้ าจากการดึงเส้นใยจากหลาย ๆรังรวมกนั เป็นเส้นเดียวกนั ในการสาวคราวเดียวกนั เพือ่ ใหเ้ สน้ ไหมของแต่ละรังพนั กนั เป็นเกลียว ทาใหเ้ กิดการเกาะยดึ ซ่ึงกนั และกนั มีความเหนียวทนทาน เน้ือเส้นไหมกระชบั แน่นและ มีการสะทอ้ นแสงและหกั เหไปในทิศทางต่างกนั ดูสวยงามเป็นมนั วาวเมื่อทอเป็นผืนผา้ ไหม หลกั การสาคญั ของการสาวไหม คือ การพนั เกลียวระหวา่ งรอบสาวไหมเพ่ือให้ เส้นใยหลาย ๆ เส้นท่ีสาวมาจากหลาย ๆ รัง ดึงมารวมกนั เป็นเสน้ เดียวน้นั ใหเ้ กิดการรัด ตวั แน่น เสน้ ไม่แตก และเส้นกลม เส้นไยไหมหลายๆเส้นสาวขนึ้ แล้วตีเกลยี วให้แน่นเป็ นเส้นเดียว รังไหมทส่ี ุกเตม็ ท่ี พร้อมสาหรับการนาไปต้มเพอื่ สาวเอาเส้นไหม
4.2 การทาเส้นไหม เส้นไหมไดม้ าจากการนารังของตวั ไหมมาป่ันเป็นเส้นใย เสน้ ไหมน้ีมี คณุ สมบตั ิพิเศษที่เด่นหวา่ เส้นฝ้ายคือ มีความเหนียวทนทานและมีประกายเงางาม เสน้ ไหมท่ีไดจ้ ากการป่ันเมื่อจะนามาทอเป็นผา้ ไหมยกดอกจะจดั แบ่งเสน้ ไหมออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ไหมเสน้ ยนื จะใชเ้ สน้ ไหมควบ4 คอื เส้นไหมดิบท่ีป่ันดว้ ยใย ไหม 4 เสน้ เรียกวา่ ไหมควบ4 โดยทว่ั ไปแลว้ นิยมใชไ้ หมควบ4เป็นไหมเส้นยนื แตก่ ็ สามารถใหเ้ ป็นไหมเส้นพงุ่ ทาลายยกดอกได้ ประเภทท่ี 2 ไหมเส้นพุ่ง โดยทวั่ ไปจะใชเ้ สน้ ไหมควบ6 คือเส้นไหมดิบท่ี ปั่นดว้ ยใยไหม 6 เส้น สาหรับใชเ้ ป็นไหมพงุ่ และทาลายยกดอก ไหมควบ6 น้ีไมน่ ิยมใช้ เป็นไหมเสน้ ยนื เส้นพ่งุ ที่ถูกกรอไว้กบั ด้าย กระสวยสาหรับใส่เส้นพุ่ง
4.3 การฟอกไหม เสน้ ไหมที่ไดจ้ ากการป่ันจะมียางเหนียวคลา้ ยกาว หรือเซริซิน ติดอยกู่ าวน้ี จะถกู ขบั ออกมาจากตวั ไหมโดยธรรมชาติพร้อมๆกบั เสน้ ใยไหมหากปล่อยทิง้ ไวก้ าว หรือ เซริซินจะทาให้เส้นใยไหมแขง็ หยาบกระดา้ ง ขาดความเงางาม ดงั น้นั จึงตอ้ งมี การนาเส้นไหมท่ีป่ันแลว้ ไปฟอกก่อนท่ีจะนามาทอเป็นผา้ ไหม การฟอกไหม นอกจาก จะเป็นกรรมวิธีท่ีจะทาใหก้ าวที่ติดเส้นไหมหายไปแลว้ ยงั ช่วยใหเ้ สน้ ไหมมีสีคงทนเมื่อ นาไปยอ้ มสี และสีท่ียอ้ มจะติดทนทาน แต่ถา้ ไม่ฟอกเสน้ ไหมเม่ือยอ้ มสีจะไม่ติดหรือติด แต่เพยี งเคลือบไวเ้ ทา่ น้นั เม่ือนาผา้ ไปซกั จะทาใหส้ ีตกและซีดไปในที่สุด นอกจากน้นั การฟอกไหมยงั ช่วยใหเ้ ส้นไหมน่ิมเป็นประกายเงางามยง่ิ ข้นึ อีกดว้ ย หลงั จากฟอกไหม เสร็จแลว้ ไหมเส้นยนื จะตอ้ งนาไปใส่ในน้าแป้งผสมน้ามนั พืช โดยใหม้ ีส่วนผสมของ แป้งเพยี งเลก็ นอ้ ย และแป้งท่ีนิยมใชค้ อื แป้งหมี่ ถา้ ใชแ้ ป้งชนิดอ่ืนเสน้ ไหมจะหกั ส่วน น้ามนั พืชใชอ้ ตั ราส่วน ประมาณ 2-3 หยด ต่อเสน้ ไหม 1 กิโลกรัมต่อน้า 20 ลิตร กรรมวิธีน้ีจะช่วยใหเ้ สน้ ไหมล่ืนและไมต่ ิดกนั แลว้ จึงนาเส้นไหมข้นึ มาบิดน้าออก กระตกุ ใหเ้ หยยี ดแลว้ นาไปตากแหง้ สาหรับเสน้ ไหมพงุ่ ไมน่ ิยมลงแป้ง เพียงแตบ่ ิดเอา น้าออก กระตุกใหเ้ หยยี ดแลว้ นาไปตากแหง้
4.4 การย้อมไหม การยอ้ มไหม เป็นกรรมวิธีที่ทาต่อจากการฟอกไหม โดยมีวตั ถุประสงคท์ ี่จะ ทาใหเ้ ส้นไหมที่ฟอกแลว้ มีสีสันตามตอ้ งการสามารถนาไปทอเป็นผา้ ไหมไดห้ ลากสี และสีสันงดงามเป็นท่ีตอ้ งการของตลาด 4.5 การกรอไหม การกรอเสน้ ไหม เป็นการนาเส้นไหมที่ยอ้ มแหง้ ดีแลว้ มาปั่นเกบ็ ไว้ อุปกรณ์ประกอบดว้ ย เคร่ืองกรอไหม ในกรอขนาดต่างๆหรือจกั กวดั ไหมและระวิง ส่ิง ท่ีใชเ้ กบ็ เส้นไหมท่ีกรอแลว้ มกั จะใชว้ สั ดุท่ีหาง่ายในทอ้ งถ่ิน กระป๋ องหรือหลอด พลาสติก เป็นตน้ การกรอเส้นไหมมีวตั ถปุ ระสงคท์ ี่จะแยกเส้นไหมใหอ้ อกเป็นเส้นๆ ไม่ใหต้ ิดหรือพนั กนั และเป็นการสารวจเส้นไหมใหม้ ีความเรียบร้อย ไมข่ าด ซ่ึงจะช่วย ใหส้ ะดวกในการสาวไหม อนั เป็นกรรมวิธีในข้นั ตอนต่อไป 4.6 การโว้นไหม
การโวน้ ไหม” หรือ “โวน้ หูก” คือการนาเสน้ ไหมยนื ที่กรอแลว้ ไปสาง ในรางสาวไหมหรือมา้ เดินไดท้ ีละเส้น โดยใหม้ ีจานวนเส้นไหมครบตามจานวนช่องฟัน หวที ี่ตอ้ งการจะใช้ อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการสาวไหมประกอบดว้ ย มา้ เดินได้ ไมไ้ ขวห้ ลงั และ หลกั ต้งั ตลอด ในการสาวไหมลงช่องของฟันหวี กาหนดให้ 1 ช่องฟันหวีจะตอ้ งใชเ้ สน้ ไหมยนื 2 เส้น ดงั น้นั ถา้ หากใชฟ้ ันหวซี ่ึงมีช่อง 2000 ช่อง จะตอ้ งนบั ไหมเส้นยนื ใหค้ รบ 4000 เส้น เป็นตน้ สาหรับไมไ้ ขวห้ ลงั เป็นอปุ กรณ์ท่ีจาเป็นตอ้ งใชใ้ นการสาวไหม โดย จะมีไวท้ ี่รางสาวไหมรางที่ 1 เพื่อใหเ้ ส้นไหมเรียงลาดบั กนั ไปตลอด เป็นการป้องกนั เส้น ไหมพนั กนั
4.7 การเข้าฟันหวีหรือฟื ม ฟันหวี หรือ ฟื ม เป็นเครื่องมือใชส้ าหรับลางเส้นไหมใหเ้ ป็นระเบียบ และมี ประโยชนใ์ นการทอโดยใชก้ ระทบไหมเส้นพุ่งใหข้ ยบั เขา้ ขดั กบั ไหมเสน้ ยนื หรือสานให้ เป็นผนื ผา้ ออกมาอยา่ งสวยงาม อุปกรณ์ ที่ใชป้ ระกอบดว้ ย แทน่ อดั ก๊อปป้ี มา้ หมนุ ไมเ้ ขย่ี เส้นไหม ไมข้ นดั สาหรับ แยกไขว้ และฟันหวฟี ันหวเี ม่ือก่อนน้นั ทาดว้ ยไมเ้ ป็นซ่ีๆ โดยมีขอบ ยดึ ไวท้ ้งั ขา้ งบนและขา้ งล่าง หวั และทา้ ย เพอ่ื ยดึ ฟันหวีใหเ้ ทา่ ๆกนั และทนทาน แตก่ าร ทาฟันหวีดว้ ยไมน้ ้นั ช่วงห่างของฟันหวีไม่เท่ากนั และโยกไดจ้ ึงทาใหผ้ า้ ไหมทอออกมา ไม่สม่าเสมอ ขาดความสวยงามและคุณภาพ ตอ่ มาไดม้ ีการทาฟันหวีดว้ ยทองเหลืองจึง ทาใหค้ ุณภาพของผา้ ท่ีทอดีข้ึน แต่กป็ ระสบปัญหาคอื เกิดสนิมทองเหลืองติดตามเน้ือผา้ ท่ีทอออกมาเห็นไดช้ ดั โดยเฉพาะผา้ ไหมสีอ่อนๆเช่น สีขาว สีครีม เป็นตน้ การใชฟ้ ันหวี ดว้ ยทองเหลืองจึงเลิกไป ปัจจุบนั ฟันหวีทาดว้ ยสแตนเลส ซ่ึงมีความงดงามสม่าเสมอ และไม่โยก ไม่มีสนิมทาใหไ้ ดผ้ า้ ทอที่มีความสวยงาม การเขา้ ฟันหวี หรือ การนาไหม เขา้ ฟันหวี โดยก่อนเขา้ ฟันหวีนาไหมไปเขา้ เครื่องหนีบ เพอ่ื ยดึ เสน้ ไหมดา้ นหน่ึง เอาไว้ แลว้ ใส่เสน้ ไหมลงไปในช่องฟัน หวีช่องละ 2 เสน้ ดงั น้นั ในการเขา้ ฟัน หวีจึงตอ้ งใชค้ น 2 คน ช่วยกนั ทา โดย คนหน่ึงเป็นคนส่งเสน้ ไหมเขา้ ช่องอีก คนหน่ึงช่วยดึงฟันหวใี หห้ ่างและใช้ ตะขอเก่ียวเสน้ ไหมเขา้ ช่องฟันหวี ฟันหวีก็จะช่วยสางเสน้ ไหมใหเ้ ป็นระเบียบและ สม่าเสมอ
4.8 การเข้าหัวม้วน การเขา้ หวั มว้ น คือ การนาเส้นไหมยนื ที่สางดว้ ยฟันหวเี ป็นระเบียบดีแลว้ ไปเขา้ หวั มว้ น เม่ือมว้ นเสน้ ไหมไดท้ ุกๆ 5 เมตร จะใชท้ างมะพร้าวสอดกนั ไว้ 2 ถึง3 กา้ น ทาอยา่ งน้ีเร่ือยไปจนกว่าจะหมดการใส่ทางมะพร้าวไปดว้ ยน้ีมีประโยชน์หลาย ประการ คือ ป้องกนั เส้นใยไหมบาดกนั เอง เม่ือไหมขาดจะหารอยต่อไดง้ า่ ย ขณะทอจะ ทาใหร้ ู้ทนั ทีวา่ ทอไปเป็นความยาวเท่าไรแลว้ โดยการนบั ทางมะพร้าว 4.9 การทอ การทอน้นั เป็นข้นั ตอนสุดทา้ ยของผา้ ไหมยกดอก ผทู้ ่ีรับไปทอทอส่วน ใหญจ่ ะเป็นผหู้ ญิงและเด็ก ผทู้ ี่มีความคุน้ เคยกบั ลายกส็ ามารถทอไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว การทอ น้นั ผทู้ ี่คดั ลายจะเป็นผกู้ าหนดใหผ้ ทู้ อวา่ ใหท้ ออยา่ งไร ลกั ษณะใด ท้งั น้ีเพราะผทู้ อไม่ สามารถทราบไดว้ า่ ผา้ ไหมยกดอกท่ีตนเองเป็นผทู้ อน้นั มีลวดลายออกมาเป็นอยา่ งไร ยกเวน้ ผทู้ อเป็นผคู้ ดั ลายและด้นั ดอกเองเทา่ น้นั การทอผา้ ไหมยกดอกนิยมทอดว้ ยกี่ พ้นื เมือง ซ่ึงเป็นการอนุรักษศ์ ิลปะพ้นื บา้ นอยา่ งหน่ึง การทอดว้ ยก่ีพ้นื เมืองน้ีถา้ ดึงเส้น ไหมใหพ้ อดี ไม่ตึงเกินไปเน้ือผา้ ท่ีทอออกมาจะมีความหนาแน่น สม่าเสมอ มีความ สวยงาม ทนทาน และมีคุณค่าทางศิลปะมากกวา่ การทอดว้ ยเครื่องจกั ร ซ่ึงจะดึงเส้น
ไหมใหต้ ึงเกินไป ทาให้เน้ือผา้ มีความหนาแน่นสม่าเสมอ ราบเรียบและขาดคณุ คา่ ทาง ศิลปะไป 5.ลวดลายผ้าไหมยกดอก ผา้ ยก หมายถึง ผา้ ไหมท่ีทอยกลวดลายใหน้ ูนสูงข้ึนกวา่ ผนื ผา้ โดยเลือก ยกบางเสน้ และข่ม บางเสน้ แลว้ พุง่ กระสวยไปในระหวา่ งกลางดว้ ยด้ินเงินหรือดิ้นทอง ซ่ึงเทคนิคในการทอยกใหเ้ กิด ลวดลายน้ีเรียกวา่ เทคนิคการยกดอก ผา้ ยกเป็นผา้ โบราณท่ีอดีตใชใ้ นคมุ้ เจา้ หรือในพระราชสานกั เทา่ น้นั ผา้ ไหมยกดอก มีความหมายเดียวกบั ผา้ ยกต่างกนั ท่ีการใชไ้ หมพุง่ อาจจะใชเ้ ส้นไหมสีต่างๆ แทนเส้นดิ้น ในการทอผา้ คาวา่ ยกดอก น้นั เพ่อื บง่ บอกถึงเทคนิคที่ใชท้ อผา้ และบ่งบอกถึงลวดลายท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ ของจงั หวดั ลาพูนที่เป็นลวดลายดอกไม้ เช่น ลายดอกพกิ ุล ดงั น้นั จึงเรียกวา่ ผา้ ไหมยกดอก หรือ ผา้ ไหม ยกดอกลาพนู การประดิษฐ์ลวดลายน้นั ผา้ ยกลาพูนนบั วา่ เป็นศิลปะการทอผา้ ที่มีลวดลายงดงามมี เอกลกั ษณ์เป็นของตนเอง มีรูปแบบลวดลายที่อ่อนชอ้ ยงดงามของธรรมชาติ เป็นเร่ืองราวของดอกไม้ ใบไม้ เช่นลายดอกพิกลุ ลายกลีบลาดวน ลายใบเทศ ลายเมด็ มะยม และลายพุม่ ขา้ วบิณฑ์นอกจากน้ียงั นา ลวดลายธรรมชาติเหล่าน้ีมาประยกุ ตใ์ หเ้ ขา้ กบั ลายไทยต่างๆ ตามความคดิ ของผอู้ อกแบบ สาหรับลวดลาย ที่เป็นลายด้งั เดิมและยงั นิยมในปัจจุบนั คือลายดอกพกิ ุลหรือดอกแกว้ ซ่ึงเร่ิมแรกในสมยั โบราณไม่มีการ บนั ทึกลวดลายเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ตอ้ งจดจาลวดลายไวใ้ นหวั สมอง ถา้ ความจาลบเลือนหรือเสียชีวิตไป ลวดลายที่จดจาไวน้ ้นั กจ็ ะสูญหายไปดว้ ย ทาใหล้ ายผา้ โบราณหายไปมากเพราะ ไม่ไดล้ อกลายไว้ เวลา ผา่ นไปเจา้ พงศแ์ กว้ ณ ลาพูน สมรสกบั โอรสเจา้ ผคู้ รองนครลาพูนไดร้ ับการถา่ ยทอดวิชาทอผา้ ดว้ ย และมี
ความสามารถในการเรียนรู้ลายผา้ ยกโบราณท่ีสวยงามของคมุ้ ลาพูน จึงไดเ้ ริ่ม เกบ็ ลวดลายไวโ้ ดยบนั ทึก ไวใ้ นกระดาษกราฟเพ่ือเป็นตน้ แบบและป้องกนั การสูญหาย ลายพกิ ุลก้านแย่ง ลวดลายที่เป็นลายเอกลกั ษณ์ของลาพนู คอื ลายดอกพกิ ุลจึงเรียกวา่ ผา้ ไหมยกดอก หรือ ผา้ ไหม ยกดอกลาพนู รวมท้งั ลวดลายรูปสัตว์ เช่น ลายชา้ ง ลายมา้ นิยมนาไปทาเป็นถุงยา่ มและผา้ ห่อเคร่ืองธรรม ผา้ ห่อพระไตรปิ ฎกต่อมาไดม้ ีการประดิษฐ์ลวดลายดอกพิกุลใหม้ ีความหลากหลายข้นึ เช่น พกิ ุลกลม พิกุลสมเด็จ พกิ ุลใหญ่ พิกลุ ถมเกสร พกิ ุลเครือ พกิ ลุ เชิงใหญ่ พกิ ุลมีขอบ พิกลุ กา้ นแยง่ ลายพกิ ลุ ลาพนู ลายพกิ ุลกลมและพกิ ุลสมเด็จ
ลายพกิ ลุ ใหญ่ ลายพกิ ุลเลก็ ลายมะลวิ ัลย์
6.ผ้าไหมยกดอกลาพนู จากราชสานกั สู่สินค้า GI และชุดผ้าไหม Lisa BLACKPINK ความงดงามของงานฝีมือไทยหลายประเภทรวมท้งั งานหตั ถกรรมพ้นื บา้ นไทย ผา้ ไหมยก ดอกลาพูน ปรากฏสู่สายตาผคู้ นทว่ั โลกไม่ต่ากวา่ 220 ลา้ นคร้ังแลว้ ภายในเวลา 20 วนั หลงั มิวสิควิดีโอ เพลงเด่ียวเพลงแรก LALISA ของ ลิซ่า แบลก็ พิงค์ (Lisa Blackpink) หรือ ลลิษา มโนบาล เด็กไทยมาก ความสามารถหน่ึงในสมาชิก BLACKPINK วงเกิร์ลกรุ๊ปแห่งเกาหลีใต้ ไดร้ ับการปล่อยพร้อมกนั ทว่ั โลก คร้ังแรกเมื่อวนั ท่ี 10 กนั ยายน 2564 เวลา 11.00 น. ตามเวลาประเทศไทยเนื่องจากเครื่องแตง่ กายชุดหน่ึง คลา้ ยการห่มสไบท่ีปรากฏในมิวสิควดิ ีโอ เป็นผลงานการออกแบบของนกั ออกแบบชาวไทย หมู- พลพฒั น์ อศั วะประภา ดีไซเนอร์เจา้ ของแบรนด์ ASAVA (อาซาวา่ ) ผเู้ ลือก ผา้ ไหมยกดอกลาพูน มาตดั เยบ็ สาหรับโปรเจคพิเศษคร้ังน้ี
บทที่5 บทสรุป 1.สรุปผลการศึกษา จากการทาโครงงานเร่ืองน้ีโดยคณะผทู้ ่ีศึกษาพบวา่ ผา้ ไหมยกดอกลาพนู เป็นงาน ศิลปหตั ถกรรมที่มีความสาคญั ต่อคนลาพนู ผา้ นอกจากใชเ้ ป็นเครื่องนุ่งห่มแลว้ ยงั ใชใ้ นงานแตง่ งาน ตกแตง่ ห้องหอ ใชป้ ระดบั ตกแต่ง และใชส้ มนาคุณญาติผใู้ หญ่ คนลาพนู มีการทอผา้ ใชเ้ องมาแต่อดีตอนั ยาวนานโดยเฉพาะการทอผา้ ที่เป็นเอกลกั ษณ์ของชนชาวยองไทล้ือท่ีอพยพมาจากเมืองยอง ในประเทศ พมา่ ในกล่มุ ชนช้นั สูงที่วตั ถุดิบเป็นเสน้ ไหมมากกวา่ เส้นฝ้าย กาลเวลาลว่ งเลยผา่ นมานบั ร้อยปี การทอผา้ ไหมและผา้ ฝ้ายยงั มีการประยกุ ตใ์ ชก้ นั อยแู่ ต่เป็นการทอเป็นลวดลายไม่วจิ ิตรนกั จนกระทง่ั พระราชชายา เจา้ ดารารัศมีทรงไดน้ าความรู้ที่เรียนรู้มาจากราชสานกั ส่วนกลางขณะประทบั ณ วงั หลวงในกรุงเทพฯ มา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประดิษฐ์ลวดลาย และไดฝ้ ึกหดั คนในคุม้ เชียงใหม่ใหท้ อผา้ ยกเนื่องดว้ ยทรงเป็นพระ ญาติกบั เจา้ เมืองลาพนู จึงทรงถา่ ยทอดความรู้เรื่องการทอผา้ ยกใหแ้ ก่เจา้ หญิงส่วนบุญพระองคจ์ ึงไดน้ า ความรู้การทอผา้ ยกมาฝึกคนในคุม้ หลวงลาพนู และชาวบา้ นไดเ้ รียนรู้การทอผา้ ยกจากคนในคมุ้ จนมี ความชานาญและมีการเผยแพร่ทวั่ ไปในชุมชนต่างๆ โดยไดม้ ีการฝึกหดั ชาวบา้ นในบริเวณใกลเ้ คยี งจนมี ความรู้เร่ืองการทอผา้ ไหมยกดอกเป็นอยา่ งดี ทรงฟ้ื นฟูผา้ ไหมยกดอกลาพนู โดยทรงดดั แปลงใหผ้ า้ ไหมมี ความวิจิตรสวยงามยงิ่ ข้นึ ผา้ ยกดอกลาพูนนบั วา่ เป็นศิลปะการทอผา้ ท่ีมีลวดลายงดงามมีเอกลกั ษณ์เป็นของตนเอง มี รูปแบบลวดลายที่อ่อนชอ้ ยงดงามของธรรมชาติ เป็นเร่ืองราวของดอกไม้ ใบไมล้ วดลายที่เป็นลาย เอกลกั ษณ์ของลาพนู คอื ลายดอกพิกลุ จึงเรียกวา่ ผา้ ไหมยกดอกลาพูน รวมท้งั ลวดลายรูปสตั ว์ เช่น ลาย ชา้ ง ลายมา้ นิยมนาไปทาเป็นถุงยา่ มและผา้ ห่อเครื่องธรรม ผา้ ห่อพระไตรปิ ฎกต่อมาไดม้ ีการประดิษฐ์ ลวดลายดอกพิกลุ ใหม้ ีความหลากหลายข้นึ เช่น พกิ ุลกลม พกิ ลุ สมเดจ็ พิกุลใหญ่ พกิ ลุ ถมเกสร พกิ ุลเครือ พิกลุ เชิงใหญ่ พิกลุ มีขอบ พิกลุ กา้ นแยง่ 2.ข้อเสนอแนะ จากการทาโครงงานเร่ืองการทอผา้ ไหมยกดอกลาพนู สิ่งที่น่าศึกษาเพ่ิมเติม - การทอผา้ ฝ้ายของอาเภอป่ าซาง - การทอผา้ กะเหรี่ยงแม่ขนาดอาเภอแม่ทา
บรรณานุกรม สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เลม่ ที่ 15 โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั สานกั พิมพ์ : โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระ เจา้ อยหู่ วั ปี ท่ีพิมพ์ : 2006 โดย กาธน สินธวานนท์ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เลม่ ที่ 21 โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั สานกั พมิ พ์ : โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระ เจา้ อยหู่ วั ปี ท่ีพมิ พ์ : 2539 โดย สาวิตรี สุวรรณสถิต หนงั สือประวตั ิศาสตร์ไทย ม.4-ม.6 พิมพค์ ร้ังที่ 5 สานกั พมิ พ์ : บริษทั ไทยร่มเกลา้ จากดั https://sites.google.com/site/xnurakmaithai/prawatiphahimthiy?fbclid http://aboutliving.asia/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0% B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0% B8%96%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0% B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B7/?fbclid https://qsds.go.th/silkcotton/k_20.php?fbclid https://mgronline.com/travel/detail/9640000090992?fbclid https://www.lamphun.go.th/th/information/aboutus/9/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0 %B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0 %B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0 %B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0 %B8%A5%E0%B8%B3%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%99?fbclid=IwAR24XY7qOAGZWgq gYlOAvKAwevCAhlPwVgAYlwFeEB2_sbTYq4KEfT0ynpc
ภาคผนวก
เค้าโครงโครงงาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: