รายงานโครงงานวิชาประวตั ศิ าสตร์ เรื่อง ภาษาเขียนของม้ง รายงานนเี้ ป็ นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหสั ส 32104 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที5่ ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จงั หวดั ลาพูน
รายงานโครงงานวชิ าประวตั ิศาสตร์ เร่ือง ภาษาเขียนของม้ง โดย 1. นาย กนกพล แสงท้าว เลขที่ 3 ช้ัน ม.5/2 2. นางสาว ญาณนิ วนาคงประสงค์ เลขท่ี 12 ช้ัน ม.5/2 3. นางสาว รัชนีวรรณ วงค์ษา เลขที่ 14 ช้ัน ม.5/2 4. นาย จริ เวช แซ่ท้าว เลขที่ 26 ช้ัน ม.5/2 คุณครูทปี่ รึกษาโครงงาน 1.นาย พรี วุฒิ วงค์ตนั กาศ 2. นาย ภุมริน ยมหา เสนอ ครูพรี วุฒิ วงค์ตนั กาศ รายงานนเี้ ป็ นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาวชิ าประวตั ิศาสตร์ รหัส ส 32104 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จังหวดั ลาพูน สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ก บทคดั ย่อ บทคดั ยอ่ ช่ือโครงงาน ภาษาเขียนของมง้ ช่ือผเู้ ขียน นายกนกพล แสงทา้ ว นางสาวญาณิน วนาคงประสงค์ นางสาวรัชนีวรรณ วงคษ์ า นายจิรเวช แสงทา้ ว อาจารยท์ ี่ปรึกษา ครู พีรวฒุ ิ วงตนั กาศ ปี การศึกษา 2564 โครงงานเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชาประวตั ิศาสตร์ เป็นกิจกรรมคน้ ควา้ ตนเอง โดยมี จุดประสงคเ์ พื่อการศึกษาความรู้ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ความเป็นมาการเขียนภาษามง้ ดว้ ย ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษและวิธีการอา่ นภาษามง้ ดว้ ยตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ ภาษามง้ อยใู่ นตระกูลเหมียว-เหยา หรือมง้ -เม่ียน ใชก้ นั ในชาวมง้ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และ บางส่วนของจีนจดั เป็นภาษาคาโดด โดยหน่ึงคามีเสียงพยญั ชนะตน้ สระ และวรรณยกุ ต์ ไม่มีเสียง ตวั สะกด มีวรรณยกุ ตส์ นธิหรือการผสมกนั ของเสียงวรรณยกุ ตเ์ ม่ือนาคามาเรียงตอ่ กนั เป็นประโยค
ข กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานน้ีสาเร็จลุล่วงไดด้ ว้ ยความกรุณาเอาใจใส่ใหค้ าปรึกษาคาแนะนา จากอาจารย์ พรี ะวฒุ ิ วงศต์ นั กาศ อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงาน ซ่ึงใหค้ าแนะนาอยา่ งมีคา่ ยง่ิ ต่อการทาโครงงานในคร้ังน้ี พร้อมท้งั คอยใหก้ าลงั ใจและช่วยเหลือดว้ ยดีตลอดมา ผจู้ ดั ทาขอกราบขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูง ขอกราบขอบพระคณุ ครูมลวิภา ชนะทิพย์ ที่ไดใ้ หค้ วามอนุเคราะหใ์ นการใหข้ อ้ มลู และให้ ศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ในหอ้ งสมดุ และไดใ้ หข้ อ้ แนะนาเก่ียวกบั หนงั สือท่ีเก่ียวขอ้ งกบั โครงงานในคร้ังน้ี และ สาหรับการทาโครงงานใหม้ ีความถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ ผจู้ ดั ทาขอกราบพระคุณในความกรุณาเป็นอยา่ งยง่ิ ขอกราบขอบพระคุณครูภูมริน ยมหาไดใ้ หค้ วามอนุเคราะห์ในการใชห้ อ้ งคอมพิวเตอร์ในการ จดั ทาโครงงานและใหศ้ ึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลทางอินเทอร์เน็ต ที่เกี่ยวขอ้ งกบั โครงงานในคร้ังน้ี ผจู้ ดั ทาขอ กราบพระคณุ ในความกรุณาเป็นอยา่ งยงิ่ สุดทา้ ยน้ี ขอกราบขอบพระคณุ คุณครู เป็นกาลงั ใจใหโ้ อกาสทางการศึกษาแก่ผจู้ ดั ทาเสมอมา คณุ ประโยชน์จากการทาโครงงานเล่มน้ี ตลอดจนผมู้ ีพระคุณทุกทา่ นท่ีไดอ้ บรมสั่งสอนและช้ีแนะแนวทาง แก่ผจู้ ดั ทาเสมอมา ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ โครงงานฉบบั น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อครูผูส้ อน ตลอดจนผทู้ ่ี สนใจโดยทวั่ ไป จดั ทาโดย นายกนกพล แสงทา้ ว นางสาวญาณิน วนาคงประสงค์ นางสาวรัชนีวรรณ วงคษ์ า นายจิรเวช แสงทา้ ว
ค คานา รายงานโครงงานเลม่ น้ีจดั ทาข้ึนเพื่อเป็นส่วนหน่ึงของวิชา ประวตั ิศาสตร์ รหสั วชิ า ส 32103 เพื่อไดศ้ ึกษาหาความรู้ในเร่ืองของภาษาเขยี นของมง้ โดยไดศ้ ึกษาผา่ นแหล่งความรู้ต่างๆ อาทิเช่น หนงั สือ หอ้ งสมุด และแหล่งความรู้จากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ โดยรายงานโครงงานเลม่ น้ีมีเน้ือหาเกี่ยวกบั ท่ีมาและ ความสาคญั ของภาษามง้ ลกั ษณะการเขยี นของมง้ และวิธีการอ่าน พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ วธิ ีการเขยี น วธิ ีการอ่านภาษาเขียนของมง้ อวยั วะ สี และคาอา่ นอ่ืนๆท่ีใชบ้ ่อย ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ การจดั ทารายงานโครงงานเลม่ น้ีจะมีขอ้ มลู ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ผทู้ ี่ สนใจศึกษาภาษาเขียนของมง้ เป็นอยา่ งดี หากผจู้ ดั ทาไดท้ าผดิ พลาดประการใด กข็ อนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา
ง สารบัญ หน้า เรื่อง ก บทคัดย่อ ข กติ ตกิ รรมประกาศ ค คานา ง สารบญั 1 1-3 บทที่ 1 บทนา - ท่ีมาและความสาคญั 4 - วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน 5 5-7 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง 8-9 - เรื่องท่ี 1 ภาษาองั กฤษ 10-14 - เรื่องท่ี 2 ภาษาราชการ 15 - เร่ืองที่ 3 ภาษาของแต่ละภาค 16 - เรื่องที่ 4 ภาษาของแต่ละภาค 17 - ตารางการดาเนินงาน 17 17 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินการโครงงาน 18 1. กาหนดหวั ขอ้ เรื่องที่จะศึกษา 18 2.สืบคน้ และรวบรวมมลู 3.ประเมินคุณคา่ ของหลกั ฐาน 4.นาขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ สังเคราะหแ์ ละจดั หมวดหมู่
5. เรียบเรียงและนาเสนอ 18-19 บทที่ 4 ผลการดาเนินงานโครงงาน 20 - ท่ีมาและความสาคญั ของภาษามง้ 20-21 - ภาษาเขยี นของมง้ 21-29 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ สรุป 30 ขอ้ เสนอแนะ 30 บรรณานุกรม 30 ภาคผนวก 31 - เคา้ โครง โครงงาน 32 - เคา้ โครง โครงงาน จ ฉ
1 บทที่ 1 บทนา ทีม่ าและความสาคญั อริสโตเติ้ล นกั ปราชญผ์ ยู้ ง่ิ ใหญ่ของกรีกไดก้ ล่าวไวว้ า่ \"มนุษยเ์ ป็นสตั วส์ ังคม (Human being is social animal)\" เพราะมนุษยม์ ีการอาศยั อยรู่ ่วมกนั อยา่ งเป็นหมวดหมู่ มิไดใ้ ชช้ ีวติ อยเู่ พยี งคนเดียวตาม ลาพงั แต่อยา่ งใดและมีภาษาเพ่อื ใชใ้ นการสื่อสารสทนากนั เน่ืองจากมนุษยต์ อ้ งทากิจกรรมร่วมกนั อยู่ ตลอดเวลา ตอ้ งพงึ พาอาศยั ซ่ึงกนั และกนั และแตล่ ะชีวติ ต่างก็ตอ้ งการที่จะเสริมสร้างความสุข ความมน่ั ใจ และความปลอดภยั ใหก้ บั ตนเองอยเู่ สมอ สังคมจึงเป็นแหลง่ รวมศนู ยท์ างความคดิ ที่มนุษยไ์ ดส้ ร้างข้นึ มา เพ่อื แสวงหาคาตอบทุกๆอยา่ งใหก้ บั ตนเอง การส่ือสาร หมายถึง วิธีการตา่ ง ๆ ในการติดตอ่ ระหวา่ งมนุษย์ ซ่ึงทาใหอ้ ีกฝ่ายหน่ึงรับรู้ ความหมายของอีกฝ่ายหน่ึง หรือกระบวนการของมนุษยใ์ นการแลกเปล่ียนความรู้ ความรู้สึกนึกคดิ ความ ตอ้ งการ ทศั นคติ และประสบการณ์ซ่ึงกนั และกนั ภาษา หมายถึง คาพดู หรือถ้อยคา ภาษาเป็นเครื่องมือ ของมนุษยท์ ่ีใชใ้ นการสื่อความหมายใหส้ ามารถติดต่อส่ือสาร เขา้ ใจกนั ได้ โดยมีระเบียบของเสียงและเรื่อง ของคาเป็ นเครื่ องกาหนด ในพจนาณุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถานพ.ศ. 2525 ใหค้ วามหมายของคาวา่ ภาษาคือเสียงหรือ กิริยาอาการท่ีทาความเขา้ ใจกนั ได้ คาพูด ถอ้ ยคาที่ใชพ้ ดู จากนั ภาษาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ วจั นภาษา และ อวจั นภาษาวจั นภาษา เป็นภาษาที่พดู โดยใชเ้ สียงท่ีเป็นถอ้ ยคา สร้างความเขา้ ใจกนั มีระเบียบ ในการใชถ้ อ้ ยคาในการพูด นอกจากน้นั ยงั เป็นหนงั สือท่ีใชแ้ ทนคาพูด คาท่ีใชเ้ ขยี นจะเป็นคาที่เลือกสรร แลว้ มีระเบียบในการใชถ้ อ้ ยคาในการเขียนและการพูดตามหลกั ภาษา อวจั นภาษา เป็นภาษาที่ใชส้ ่ิงอื่น นอกเหนือจางคาพดู และตวั หนงั สือในการส่ือสารเพือ่ ทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจ ภาษาท่ีไม่เป็นถอ้ ยคาไดแ้ ก่ ท่าทางการแสดงออก การใชม้ ือใชแ้ ขนประกอบการพดู หรือสญั ลกั ษณ์ตา่ งๆที่ใชใ้ นการสื่อสารสร้างความ เขา้ ใจ เช่น สัญญานไฟจราจร สญั ญานธง เป็นตน้ ภาษามีความสาคญั ต่อมนุษยม์ าก เพราะนอกจากจะเป็น เครื่องมือในการสื่อสารแลว้ ยงั เป็นเครื่องมือแห่งการเรียนรู้และการพฒั นาความคิดของมนุษยแ์ ละเป็น
2 เคร่ืองมือถา่ ยทอดวฒั นธรรมและการประกอบอาชีพ และที่สาคญั ก็คอื ภาษาช่วยสร้างเสริมความสามคั คี ของคนในชาติอีกดว้ ย เพราะภาษาเป็นถอ้ ยคาที่ใชใ้ นการส่ือสารสร้างความเขา้ ใจกนั ในสังคม วิวฒั นาการของภาษาราว พ.ศ. 400 ไทยไดอ้ พยพจากถ่ินเดิมมาต้งั ภมู ิลาเนาอยใู่ กลอ้ าณาเขต มอญ ซ่ึงกาลงั เป็นชาติที่เจริญรุ่งเรืองในสมยั น้นั เริ่มแรกคงเริ่มเลียนแบบตวั อกั ษรมาจากมอญ ต่อมาราว พ.ศ. 1500 เมื่อขอมขยายอานาจเขา้ มาในดินแดนของคนไทยซ่ึงต้งั อยบู่ ริเวณริมแม่น้ายม และไดป้ กครอง เมืองเชรียงและเมืองสุโขทยั ไทยกเ็ ร่ิมดดั แปลงอกั ษรท่ีมีอยเู่ ดิมใหค้ ลา้ ยกบั อกั ษรขอมหวดั ภาษาไทยมี วิวฒั นาการเป็น 2 สมยั คอื ภาษาไทยแท้ หรือภาษาไทยด้งั เดิม และภาษาไทยปัจจุบนั หรือภาษาไทยประสม ภาษาไทยแท้ หรือภาษาไทยด้งั เดิม เป็นภาษาไทยก่อน อพยพเขา้ มาอยใู่ นสุวรรณภูมิ หรือ แหลมทอง ภาษาไทยปัจจุบนั หรือ ภาษาไทยประสม คือ ภาษาไทยนบั ต้งั แต่เขา้ มาต้งั ถ่ินฐานในสุวรรณภูมิแลว้ ในประเทศไทยมีการประดิษฐ์อกั ษรไทยโดยพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ลายสือ ไทยหรือตวั หนงั สือไทยข้ึนเม่ือมหาศกั ราช 1205 (พุทธศกั ราช 1826) นบั มาถึงพทุ ธศกั ราช 2526 ได้ 700 ปี พอดี ในระยะเวลาดงั กล่าว ชาติไทยไดส้ ะสมความรู้ท้งั ทางศิลปะ วฒั นธรรม และวชิ าการตา่ ง ๆ และได้ ถา่ ยทอดความรู้เหล่าน้นั สืบต่อกนั มา โดยอาศยั ลายสือไทยของพรองคท์ ่านเป็นส่วนใหญ่ ก่อนสมยั สุโขทยั ชาติไทยเคยรุ่งเรืองอยทู่ ่ีไหนอยา่ งไร ไมม่ ีหลกั ฐานยนื ยนั ใหท้ ราบแน่ชดั แต่เม่ือพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงประดิษฐ์ลายสือไทยข้นึ แลว้ มีศิลาจารึกและพงศาวดารเหลืออยู่เป็นหลกั ฐานยนื ยนั วา่ ชาติไทยเคย รุ่งเรืองมาอยา่ งไรบา้ ในยคุ สุโขทยั อยธุ ยา ธนบรุ ี และรัตนโกสินทร์ ในโอกาสครบรอบ 700 ปี น้ี คนไทยทกุ คนจึงควรนอ้ มราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และพระปรีชาสามารถของพระองคท์ ่านโดยพร้อมเพรียงกนั อกั ษรไทยมีการปรับปรุงอยเู่ รื่อยๆ ในสมยั พญาฦๅไทราว พ.ศ. 1900 มีการแกไ้ ขตวั อกั ษรให้ ผิดเพ้ียนไปบา้ งเลก็ นอ้ ย โดยเฉพาะการเพิม่ เชิงท่ีตวั ญ ซ่ึงใชต้ ิดต่อเร่ือยมาจนทกุ วนั น้ี คาดวา่ น่าจะเอาอยา่ ง มาจากเขมร ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ราว พ.ศ. 2223 ตวั อกั ษรเร่ิมมีทรวดทรงดีข้นึ แต่กไ็ ม่ทิง้ เคา้ เดิม มีบางตวั เท่าน้นั ที่แกไ้ ขผิดไปจากเดิม คือตวั ฎ และ ธ ซ่ึงเหมือนกบั ที่ใชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั นกั วิชาการ จานวนหน่ึงเชื่อวา่ ในสมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตวั หนงั สือของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราชแพร่หลายเขา้ ไปในลา้ นนา ดงั ปรากฏในศิลาจารึก หลกั ท่ี 62 วดั พระยนื วา่ พระมหาสุมนเถรนาศาสนาพุทธนิกายรามญั วงศ์ หรือนิกายลงั กาวงศเ์ ก่าเขา้ ไปใน ลา้ นนา เม่ือ พ.ศ. 1912 และไดเ้ ขยี นจารึกดว้ ยตวั หนงั สือสุโขทยั ไวเ้ ม่ือ พ.ศ. 1914 ตอ่ มาตวั หนงั สือสุโขทยั
3 น้ีไดเ้ ปลี่ยนรูปร่าง และอกั ขรวธิ ีไปบา้ งกลายเป็นตวั หนงั สือฝักขาม และลา้ นนายงั ใชต้ วั หนงั สือชนิดน้ีมา จนถึงสมยั ตน้ กรุงรัตนโกสินทร์ ในภาคเหนือมีการใชภ้ าษาลา้ นนาในการสนทนาและยงั ภาคเหนือยงั มีกลุ่มชาติพนั ธท์ ี่ หลากหลายมีจานวน 13 กลุม่ ไดแ้ ก่ กะเหร่ียง มง้ หรือแมว้ เยา้ หรือเมี่ยน ลีซู หรือลีซอ ลาหู่ หรือมูเซอ อา ขา่ หรืออีกอ้ ลวั ะ ถ่ิน ขมุ จีนฮ่อ ตองซู คะฉ่ิน และปะหล่อง หรือดาราอ้งั มีภาษาการส่ือสารที่ไม่เหมือนกนั ภาษาลา้ นนา หมายรวมถึง ภาษาเขียน หรือตวั๋ เมือง และภาษาพูด หรือกาเมือง นอกจากจะใชใ้ น 8 จงั หวดั ภาคเหนือแลว้ ยงั มีผใู้ ชภ้ าษาลา้ นนาในบางทอ้ งที่ของจงั หวดั อุตรดิตถ์ ตาก สุโขทยั สระบรุ ี ในประเทศ เพ่ือนบา้ น เช่น นครเชียงตงุ ในประเทศเมียนมา่ ร์ สิบสองปันนา ในประเทศจีน และอีกหลายแห่งใน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แมจ้ ะมีสาเนียงพูดผดิ เพ้ียนกนั ไปบา้ ง ตวั อกั ษรแตกตา่ งกนั ไปบา้ ง เลก็ นอ้ ย แตก่ ็สามารถสื่อสารกนั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี โดยเฉพาะภาษาเขยี นที่ใชใ้ นนครเชียงตุง ท่ีเรียกว่า ตวั๋ ขึน ท้งั ลกั ษณะของตวั อกั ษร และอกั ขรวิธีเหมือนกบั ตว๋ั เมือง ท่ีใชใ้ นภาคเหนือของไทย อกั ษรลา้ นนา หรือตวั๋ เมือง ถือไดว้ า่ เป็นอกั ษรแห่งภาษาแม่ของชาวลา้ นนา มง้ เป็นหน่ึงในกลุม่ ชาติพนั ธท์ ี่มีลกั ษณะภาษาการสื่อสารท่ีต่างจากกลุ่มอื่น และมีการเขียน อกั ษรท่ีไดย้ มื ตวั อกั ษรภาษาโรมนั มาใชภ้ าษามง้ อยใู่ นตระกูลเหมียว-เหยา หรือมง้ -เม่ียน ใชก้ นั ในชาวมง้ ใน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และ บางส่วนของจีนจดั เป็นภาษาคาโดด โดยหน่ึงคามีเสียงพยญั ชนะตน้ สระ และ วรรณยกุ ต์ ไม่มีเสียงตวั สะกด มีวรรณยกุ ตส์ นธิหรือการผสมกนั ของเสียงวรรณยกุ ตเ์ มื่อนาคามาเรียงต่อกนั เป็นประโยค ในประเทศไทยแบง่ เป็น 2 กลมุ่ คอื 1.ภาษามง้ เขยี ว หรือ มง้ จวั๊ (Hmong Njua) ภาษามง้ ขาว หรือ มง้ เด๊อ (Hmong Daw) ในภาษามง้ มีท้งั หมด 57 ตวั แยกเป็น พยญั ชนะตวั เดียว พยญั ชนะควบกล้า 2 ตวั พยญั ชนะควบกล้า 3 ตวั และพยญั ชนะควบกล้า 4 ตวั วรรณยกุ ตข์ องมง้ มีท้งั หมด 7 รูป 8 เสียง สระมี 14 ตวั ส่วนวธิ ีเขยี นภาษามง้ ดว้ ยอกั ษรมง้ เขียนจากซา้ ยไปขวา แตอ่ กั ขรวธิ ีต่างจากภาษาอ่ืน ๆ คอื เขยี นสระข้ึน ก่อน เขยี นวรรณยกุ ต์ แลว้ จึงเขยี นพยญั ชนะตน้ ตามหลงั ถา้ ไมใ่ ส่พยญั ชนะตน้ จะถือวา่ สะกดดว้ ย k (ก) และตามปกติจะเวน้ วรรคทุกคาหรือพยางค์ นอกจากน้ี อกั ษรมง้ มีตวั เลขและเครื่องหมายวรรคตอนเป็นของ ตวั เองสระหน่ึงเสียงมีไดส้ องรูป ซ่ึงมีพ้ืนเสียงวรรณยกุ ตต์ ่างกนั การเติมเคร่ืองหมายเสริมบนสระจะทาให้ วรรณยกุ ตเ์ ปลี่ยนไป ในขณะที่พยญั ชนะหลายเสียงใชร้ ูปเดียวกนั การเติมเคร่ืองหมายเสริมบนพยญั ชนะจะ
4 ทาใหอ้ อกเสียงต่างกนั แต่หากพจิ ารณาพยญั ชนะและสระท้งั หมดที่เติมเคร่ืองหมายเสริม จะพบวา่ ไมไ่ ด้ เรียงลาดบั ตามฐานกรณ์แต่อยา่ งใด ผทู้ ่ีศึกษาหรือใชต้ อ้ งอาศยั ความจาเป็นหลกั ดงั น้นั กลุ่มของขา้ พเจา้ จึงตอ้ งการศึกษาภาษเขยี นของมง้ วัตถปุ ระสงค์ 1.ศึกษาการเขียนภาษามง้ ดว้ ยตวั องั ษรภาษาองั กฤษ 2.ศึกษาวธิ ีการอ่านภาษามง้ ดว้ ยตวั องั ษรภาษาองั กฤษ
5 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง จากการศึกษาโครงงานประวตั ิศาสตร์และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน เร่ือง ภาษเขียนของมง้ พบวา่ มี เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกบั โครงงานมี ดงั น้ี 1.ภาษาองั กฤษ 2.ภาษาราชการ 3.ภาษาของแตล่ ะภาค 4.ภาษาลา้ นนา โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1. ภาษาองั กฤษ 1.1 ความหมายของภาษาสากล เป็นภาษาในกล่มุ ภาษาเจอร์เมนิกตะวนั ตกที่ใชค้ ร้ังแรกใน องั กฤษสมยั ตน้ ยคุ กลาง และ ปัจจุบนั เป็นภาษาที่ใชก้ นั แพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมท้งั สหราช อาณาจกั ร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พดู ภาษาองั กฤษเป็นภาษาท่ีหน่ึง ภาษาองั กฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผพู้ ดู มากท่ีสุดเป็นอนั ดบั สามของโลก รองจาก ภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มกั มีผเู้ รียนภาษาองั กฤษเป็นภาษาท่ีสองอยา่ งกวา้ งขวาง และภาษาองั กฤษเป็น ภาษาราชการของสหภาพยโุ รป หลายประเทศเครือจกั รภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองคก์ าร ระดบั โลกหลายองคก์ ารภาษาองั กฤษเจริญข้นึ ในราชอาณาจกั รแองโกล-แซ็กซอนองั กฤษ และบริเวณ สกอตแลนด์ตะวนั ออกเฉียงใตใ้ นปัจจุบนั หลงั อิทธิพลอยา่ งกวา้ งขวางของบริเวณใหญ่และสหราชอาณาจกั ร ต้งั แตค่ ริสตศ์ ตวรรษท่ี 17 จนถึงกลางคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 ผา่ นจกั รวรรดิองั กฤษ และรวมสหรัฐอเมริกา ดว้ ย ต้งั แตก่ ลาคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 ภาษาองั กฤษไดแ้ พร่หลายทว่ั โลก กลายเป็นภาษาช้นั นาของวิจนิพนธ์ระหวา่ ง ประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภมู ิภาคในประวตั ิศาสตร์ ภาษาองั กฤษกาเนิดจากการรวมภาษาถ่ินหลาย ภาษาท่ีสมั พนั ธ์อยา่ งใกลช้ ิด ซ่ึงปัจจุบนั เรียกรวมวา่ ภาษาองั กฤษเก่า ซ่ึงผตู้ ้งั นิคมนามายงั ฝ่ังตะวนั ออกของบ ริเวนใหญ่เม่ือคริสตศ์ ตวรรษที่ 5 คาในภาษาองั กฤษจานวนมากสร้างข้ึนบนพ้ืนฐานรากศพั ทภ์ าษาละติน
6 เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจกั รและชีวิตปัญญาชนยุโรปภาษาองั กฤษยงั ไดร้ ับ อิทธิพลเพมิ่ จากภาษานอร์สเก่าเพราะการบกุ ครองของไวกิ้งในคริสตศ์ ตวรรษที่ 9 และ 10 การพชิ ิตองั กฤษ ของชาวนอร์มนั ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 11 ทาใหภ้ าษาองั กฤษยมื คามาจากภาษานอร์มนั อยา่ งมาก และสญั นิยม คาศพั ทแ์ ละการสะกดเริ่มใหล้ กั ษณะความสมั พนั ธ์ใกลช้ ิดกบั กลุ่มภาษาโรมานซ์ แก่ภาษาที่ต่อมากลายเป็น ภาษาองั กฤษกลาง การเลื่อนสระคร้ังใหญ่ (Great Vowel Shift) ซ่ึงเริ่มข้ึนทางตอนใตข้ ององั กฤษใน คริสตศ์ ตวรรษท่ี 15 เป็นหน่ึงในเหตกุ ารณ์ประวตั ิศาสตร์ซ่ึงเป็นเคร่ืองหมายของการกาเนิดของภาษาองั กฤษ ใหม่จากภาษาองั กฤษกลาง 1.2 ภาษาองั กฤษกบั การติดต่อสื่อสาร ภาษาองั กฤษถือเป็นภาษากลางท่ีใชใ้ นการติดต่อส่ือสารในระดบั โลก เป็นภาษาหลกั ของประชากรกวา่ 360 ลา้ นคน อีกท้งั ยงั เป็นภาษาที่สองของประชากรกวา่ 750 ลา้ นคนทว่ั โลก นอกจากน้ีภาษาองั กฤษยงั ถือเป็นภาษาทางราชการของ 61 ประเทศ และเป็นภาษาหลกั ในหลาย รัฐทว่ั โลก จึงถือเป็นภาษากลางท่ีใชต้ ิดต่อส่ือสารระหวา่ งประชากรในประเทศตา่ งๆ ท้งั ในส่วน ของการฟัง การพูด การอา่ น และการเขียน ทาใหส้ ่ือต่างๆ ที่เผยแพร่ในระดบั นานาชาติ จะใช้ ภาษาองั กฤษท้งั สิ้นจากเหตุผลดงั กล่าวขา้ งตน้ ภาษาองั กฤษถือเป็นภาษาท่ีสองที่มีบทบาท และ ความสาคญั เป็นอยา่ งยงิ่ ในการเรียนรู้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการส่ือสารระดบั ท่ีกวา้ งข้นึ หรือใน ระดบั นานาชาติอยา่ งมีประสิทธิภาพ 1.3 ภาษาองั กฤษกบั การศึกษา สาหรับดา้ นการศึกษา ถือเป็นดา้ นที่สาคญั อยา่ งมาก ไมแ่ พด้ า้ นการติดต่อสื่อสาร เพราะปัจจุบนั สถาบนั การศึกษา และมหาวิทยาลยั ในประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยเอง ได้ พยายามปรับปรุงหลกั สูตรการศึกษา ใหม้ ีความเป็นสากลมากยง่ิ ข้ึน ตวั อยา่ งเช่นหลกั สูตรที่เป็น ภาษาไทยเองมีการนาเอาความรู้ทางดา้ นภาษาองั กฤษเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชม้ ากข้นึ และมีการ จดั การเรียนการสอนในรูปแบบ English Program หรือ Mini English Program และนอกจากน้ี ทางกระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทย ยงั ไดส้ ่งเสริมใหน้ กั เรียนเริ่มเรียนภาษาองั กฤษต้งั แต่ ระดบั อนุบาล เพอ่ื เตรียมความพร้อม และใหต้ วั นกั เรียนไดม้ ีความคนุ้ เคยกบั ภาษาองั กฤษดีข้นึ เม่ือเขา้ เรียนในระดบั สูงดงั น้นั ภาษาองั กฤษจึงจะมีผลอยา่ งมากต่อการศึกษาต่อต่างประเทศ การ
7 เรียนในสถาบนั นานาชาติในประเทศไทย หรือในภาคส่วนของการศึกษาดา้ นการแพทย์ และ ดา้ น STEM คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (Science, Technology, Engineering, and Mathematics) เพราะขอ้ มูล หนงั สือ วารสาร และงานวจิ ยั ทาง วิชาการของสาขาเหล่าน้ีมกั จะเป็นภาษาองั กฤษแทบท้งั สิ้น เพ่อื ให้นกั วิชาการในระดบั นานาชาติอา่ นได้ และเป็นการง่ายในการนาไปตอ่ ยอดความรู้ในอนาคต นอกจากน้ีในทุกสาขา ของการเรียน ถา้ เขา้ ใจภาษาองั กฤษจะทาใหค้ ุณเขา้ ถึงสื่อการเรียนรู้ และเน้ือหาที่เป็นประโยชน์ ไดก้ วา้ งขวางมากข้นึ กวา่ คนที่รู้แคภ่ าษาไทยภาษาเดียวดงั น้นั จากเหตผุ ลท้งั หมดที่กล่าวขา้ งตน้ จึงเป็นผลใหภ้ าษาองั กฤษเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ทาใหส้ ามารถเขา้ เรียนในสถาบนั และ มหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ ไดห้ ลายท่ีทวั่ โลก อีกท้งั ยงั มีโอกาสท่ีจะไดร้ ับการตอบรับเขา้ ศึกษา และยงั มี โอกาสไดร้ ับทุนการศึกษามากกวา่ คนปรกติ เนื่องจากการสมคั รเขา้ ศึกษาตอ่ และสมคั ร ทุนการศึกษา มกั จะมีเงื่อนไขระดบั การรู้ภาษาองั กฤษเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งอยเู่ สมอ 1.4 ภาษาองั กฤษกบั ประเพณี เม่ือเรารู้ภาษาองั กฤษ จะทาใหเ้ ราเรียนรู้ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม การ แตง่ กาย การแสดงศิลปะ เศรษฐกิจ การเมือง และระบอบการปกครองของชาวตา่ งชาติไดด้ ี ยง่ิ ข้นึ ทาใหท้ ราบที่มาที่ไปของความเหมือน ความแตกต่าง รวมไปถึงแนวคิด ที่ทาใหค้ นแต่ละ ชาติแสดงพฤติกรรมที่แตกต่างกนั ภาษากบั วฒั นธรรม ยงั ทาใหเ้ ราเขา้ ใจความหมายของภาษา ทางกาย หรือทางสญั ลกั ษณ์ต่างๆ ดีข้ึน ทาใหเ้ ราแสดงกริยาทา่ ทาง หรือสัญลกั ษณ์ทางร่างกาย ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม เช่น การยกนิ้วอาจเป็นความหมายบวกสาหรับบางประเทศ แต่ อาจจะเป็นความหมายลบสาหรับบางประเทศ ดงั น้นั การใชภ้ าษาพูดจึงเป็นการส่ือความหมายท่ี ชดั เจนที่สุด ไมส่ ่งผลต่อการเหยยี ดเช้ือชาติ และนอกจากน้ีภาษากบั วฒั นธรรมยงั ทาใหเ้ ราเขา้ ใจ แนวคิดในการสร้างความสวยงามของงานศิลปะท่ีแตกตา่ งกนั ของแต่ละประเทศ เราสามารถ นาเอาสิ่งท่ีเป็นประโยชน์เหล่าน้นั มาสร้างงานศิลปะแบบผสมผสาน หรือนาวฒั นธรรมที่ดีงาม มาปรับใชก้ บั ประเทศเราได้ อีกท้งั เรายงั สามารถนาเสนอ หรือเผยแพร่วฒั นธรรมที่เป็น เอกลกั ษณ์ของประเทศไทย ออกไปสู่สากลไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
8 2.ภาษาราชการ ภาษาที่มีการกาหนดใหเ้ ป็นภาษาหลกั ในการติดต่อส่ือสารภายในประเทศและเขตแดนที่ติดตอ่ กบั ประเทศน้นั บางคร้ังภาษาทอ้ งถ่ินถูกเขา้ ใจผิดวา่ เป็นภาษาทางการเพราะมีการใชก้ ารติดต่อกบั ทางส่วน การปกครองของทอ้ งที่น้นั สาหรับประเทศไทยน้นั ใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน เป็น \"ภาษากลาง\" ท่ีไดพ้ ฒั นา รูปแบบข้นึ มาจากภาษาไทยถิ่นกลางมาโดยลาดบั 2.1 ภาษาไทย เป็นภาษาทางการของประเทศไทย และภาษาแม่ของชาวไทย และชนเช้ือสายอื่นใน ประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลมุ่ ภาษาไต ซ่ึงเป็นกลุม่ ยอ่ ยของตระกูลภาษาไท-กะได สนั นิษฐานวา่ ภาษาในตระกูลน้ีมีถ่ินกาเนิดจากทางตอนใตข้ องประเทศจีน และนกั ภาษาศาสตร์ บางท่านเสนอวา่ ภาษาไทยน่าจะมีความเช่ือมโยงกบั ตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูล ภาษาออสโตรนีเซียน ตระกลู ภาษาจีน-ทิเบตภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดบั เสียงของคาแน่นอน หรือวรรณยกุ ตเ์ ช่นเดียวกบั ภาษาจีน และออกเสียงแยกคาต่อคาเป็นท่ีลาบากของชาวตา่ งชาติ เน่ืองจาก การออกเสียงวรรณยกุ ตท์ ่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของแต่ละคาและ การสะกดคาที่ซบั ซอ้ น นอกจากภาษากลางแลว้ ในประเทศไทยมีการใช้ ภาษาไทยถิ่นอ่ืนดว้ ย 2.2 วิวฒั นาการของภาษาไทย ภาษาไทยมีววิ ฒั นาการเป็น 2 สมยั คือ ภาษาไทยแท้ หรือภาษาไทยด้งั เดิม และ ภาษาไทยปัจจุบนั หรือภาษาไทยประสม ภาษาไทยแท้ หรือ ภาษาไทยด้งั เดิม เป็นภาษาไทยก่อน อพยพเขา้ มาอยใู่ นสุวรรณภมู ิ หรือ แหลมทองภาษาไทยปัจจุบนั หรือ ภาษาไทยประสม คือ ภาษาไทยนบั ต้งั แต่เขา้ มาต้งั ถ่ินฐานในสุวรรณภูมิแลว้ 2.3 ลกั ษณะของภาษาไทย ภาษาไทยแทเ้ ป็นภาษาด้งั เดิมประจาชาติไทย นบั ถอยหลงั ต้งั แตม่ ีภมู ิลาเนาอยใู่ น ประเทศจีนปัจจุบนั ข้ึนไปเป็นภาษาในระยะที่ยงั ไมไ่ ด้ เกี่ยวขอ้ งกบั ชาติอื่นมากนกั ภาษาไทยมี ลกั ษณะดงั น้ี
9 1 คาส่วนมากเป็นคาโดด คือ คาพยางคเ์ ดียว เช่น พ่อ แม่ มือ แขน ชา้ ง มา้ ฯลฯ 2. ไม่คอ่ ยมีคาควบกล้า 3. คาขยาย อยขู่ า้ งหลงั คาที่ถูกขยาย เช่น บา้ นใหญ่ พดู มาก ดียง่ิ คาที่เขยี น ตวั หนาเป็นคาขยาย 4. ถา้ ตอ้ งการ สร้าง คาใหม่ ใชว้ ธิ ีรวมคามูลเขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือใหเ้ กิดคาประสมข้ึน เช่น โรงเรียน 5. ในการเขยี น ใชต้ วั สะกดตรงตามมาตราแม่ กก ใช้ ก สะกด แม่ กน ใช้ น สะกด แม่ กบ ใช้ บ สะกด เช่น นก กิน กบ 6. ในการเขยี น ไมใ่ ชต้ วั การันต์ คาทุกคาอา่ นออกเสียงไดห้ มดทกุ พยางค์ 7. ไม่มีหลกั ไวยกรณ์ คือ ระเบียบของภาษาแน่นอนเหมือนภาษาของบางชาติ เช่น บาลี สนั สกฤต และองั กฤษ เป็นตน้ กล่าวคอื ไมม่ ีระเบียบพิเศษเกี่ยวกบั พจน์ เพศ วิภตั ติ ปัจจยั อุปสรรค กาล มาลา วาจก 8. เป็นภาษามีเสียงดนตรี นิยมใชไ้ มว้ รรณยกุ ตก์ ากบั เสียง 2.4 ความสาคัญของภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใชใ้ นการสื่อสารของมนุษย์ มนุษยต์ ิดต่อกนั ได้ เขา้ ใจกนั ไดก้ ็ ดว้ ยอาศยั ภาษาเป็นเครื่องช่วยท่ีดีที่สุดภาษาเป็นส่ิงช่วยยดึ ใหม้ นุษยม์ ีความผกู พนั ต่อกนั เนื่องจาก แตล่ ะภาษาต่างก็มีระเบียบแบบแผนของตน ซ่ึงเป็นที่ตกลงกนั ในแต่ละชาติแต่ละกลมุ่ ชน การ พดู ภาษาเดียวกนั จึงเป็นส่ิงที่ทาใหค้ นรู้สึกวา่ เป็นพวกเดียวกนั มีความผกู พนั ต่อกนั ในฐานะท่ี เป็นชาติเดียวกนั ภาษาเป็นวฒั นธรรมอยา่ งหน่ึงของมนุษย์ และเป็นเคร่ืองแสดงให้เห็น วฒั นธรรมส่วนอื่นๆของมนุษยด์ ว้ ย เราจึงสามารถศึกษาวฒั นธรรมตลอดจนเอกลกั ษณ์ของชน ชาติตา่ งๆไดจ้ ากศึกษาภาษาของชนชาติน้นั ๆภาษาศาสตร์มีระบบกฎเกณฑ์ ผใู้ ชภ้ าษาตอ้ งรักษา กฎเกณฑใ์ นภาษาไวด้ ว้ ยอยา่ งไรกต็ าม กฎเกณฑใ์ นภาษาน้นั ไม่ตายตวั เหมือนกฎวทิ ยาศาสตร์ แตม่ ีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติของภาษา เพราะเป็นส่ิงท่ีมนุษยต์ ้งั ข้นึ จึงเปล่ียนแปลงไป ตามกาลสมยั ตามความเห็นชอบของส่วนรวมภาษาเป็นศิลปะมีความงดงามในกระบวนการใช้ ภาษา กระบวนการใชภ้ าษาน้นั มีระดบั และลีลา ข้นึ อยกู่ บั ปัจจยั ตา่ งๆหลายดา้ น เช่น บคุ คล กาลเทศ
10 3.ภาษาของแต่ละภาค 3.1 ภาษาภาคเหนือ คาเมือง หรือช่ืออยา่ งเป็นทางการวา่ ภาษาถ่ินภาคพายพั เป็นภาษาถ่ินของชาว ไทย วนทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซ่ึงเป็นอาณาจกั รลา้ นนาเดิม ไดแ้ ก่ เชียงใหม่, เชียงราย, อุตรดิตถ,์ แพร่, น่าน, แมฮ่ ่องสอน, ลาพนู ลาปาง, พะเยา และยงั มีการพูดและการผสม ภาษากนั ในบางพ้นื ที่ของจงั หวดั ตาก, สุโขทยั และเพชรบรู ณ์ ปัจจุบนั กลมุ่ คนไทยวนไดก้ ระจดั กระจายและมีถิ่นที่อยใู่ นจงั หวดั สระบรุ ี, จงั หวดั ราชบรุ ี และอาเภอของจงั หวดั อ่ืนที่ใกลเ้ คยี งกบั ราชบุรีอีกดว้ ยคาเมืองยงั สามารถแบ่งออกเป็นสาเนียงลา้ นนาตะวนั ตก หรือในจงั หวดั เชียงใหม่, ลาพูน และแมฮ่ ่องสอน และสาเนียงลา้ นนาตะวนั ออก หรือในจงั หวดั เชียงราย, พะเยา, ลาปาง, อตุ รดิตถ,์ แพร่ และน่าน ซ่ึงจะมีความแตกตา่ งกนั บา้ ง คือ สาเนียงลา้ นนาตะวนั ออกส่วนใหญจ่ ะ ไมพ่ บสระเอือะ เอือ แต่จะใชส้ ระเอียะ เอียแทน หรือมีเสียงเอือะและเอือเพยี งแตค่ นต่างถิ่นฟังไม่ ออกเอง เนื่องจากเสียงท่ีออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกลเ้ คยี งกบั เอียะ เอีย ส่วนคนในจงั หวดั ลาพูน มกั จะพดู สาเนียงเมืองยอง เพราะชาวลาพูนจานวนมากสืบเช้ือสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมี สาเนียงที่เป็นเอกลกั ษณ์คาเมืองมีไวยากรณ์คลา้ ยกบั ภาษาไทยกลางแต่ใชค้ าศพั ทไ์ มเ่ หมือนกนั และไวยากรณ์ท่ีแตกตา่ งกนั อยบู่ า้ ง แตเ่ ดิมใชค้ กู่ บั อกั ษรธรรมลา้ นนา ซ่ึงเป็นตวั อกั ษรของ อาณาจกั รลา้ นนาท่ีใชอ้ กั ษรมอญเป็นตน้ แบบ การพดู คาเมืองในสมยั ปัจจุบนั เป็นการพูดคาเมืองท่ีเป็นประโยคแบบดงั เดิมน้นั หา ยากอิทธิพลภาษาไทยภาคกลาง ท้งั ในสาเนียงและคาศพั ทส์ ่วนน้ีจะเป็นส่วนรวบรวม ประโยค กา เมือง ด้งั เดิมแลว้ เนื่องการรับ กิ๋นขา้ วแลว้ กา = ทานขา้ วแลว้ หรือยงั ยะอะหยงั๋ ก๋ินกา = ทาอะไรทานหรือ ไปตงั ใดมา = ไปไหนมา การพดู คาเมืองผสมกบั ภาษาไทยน้นั คาเมืองจะเรียกวา่ แปล๊ด หรือปะ- แลด๊ , ไทย แปลด็ เมือง ซ่ึงโดยมากแลว้ มกั จะพบในคนท่ีพดู คาเมืองมานาน แลว้ พยายามจะพูดหรือคนพดู
11 ภาษาไทยพยายามจะพดู คาเมืองเผลอพูดคาท้งั 2 ภาษามาประสมกนั อน่ึงการพูดคาเมืองมีการ แยกระดบั ของความสุภาพอยหู่ ลายระดบั ผพู้ ดู ตอ้ งเขา้ ใจในบริบทการพูดวา่ ในสถานการณ์น้นั ๆ ตอ้ งพูดระดบั ภาษาอยา่ งไรให้เหมาะสมและมีความสุภาพ เพราะมีระบบการนบั ถือผใู้ หญ่ คน สูงวยั กวา่ อาทิเช่น ลา แปลวา่ อร่อย ลาแตๆ๊ แปลวา่ สุภาพที่สุด ลาขนาด แปลวา่ สุภาพรองลงมา ลาแมะฮาก แปลวา่ เริ่มไม่สุภาพ ใชใ้ นหม่คู นท่ีสนิทกนั ลาใบล้ าง่าว แปลวา่ เริ่มไม่สุภาพ ใชใ้ นหมู่คนที่สนิทกนั ลางา่ วลาเซอะ แปลวา่ เร่ิมไม่สุภาพ ใชใ้ นหมคู่ นท่ีสนิทกนั มากๆ เป็นตน้ 3.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาษาลาวอีสาน ซ่ึงเป็นภาษาสาเนียงหน่ึงทางฝ่ังขวาแม่น้าโขง ส่วนภาษาไทย นิยมใชก้ นั ทว่ั ไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจงั หวดั นครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลกั ขณะเดียวกนั ยงั มีภาษาเขมรที่ใชก้ นั มากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากน้ี มีภาษาถ่ินอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผไู้ ท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาขา่ ภาษากะเลิง ภาษา โยย้ ภาษายอ้ เป็นตน้ ภาคอีสานยงั มีเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหารอีสาน ภาษา อกั ษร เช่น อกั ษรไทนอ้ ย ดนตรีหมอลา ดนตรีกนั ตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรา การเซิ้ง ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะ เป็นตน้ 3.3 ภาษาภาคกลาง ภาษากลางไดแ้ ก่ภาษาท่ีใชพ้ ดู กนั ในจงั หวดั ภาคกลางของ ประเทศไทย เช่น สุพรรณบุรี อา่ งทอง ราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม และพระนครศรีอยธุ ยา เป็นตน้ ภาษาภาค กลางที่สาคญั คอื ภาษากรุงเทพฯ ซ่ึงเป็นภาษาราชการ และเป็นภาษาประจาชาติ การแบ่งภาษา ถิ่นเป็นการแบ่งอยา่ งคร่าวๆ ซ่ึงตามสภาพความเป็นจริงแลว้ ภาษาในแตล่ ะภาคก็ไม่เหมือนกนั
12 ทีเดียว มีความผิดเพ้ยี นกนั ไปบา้ ง ภาษากรุงเทพฯ ถือเป็นภาษาถ่ินภาคกลางท่ียอมรับกนั วา่ เป็น ภาษามาตรฐานที่กาหนดใหค้ นในชาติใชร้ ่วมกนั เพ่ือส่ือสารใหต้ รงกนั แตภ่ าถ่ินทกุ ภาษามี ศกั ด์ิศรีความเป็นภาษาเทา่ เทียมกนั ถา้ เราเขา้ ใจและสามารถใชภ้ าษาถ่ินได้ จะทาใหส้ ่ือสาร สัมฤทธ์ิผลและเสริมสร้างความเขา้ ใจอนั ดีต่อกนั ยง่ิ ข้ึน ความแตกต่างระหวา่ งภาษาถ่ินใน ประเทศไทย ภาษาถ่ิน ต่างๆ ในประเทศไทย มีความแตกต่างกนั ในแตล่ ะถ่ิน ดงั น้ี 3.3.1 ความแตกต่างด้านเสียง ภาษาถิ่นแตกต่างจากภาษากลางหรือภาษามาตรฐาน เพราะความใน แตกต่างของเสียงต่างๆ อาทิ เสียงสระ เสียงพยญั ชนะ และเสียงวรรณยกุ ตต์ ่างกนั เช่น ความแตกต่างดา้ นความหมาย คาในภาษาถิ่นตา่ งๆ อาจมีเสียงตรงกนั หรือ ใกลเ้ คยี งกนั แตม่ ีความหมายของคาไมต่ รงกนั ซ่ึงแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี (1) ภาษามาตรฐานมีความหมายกวา้ งกวา่ ภาษาถ่ิน เช่น คาวา่ น้าตาล ใน ภาษามาตรฐาน หมายถึง วตั ถทุ ี่มีรสหวาน โด มาจากออ้ ย ตาล มะพร้าว ส่วนในภาษาถ่ินใต้ หมายถึง น้าตาลสด เท่าน้นั (2) ภาษาถ่ินมีความหมายกวา้ งกวา่ ภาษามาตรฐาน เช่น คาวา่ ชมพู่ ในภาษา มาตรฐาน หมายถึง ผลชมพู่ แตใ่ นภาษาถิ่น ใตจ้ ะหมายถึง ผลชมพู่ หรือผลฝรั่งก็ได้ เป็นตน้ 3.3.2 ระดบั ภาษา ระดบั ภาษาแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ ภาษาแบบเป็นทางการและไม่ เป็น ทางการ (1) ภาษาแบบเป็นทางการ ภาษาแบบน้ีใชใ้ นโอกา สาคญั ๆ ท้งั ท่ีเป็นพิธีการ เช่น ในงานราชพธิ ีและในโอกาสสาคญั ท่ี เป็นทางการ เช่น การกลา่ วเปิ ดการประชุมตา่ งๆ การกลา่ วคา ปราศรัย และการประกาศ เป็นตน้ ภาษาแบบเป็นทางการอาจจดั เป็น
13 2 ระดบั คอื ภาษาระดบั พธิ ีการ และภาษาระดบั มาตรฐานราชการ หรือภาษาระดบั ทางการ (1.1) ภาษาระดบั พิธีการ มีลกั ษณะเป็น ภาษาท่ีสมบูรณ์แบบและมีรูปประโยคความซอ้ นใน ความหมายขายคอ่ นขา้ งมาก ถอ้ ยคาท่ีใชก้ ็เป็นภาษา ระดบั สูง จึงงดงามไพเราะและประณีต ผใู้ ช้ ภาษาระดบั น้ีจะตอ้ งระมดั ระวงั อยา่ งยงิ่ นอกจากใชใ้ น โอกาสสาคญั เช่น ในงานพราชพิธีแลว้ ภาษาระดบั พธิ ี การยงั ใชใ้ นวรรณกรรมช้นั สูงอีกดว้ ย (1.2)ภาษาระดบั มาตรฐานราชการ แม้ ภาษาระดบั น้ีจะไม่อลงั การเท่าภาษาระดบั พธิ ีการ แตก่ ็ เป็นภาษาระดบั สูงท่ีมีลกั ษณะสมบรู ณ์แบบและถกู หลกั ไวยากรณ์ มีความชดั เจน สละสลวย สุภาพ ผใู้ ช้ ภาษาจึงตอ้ งใชร้ ายละเอียดประณีตและระมดั ระวงั ตอ้ งมีการร่าง แกไ้ ข และเรียบเรียงไวล้ ว่ งหนา้ เพอ่ื ให้ ในโอกาสสาคญั ท่ีเป็นทางการในการกล่าวคาปราศรัย การกลา่ วเปิ ดการประชุม การกลา่ วคาประกาศเกียรติ คุณ นอกจากน้ียงั ใชใ้ นการเขียนผลงานวิชาการ เรียงความ บทความวิชาการ หนงั สือราชการ และคา นาหนงั สือต่างๆ เป็นตน้ (2) ภาษาแบบไม่เป็นทางการ เป็นภาษาท่ีใชส้ ื่อสาร กนั โดยทว่ั ไปในชีวิตประจาวนั สามาจดั เป็น 3 ระดบั คือภาษาก่ึง ทางการ ภาษาระดบั ก่ึงทางกลาง ภาษาระดบั สนทนา และภาษา กนั เองหรือภาษาปาก
14 (2.1) ภาษาระดบั ก่ึงทางราชการ มี ลกั ษณะท่ียงั คงความสุภาพอยู่ แตผ่ ใู้ ชภ้ าษากไ็ ม่ ระมดั ระวงั มากเท่าการใชภ้ าษาเป็นทางการ เพราะอาจ ใชร้ ูปประโยคงา่ ยๆ ไม่ซบั ซอ้ น ถอ้ ยคาที่ใชเ้ ป็นระดบั สามญั บางคร้ังมีภาษาระดบั สนทนาเขา้ มาปะปนดว้ ย ภาษาระดบั ก่ึงทางการในการติดต่อธุรกิจการงาน หรือ ใชส้ ื่อสารกบั บคุ คลที่ไม่สนิทสนมคนุ้ เคยกนั และใช้ ในการเขียนเรื่องท่ีผเู้ ขยี นตอ้ งใหอ้ า่ รู้สึกเหมือนกาลงั ฟังผเู้ ขยี นเลา่ เรื่องหรือเสนอความคิดเห็น อยา่ งไม่ เคร่งเครียด เช่น การเขยี นสารคดีท่องบทความแสดง ความคดิ เห็น หรือการเลา่ เร่ืองต่างๆ เช่น ชีวประวตั ิ เป็ นตน้ (2.2) ภาษาระดบั สนทนา มีลกั ษณะของ ภาษาพูดท่ีเป็นกลางๆ สาหรับใชใ้ นการสนทนากนั ใน ชีวติ ประจาวนั ระหวา่ งผสู้ ่งสารที่รู้จกั คุน้ เคยกนั นอกจากน้นั ยงั ใชใ้ นการเจรจาซ้ือขายทวั่ ไป รวมท้งั ใน การประชุมที่ไม่เป็นทางการ มีลกั ษณะรูปประโยคไม่ ซบั ซอ้ น ถอ้ ยคาท่ีใชอ้ ยใู่ นระดบั คาท่ีมีคาสแลง คาตดั คายอ่ ปะปนอยู่ แต่ตามปรกติจะไม่ใชค้ าหยาบ ภาษาระดบั สนทนาใชใ้ นการเขยี น นวนิยาย บทความ บทภาพยนตร์สารคดีบางเรื่อง และรายงานข่าว เป็น ตน้ (2.3) ภาษาระดบั กนั เองหรือภาษาปาก เป็นภาษาที่ใชส้ นทนากบั ผทู้ ่ีสนิทสนมคนุ้ เคยกนั มากๆ เช่น ในหมู่เพอื่ นฝงู หรือในครอบครัว ละมกั ใช้
15 พูดกนั ในสถานท่ีท่ีเป็นส่วนตวั ในโอกาสท่ีตอ้ งการ ความสนุกสนานคร้ืนเครง หรือในการทะเลาะด่าทอ ทอกนั ลกั ษณะของภาษาระดบั กนั เองหรือภาษาปากน้ี มีคาตดั คาสแลง คาต่า คาหยาบ ปะปนอยมู่ าก ตาม ปรกติจึงไมใ่ ชใ้ นการเขยี นทว่ั ไป นอกจากในงานเขียน บางประเภท เช่น นวนิยาย หรือเร่ืองส้นั บทละคร ข่าว กีฬา เป็น 3.ภาษาภาคใต้ เป็นภาษาถิ่น ท่ีใชใ้ นภาคใตข้ องประเทศไทย นบั แตจ่ งั หวดั สุราษฎร์ธานีลงไปถึงชายแดน ประเทศมาเลเซียรวม 14 จงั หวดั และบางส่วนของจงั หวดั ชุมพร อีกท้งั บางหมบู่ า้ น ในรัฐกลนั ตนั รัฐปะลิส รัฐเกอดะฮ์ (ไทรบุรี) รัฐเประก์ และรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย รวมถึงบางหมูบ่ า้ น ในเขตตะนาวศรี ทาง ตอนใตข้ องประเทศพมา่ ดว้ ย ภาษาไทยถ่ินใต้ มีเพยี งภาษาพดู เทา่ น้นั ไมม่ ีตวั อกั ษรเขยี นเฉพาะ 4.ภาษาล้านนา 4.1 ประวตั ิความเป็นมา ภาษาลา้ นนา หรือ ตวั๋ เมือง แต่เดิมใชเ้ ป็นภาษาสื่อสารของชาวลา้ นนาใชเ้ ป็น ภาษาท่ีเขยี น ในหนงั สือทางราชการของอาณาจกั รลา้ นนาในช่วงประมาณ 700 ปี ท่ีผา่ นมา ดงั ที่ปรากฏในหลกั ฐานต่างๆ ท้งั ศิลาจารึก ป๊ับสา และคมั ภีร์ใบลานต่างๆภาษาลา้ นนา หรือตวั๋ เมืองสันนิษฐานวา่ มีตน้ กาเนิดมาจากอกั ษรมอญ ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ผเู้ ชี่ยวชาญอกั ษรไทยโบราณ ไดเ้ ขยี นไวใ้ นหนงั สือช่ือ “ตานานอกั ษรไทย” วา่ อกั ษร ลา้ นนามาจากอกั ษรมอญ ขอ้ เสนอน้ี เป็นที่ยอมรับกนั โดยทวั่ ไป เพราะอกั ษรมอญเป็น ตน้ แบบของอกั ษรในภูมิภาคน้ี เช่น อกั ษรพมา่ อกั ษรไทใหญ่ อกั ษรไทอาหม อกั ษรไทล้ือ อกั ษรไทเขิน และอกั ษรไทอีสาน แตว่ า่ อกั ษรมอญไม่มีรูปและเสียงวรรณยกุ ต์ ดงั น้นั เม่ือ ชาวลา้ นนานามาใช้ จึงไมม่ ีรูปวรรณยกุ ตต์ ามภาษามอญ ท้งั ๆ ที่ภาษาลา้ นนามีเสียง วรรณยกุ ต์ แต่ต่อมาในราวพุทธศตวรรษที่ 21ไดป้ รับปรุงใหม้ ีรูปวรรณยกุ ตใ์ ช้ แต่กไ็ มไ่ ด้
16 เคร่งครัดกบั การใชร้ ูปวรรณยุกต์ เวลาอ่าน ผอู้ า่ นตอ้ งเพมิ่ เติมเอาเองจึงจะไดค้ วาม ตวั อยา่ งเช่นท่ีพบใน จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามณุ ิ สุโขทยั พ.ศ.1918จาก การศึกษาอกั ษรท่ีใชใ้ นจารึก เอกสารประเภทจารึกท่ีพบในประเทศไทยมีรูปแบบอกั ษร ต่างๆ ตามอิทธิพลวฒั นธรรม ที่หลง่ั ไหลเขา้ มาสู่ดินแดนบริเวณแถบน้ีในอดีต หรือที่ เรียกวา่ ดินแดนของประเทศไท 4.2 คณุ ค่าของภาษาลา้ นนา ภาษาลา้ นนาเป็นภาษาทอ้ งถิ่นของชาวลา้ นนาท่ีสืบทอดติดต่อกนั มาหลายร้อยปี ดงั น้นั มรดก ภมู ิปัญญาต่างๆ ของชาวลา้ นนาจึงถกู บนั ทึกไวด้ ว้ ยภาษาลา้ นนา ซ่ึงยงั คง หลงเหลือและตกทอดมาถึงในยคุ ปัจจุบนั ที่ยงั คงรอคอยการอ่าน การปริวรรตออกสู่ภาษา ปัจจุบนั โดยเฉพาะองคค์ วามรู้ดา้ นประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรมประเพณี ความเช่ือ วิถีชีวิต และตารายาต่างๆ ซ่ึงลว้ นแต่มีคุณคา่ ทางวฒั นธรรม
17 บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินโครงงาน การจดั ทาโครงงานประวตั ิศาสตร์ เร่ือง ภาษาเขยี นของมง้ ผจู้ ดั ทามีวธิ ีการดาเนินงานตาม ข้นั ตอนทางประวตั ิศาสตร์ท้งั 5 ข้นั ตอน ข้นั ตอนที่ 1 กาหนดหัวข้อเร่ืองทีจ่ ะศึกษา กลุ่มของพวกเราไดก้ าหนดหวั ขอ้ ท่ีจะศึกษาและ เขยี นเคา้ โครงโครงงานเสนอเพ่อื ขออนุมตั ิใหศ้ ึกษาประชุมหาขอ้ คดิ เห็นของสมาชิกในกล่มุ ในวนั ที่ 16 มกราคม 2565 และไดป้ ระเด็นที่จะศึกษา คือ ศึกษาประวตั ิความเป็นมาของภาษาเขยี นของมง้ ซ่ึงมีการ ดาเนินงานโดยการจดั ทาเคา้ โครงส่งครูท่ีปรึกษาโครงงานเพอ่ื ขอคาแนะนา หลงั จากสมาชิกในกลมุ่ ได้ กาหนดหวั เรื่องข้นึ แลว้ ไดม้ ีการประชุมกบั สมาชิกอีกคร้ังในวนั ท่ี 17 มกราคม 2565 เพ่ือวางแผน ปฏิบตั ิงานตามข้นั ตอนต่อไป ข้นั ตอนท่ี 2 สืบค้นและรวบรวมมูล กลมุ่ ของพวกเราไดค้ น้ หาหนงั สือในห้องสมุดโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 26 จงั หวดั ลาพนู เมื่อวนั ท่ี 19 มกราคม 2565 จานวน 3 เลม่ คอื 1.วฒั นธรรมพฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์เอกลกั ษณ์ และภมู ิปัญญา จงั หวดั แม่ฮองสอน 2.สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน จงั หวดั เชียงราย 3.วฒั นธรรมพฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์เอกลกั ษณ์ และภมู ิปัญญา จงั หวดั เพชรบูรณ์ และไดท้ าการสืบคน้ ควา้ หาขอ้ มูลจากเวบ็ ไซต์ วนั ท่ี 20 มกราคม 2565 พบขอ้ มูลจานวน 4 เวบ็ ไซต์ คือ 1..https://www.nyclanguageinstitute.com/hmong.html?fbclid=IwAR14Ua_iILvDgZ38l2TH Ge26OjZhY3oiq45rgWqgsrtI7vqNW4cZz43UGw 2.https://www.sac.or.th/databases/ethnicgroups/ethnicGroups/84?fbclid=IwAR0GUDDHm GJpxp_Zk2hW9yIU6BU9M9tugJmaqLMw0V4w8VNfGMud3RmD78U 3. https://sites.google.com/site/mngnarak/sahrab-rup-saw-hnum-mng-swy-hlx
18 4. https://hmong.in.th/wiki/Hmong-Mien_languages ข้นั ตอนท่ี 3 ประเมนิ คุณค่าของหลกั ฐาน กลุ่มของพวกเราไดน้ าขอ้ มูลท่ีจะไดน้ าขอ้ มลู ที่สืบคน้ จากอินเทอร์เน็ตมาตรวจสอบเอกสารและแหล่งขอ้ มูลอ่ืนที่เช่ือถือไดม้ ารวบรวมคดั เลือกและทาการ ประเมินคณุ ค่าของหลกั ฐานที่ไดม้ าพิจารณาในรายละเอียด เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ มูลที่ถูกตอ้ งที่สุดในวนั ที่ 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ซ่ึงใชเ้ หตผุ ลเป็นแนวทางในการตีความเขา้ สู่การคน้ พบขอ้ เท็จจริงของภาษาเขียนของมง้ ข้นั ตอนท่ี4 นาข้อมูลมาวเิ คราะห์ สังเคราะห์และจัดหมวดหมู่ กลุ่มของพวกเราไดน้ าขอ้ มลู ท่ี ไดม้ าท้งั หมดจากแหลง่ ที่ศึกษามาวเิ คราะห์ สังเคราะหแ์ ละจดั หมวดหมมู่ าเรียบเรียงหลกั ฐานของขอ้ มูลอีก คร้ัง และไดน้ าขอ้ มูล เมื่อวนั ท่ี 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ไดแ้ ก่ 1. ท่ีมาและความสาคญั ของภาษามง้ 2. ลกั ษณะการเขียนของมง้ และวิธีการอ่าน 2.1 พยญั ชนะ 2.2 สระ 2.3 วรรณยกุ ต์ 2.4 วิธีการเขียน 3. วิธีการอ่านภาษาเขยี นของมง้ 3.1 อวยั วะ 3.2 สี 3.3 คาอา่ นอื่นๆที่ใชบ้ อ่ ย ข้นั ตอนที่5 เรียบเรียงและนาเสนอ กลุ่มของพวกเราไดร้ ่วมกนั นาขอ้ มูลท้งั หมดท่ีไดม้ า เพื่อ จดั ทารูปเล่ม ดงั น้ี - จดั ทาโครงงานนาเสนอในรูปแบบ E-book
20 - นาเสนอโครงงาน
ตารางการปฏิบัติงาน ลาดับ ข้นั ตอนการทางาน ระยะเวลา ผ้รู ับผดิ ชอบ คณะผจู้ ดั ทา 1 การต้งั ประเด็นท่ีจะศึกษาผรู้ ับผดิ ชอบ โครงงาน -กาหนดหัวขอ้ ท่ีจะศึกษา 16 มกราคม 2565 คณะผจู้ ดั ทา โครงงาน -จดั ทาเคา้ โครง โครงงานเพอ่ื ส่งครูท่ี 17 มกราคม 2565 คณะผจู้ ดั ทา ปรึกษาขอคาแนะนา โครงงาน คณะผจู้ ดั ทา -วางแผนปฏิบตั ิงาน 18 มกราคม 2565 โครงงาน 2 รวบรวมขอ้ มูล คณะผจู้ ดั ทา โครงงาน -คน้ ควา้ ขอ้ มลู ในการทาโครงงาน 19 มกราคม 2565 -คน้ ควา้ ขอ้ มูลจากหนงั สือตา่ งๆ 20 มกราคม 2565 -คน้ ควา้ ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ 21 มกราคม 2565 3 ประเมินคณุ ค่าของขอ้ มูล -นาขอ้ มลู มาเรียบเรียงใหมแ่ ละประเมิน 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 คุณคา่ วิเคราะห์และตีความหลกั ฐานและขอ้ มูล 4 -นาขอ้ มลู และหลกั ฐานที่ไดจ้ าก 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 การศึกษาคน้ ควา้ ท้งั หมดวิเคราะหแ์ ละ ตีความ -เรียบเรียงขอ้ มลู อีกคร้ัง 5 การนาเสนอ -จดั ทารูปเลม่ โครงงาน 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 -นาโครงงานใหก้ บั ครูท่ีปรึกษา 21
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากการศึกษาและสืบคน้ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั การเขยี นภาษามง้ มีผลการดาเนินงานดงั น้ี 1.ท่ีมาและความสาคญั ของภาษาม้ง มง้ หมายถึง อิสระชน เดิมอาศยั อยใู่ นประเทศจีน ต่อมาชาวจีนเขา้ มาปราบปราม เป็นเหตุให้ อพยพลงมาถึงตอนใตข้ องจีน และเขตอินโดจีน ในช่วงสงครามโลกคร้ังที่ 2 และตอนเหนือของประเทศ ไทย ประมาณพ.ศ. 2400 โดยมีสองกลุม่ ไดแ้ ก่ มง้ น้าเงินและมง้ ขาว ไมช่ อบใหเ้ รียกวา่ แมว้ โดยถือวา่ เป็น การดูถูกเหยยี ดหยาม ประชากรของมง้ ในประเทศไทย มีมากเป็นอนั ดบั 2 รองจากกะเหร่ียง ต้งั ถิ่นฐานอยู่ ตามภูเขาสูง หรือท่ีราบเชิงเขาในเขตพ้นื ท่ีจงั หวดั เชียงราย พะเยา น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ ลาปาง กาแพงเพชร เลย พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และตาก มง้ หรือแมว้ และเมี่ยน หรือเยา้ มีความสัมพนั ธก์ นั อยา่ งใกลช้ ิด แตม่ ีความแตกตา่ งกนั อยา่ ง ชดั เจน สาหรับการจาแนกประเภทภายในโปรดดูภาษามง้ และภาษาเมียน ความแตกต่างท่ีใหญ่ท่ีสุดเกิดจาก พฒั นาการที่แตกตา่ งกนั ในสัทวทิ ยา ภาษา Hmongic ปรากฏวา่ ไดเ้ ก็บชุดใหญ่ของพยญั ชนะเร่ิมตน้ ให้ 22
ความสาคญั ในprotolanguageแต่ลดลงอยา่ งมากแตกตา่ งในรอบชิงชนะเลิศพยางคโ์ ดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การ กาจดั ซิกแซกอยตู่ รงกลางและพยญั ชนะสุดทา้ ย ในทางกลบั กนั ภาษาเมียนมาร์ไดร้ ักษาพยางคท์ า้ ยพยางคไ์ ว้ เป็นส่วนใหญ่ แต่ลดจานวนพยญั ชนะตน้ การจาแนกประเภทภาษาในยคุ แรกจดั ใหม้ ง้ - เม่ียนอยใู่ นตระกูลชิโน - ธิเบตซ่ึงพวกเขายงั คง อยใู่ นการจาแนกประเภทของภาษาจีนจานวนมาก ฉนั ทามติในปัจจุบนั ของนกั ภาษาศาสตร์ตะวนั ตกคือ พวกเขาเป็นครอบครัวของพวกเขาเองความคลา้ ยคลึงกนั ของคาศพั ทแ์ ละการพมิ พใ์ นหมูม่ ง้ - เม่ียนและ ภาษาจีนเป็นผลมาจากการบรรจบกนั ท่ีเกิดจากการติดต่อ 2.ภาษาเขียนของม้ง ภาษามง้ อยใู่ นตระกูลเหมียว-เหยา หรือมง้ -เม่ียน ใชก้ นั ในชาวมง้ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และ บางส่วน ของจีนจดั เป็นภาษาคาโดด โดยหน่ึงคามีเสียงพยญั ชนะตน้ สระ และวรรณยกุ ต์ ไม่มีเสียงตวั สะกด มี วรรณยกุ ตส์ นธิหรือการผสมกนั ของเสียงวรรณยกุ ตเ์ มื่อนาคามาเรียงต่อกนั เป็นประโยค ในประเทศไทย แบง่ เป็น 2 กลุ่มคือ 23
1. ภาษาม้งเขียว หรือ ม้งจว๊ั (Hmong Njua)พบในประเทศไทย 33,000 คน ในจงั หวดั ตาก น่าน เชียงใหม่ เชียงราย เเม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ พะเยา เลย สุโททยั เเพร่ กาเเพงเพชร เเพร่ 2. ภาษาม้งขาว หรือ ม้งเด๊อ (Hmong Daw) พบในประเทศไทย 32,395 คน ในจงั หวดั ตาก น่าน เชียงใหม่ เชียงราย เเม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ พะเยา เลย สุโททยั เเพร่ กาเเพงเพชร ลาปาง อตุ รติดถ์ เเพร่ การเขียนภาษามง้ หมายถึงระบบการเขยี นตา่ งๆท่ีใชใ้ นการถอดเสียงภาษามง้ ต่างๆ พดู โดยชาวมง้ ใน จีน, เวยี ดนาม , ลาว , สหรัฐอเมริกา และ ไทย ภาษามง้ จดั อยใู่ นสาขาเม้ียว-เยา้ จองตระกลู จีน-ธิเบตไมม่ ีภาษาเขียนแตย่ มื ตวั อกั ษรภาษา โรมนั มาใชม้ ง้ ไมม่ ีภาษาที่แน่นนอนส่วนใหญม่ กั จะรับภาษาอื่นมาใชพ้ ูดกนั เช่นภาษาจีนยนู นานภาษาลาว ภาษาไทยภาคเหนือ เป็นตน้ ซ่ึงมง้ ท้งั 3 เผา่ พูดภาษาคลา้ ยๆกนั คอื มีรากศพั ทแ์ ละไวยากรณ์ที่เหมือนกนั แต่ การออกเสียงหรือสาเนียงจะแตกต่างกนั เลก็ นอ้ ยมง้ สามารถใชภ้ าษาเผา่ ของตนเองพูดคยุ กบั มง้ เผา่ อื่นเขา้ ใจ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี แตม่ ง้ ไมม่ ีภาษาเขียนหรือตวั หนงั สือ สาหรับภาษาเขียนน้นั แตเ่ ดิมคนมง้ ไมม่ ีระบบการเขียนของตนเอง แมจ้ ะมีการกลา่ วอา้ งวา่ ลวดลายผา้ ปักของชาวมง้ เป็นระบบการเขยี นรูปแบบหน่ึงของมง้ ในอดีต แตก่ ็ไมส่ ามารถอธิบายไดว้ า่ ระบบ ลวดลายดงั กลา่ วเป็นระบบการอา่ นและเขยี นไดอ้ ยา่ งไร ลวดลายผา้ ปักมง้ จึงมีความหมายต่อคนมง้ ในฐานะ ที่เป็นเพียงส่วนประกอบที่ใชต้ กแตง่ เส้ือผา้ และเคร่ืองแต่งกายของมง้ มากกวา่ ที่จะเป็นระบบการเขยี นที่ บนั ทึกเรื่องราวและเหตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งไรก็ตาม นบั จากคริสตท์ ศวรรษ 1950 คนมง้ กม็ ีระบบของการ เขยี นของตนเองอนั ไดร้ ับการพฒั นาข้นึ โดยมิชชนั นารีชาวอเมริกนั และฝร่ังเศส (George Barney, William Smaller และ Yves Bertrais) ท่ีเขา้ มาสอนศาสนาคริสตใ์ ห้กบั มง้ ในประเทศลาว นอกน้นั ในระยะที่ผา่ น มายงั มีระบบตวั เขียนอื่นๆ อีก แตไ่ มเ่ ป็นท่ีนิยมในหม่คู นมง้ ในประเทศไทยมากเท่าระบบน้ี ระบบการเขียนภาษามง้ ที่ถกู คิดคน้ พฒั นาดงั กลา่ วน้นั มาจากการปรับใชอ้ กั ษรโรมนั (Romanized Popular Alphabet/RPA) มาแทนเสียงตา่ งๆ ในภาษามง้ ซ่ึงนบั วา่ มีความสอดคลอ้ งกบั เสียง ภาษามง้ มากที่สุดเมื่อเทียบกบั การใชต้ วั อกั ษรในภาษาไทย ระบบการเขยี นดงั กลา่ วจึงเป็นที่ยอมรับและใช้ กนั มากท่ีสุดในปัจจุบนั แมเ้ ป้าหมายของการสร้างระบบการเขยี นดงั กลา่ วเพอ่ื ตอ้ งการเผยแพร่คริสตศ์ าสนา ในหม่ขู องมง้ กต็ าม ฉะน้นั คุณูปการของการพฒั นาระบบการเขียนจึงมิไดจ้ ากดั อยแู่ ตเ่ พยี งแคข่ องเร่ือง 24
ศาสนาเทา่ น้นั มง้ ในประเทศตา่ ง ๆ นอกจากจะใชภ้ าษาประจาชาติที่ตนอาศยั อยแู่ ลว้ พวกเขาก็ไดใ้ ชร้ ะบบ ภาษาเขยี นดงั กลา่ วในการสื่อสารกบั คนมง้ ขา้ มชาติไดด้ ว้ ย และที่สาคญั คอื การสร้างระบบการเขียน ทาให้ ภาษามง้ กลายเป็นภาษาท่ีสามารถเรียนรู้และถา่ ยทอดกนั ไดโ้ ดยมิไดจ้ ากดั อยกู่ บั คนมง้ เท่าน้นั เช่นเดียวกนั กบั ภาษาไทย ภาษามง้ ก็มีพยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ตด์ ว้ ย กล่าวคือ มีพยญั ชนะท้งั หมด 57 ตวั สระ 14 ตวั และวรรณยกุ ต์ 7 รูป 8 เสียง ซ่ึงตอ้ งยอมรับวา่ อกั ษรภาษาไทยน้นั ไม่สามารถท่ีจะใชแ้ ทนเสียงในภาษามง้ ไดต้ รงตามเสียงในภาษามง้ อยา่ งครบถว้ นและถูกตอ้ ง จึงเป็นการยากพอควรที่ผเู้ ขยี นจะนาเสนอภาษามง้ ผา่ นอกั ษรภาษาไทย สาหรับลกั ษณะตวั อกั ษรโรมนั ที่ใชเ้ ป็นพยญั ชนะ สระ และเสียงวรรณยกุ ต์ มีดงั น้ี 25
พยญั ชนะ อกั ษรภาษามง้ เทียบอกั ษรภาษาไทย พยญั ชนะตวั เดียว มีท้งั หมด 18 t k p s x l n h m g q v r z y c f d ต ก ป ซ ซ ล น ฮ ม _ ก ว จ ย ย จ ฟด พยญั ชนะควบกล้า 2 ตวั มีท้งั หมด kh qh ch ts ny hn th nt np ph tx ค ค ช จ ญ หน ท ด บ พ จ ซ หล 22 ตวั xy hl nk nr dh rh nc pl hm hn ml ก จ ธ ช จ ปล หม หน มล นล nl พยญั ชนะควบกล้า 3 ตวั มีท้งั หมด tsh nth txh nts nph nrh hml hnl ช ด ช จ จ ภ ฌ หมล หนล ฆ ฆ ฌ 14 ตวั nkh nqh nch ntx npl plh hny จ บล พล หญ พยญั ชนะควบกล้า 4 ตวั มีท้งั หมด ntsh ntxh nplh ฌ ฌ ภล 3 ตวั 2.1 พยญั ชนะ ในภาษามง้ มีท้งั หมด 57 ตวั สระ ดงั ตารางต่อไปน้ีคือ 2.2 สระ 14 ตวั สระอี (i) สระ เอ (e) สระอู (u) สระออ (o) สระอา (a) สระอาง (aa) สระเอง (ee) สระอื (w) สระเอีย (ia) สระเอา (au) สระโอง (oo) สระ ไอ (ai) สระเออ (aw) สระอวั ( ua)
26 ชื่อวรรณยุกต์ ตวั อกั ษรแสดงเสียงสระ สั๊วบวั (suab npua) เสียงสามญั ลงทา้ ยดว้ ยสระ ส๊ัวนือ (suab nws) ใชต้ วั s สว๊ั กอ้ (suab koj) ใชต้ วั j สั๊วเป๊ (suab peb) ใชต้ วั b สั๊วกู๋ (suab kuv) ใชต้ วั v ส๊วั ป่ อ(suab pom) ใชต้ วั m สว๊ั ยอห์ (suab yog) ใชต้ วั g สั๊วเต๋อ (suab ntawd) ใชต้ วั d 2.3 วรรณยุกต์ มีท้งั หมด 7 รูป 8 เสียงดงั ต่อไปน้ีคือ 2.4 วิธีการเขียน วิธีเขยี นภาษามง้ ดว้ ยอกั ษรมง้ เขยี นจากซา้ ยไปขวา แต่อกั ขรวิธีต่างจากภาษาอ่ืน ๆ คือ เขียนสระข้นึ ก่อน เขียนวรรณยกุ ต์ แลว้ จึงเขยี นพยญั ชนะตน้ ตามหลงั ถา้ ไมใ่ ส่ พยญั ชนะตน้ จะถือวา่ สะกดดว้ ย k (ก) และตามปกติจะเวน้ วรรคทุกคาหรือพยางค์ นอกจากน้ี อกั ษรมง้ มีตวั เลขและเคร่ืองหมายวรรคตอนเป็นของตวั เอง สระหน่ึงเสียงมีไดส้ องรูป ซ่ึงมีพ้นื เสียงวรรณยกุ ตต์ า่ งกนั การเติมเคร่ืองหมาย เสริมบนสระจะทาใหว้ รรณยกุ ตเ์ ปล่ียนไป ในขณะที่พยญั ชนะหลายเสียงใชร้ ูปเดียวกนั การ เติมเคร่ืองหมายเสริมบนพยญั ชนะจะทาใหอ้ อกเสียงต่างกนั แต่หากพิจารณาพยญั ชนะและ สระท้งั หมดท่ีเติมเคร่ืองหมายเสริม จะพบวา่ ไมไ่ ดเ้ รียงลาดบั ตามฐานกรณ์แต่อยา่ งใด ผทู้ ่ี ศึกษาหรือใชต้ อ้ งอาศยั ความจาเป็นหลกั การเรียงคาเป็นแบบ ประธาน-กริยา-กรรม เช่น เด๋เตาะหมี (หมากดั แมว) ไมม่ ี การเปลี่ยนรูปคาเพื่อแสดงกาล แต่ใชก้ ารเติมคาบอกกาลเช่นเดียวกบั ภาษาไทย
27
3.วธิ ีการอ่านภาษาเขยี นของม้ง คาอ่าน 28 เต๊า-เฮา คาศัพท์ จา้ -ด๊า คาแปล เหา-เจ่า หวั 3.1 อวัยวะ จ้ี - บ้งั คอ ไฉ่ เต่ เข่า ภาษาม้ง ดี๋-เต่ แขน taub hau นจวั๊ มือ aj dab ซะ-เจ่ นิ้วมือ hauv caug ไฉ่ กอ เขาหลงั caj npaab เจ-้ หมว่ั ขา txhais tes ป๊ อ -เจก เตอเทา้ ntiv tes เปลา๊ -เฮา หนา้ nruab qaum ปล๊า หู sab ceg ขอ-หมวั่ ผม txhais ko taw ขอ-เจา้ ทอ้ ง ntsej muag ไบลล่ ิน้ ตา pob ntxeg ปาก plaub hau สี plab ghov muag ghov ncauj nplaig
3.2 สี ภาษามง้ 29 ดู้ คาอา่ น เสีย คาแปล 1 dub เล้ีย-ดา้ ดา 2 xiav จวั๊ สีน้าเงิน 3 liab daj เลีย-เกอะ-มวั น้าตาล 4 ntsuab เล้ีย เขยี ว 5 liab dawb muag ดา้ ชมพู 6 liab เดอะ แดง 7 daj ป้า-เยง้ เหลือง 8 dawb ขาว 9 paj yeeb สีบานเยน็
3.3 คาอ่านอื่นๆทใ่ี ช้บ่อย ภาษามง้ 30 กูเ้ หนียกอ้ คาอา่ น กู๋จ่ีเหนียกอ้ คาแปล kuv nyiam koj มตู ื่อหลอ ฉนั รักเธอ kuv tsis nyism koj เห่าเดร้ ฉนั ไม่รักเธอ mus twg lo สาเหาเดร้ ไปไหนมา haus dej หนวั เกเป่ เจ่ือ กินน้า sav haus dej นอ้ หมอหลอ่ จี่เตา อยากกินน้า khov no peg tsawg อ้ี อนั น้ีราคาเท่าไหร่ noj mov lo tsis tau ออ้ กินเขา้ หรือยงั ib เป๊ หน่ึง ob เปล๊า สอง peb จ๊ี สาม plaub เจา ส่ี txib ซยาง หา้ rau หยี หก xya จ้วั เจด็ yim เก๋า แปด tsuaj เกา้ kaum สิบ
31 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา จากการทาโครงงานศึกษาคน้ ควา้ ทางประวตั ิศาสตร์ โครงงานเร่ืองภาษาเขยี นของมง้ โดยกล่มุ ผู้ ศึกษาพบวา่ ภาษามง้ อยใู่ นตระกูลเหมียว-เหยา หรือมง้ -เมี่ยน ใชก้ นั ในชาวมง้ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ประโยค ในประเทศไทยแบง่ เป็น 2 กลมุ่ คอื 1.ภาษามง้ เขียว หรือ มง้ จว๊ั 2. ภาษามง้ ขาว หรือ มง้ เด๊อ มง้ ไมไ่ ดม้ ีภาษาเขียนเป็นของตวั เอง แต่หยบิ ยมื มาจากภาษาโรมนั โดยไดป้ รับใชอ้ กั ษรมาแทนเสียงต่างๆ ใน ภาษามง้ ภาษามง้ กลายเป็นภาษาที่สามารถเรียนรู้และถา่ ยทอดกนั ไดโ้ ดยมิไดจ้ ากดั อยกู่ บั คนมง้ เท่าน้นั เช่นเดียวกนั กบั ภาษาไทย ภาษามง้ ก็มีพยญั ชนะท้งั หมด 57 ตวั สระ14 ตวั และวรรณยกุ ต์ 7 รูป 8 เสียง แต่ ไม่มีตวั สะกด วิธีเขยี นภาษามง้ ดว้ ยอกั ษรมง้ เขียนจากซา้ ยไปขวา ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาโครงงานเรื่องภาษาเขยี นของมง้ พบวา่ ภาษาเขียนของมง้ ยงั มีวิธีการเขยี นท่ีเป็น แบบภาษาจีน
32 บรรณานุกรม นายวิชยั พยคั มโส. วฒั นาธรรมทางประวตั ิศาสตร์เอกลกั ษณ์และภูมิปัญญาจงั หวดั เพชรบูรณ์. พิมพค์ ร้ัง ที่ 1. ลาดพร้าว : โรงพมิ ครุ ุสภาลาดพร้าว. 2543. นายวิชยั พยคั มโส. วฒั นาธรรมทางประวตั ิศาสตร์เอกลกั ษณ์และภูมิปัญญาจงั หวดั แม่ฮ่องสอน. พมิ พค์ ร้ัง ท่ี 1. ลาดพร้าว: โรงพิมคุรุสภาลาดพร้าว. 2542. นายวิชยั พยคั มโส. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนจงั หวดั เชียงราย.พมิ พค์ ร้ัง ที่ 1. ลาดพร้าว: โรงพิมคุรุสภาลาดพร้าว. 2544. เวบ็ ไซร์ 1.https://www.nyclanguageinstitute.com/hmong.html?fbclid=IwAR14Ua_iILvDgZ38l2THGe26OjZhY3oi q45rgWqgsrtI7vqNW4cZz43UGw คน้ หาวนั ที่ 20 มกราคม 2565 2.https://www.sac.or.th/databases/ethnicgroups/ethnicGroups/84?fbclid=IwAR0GUDDHmGJpxp_Zk2hW 9yIU6BU9M9tugJmaqLMw0V4w8VNfGMud3RmD78U คน้ หาวนั ที่ 20 ม.ค. 2565 3. https://sites.google.com/site/mngnarak/sahrab-rup-saw-hnum-mng-swy-hlx18 คน้ หาวนั ที่ 20 ม.ค. 2565 4. https://hmong.in.th/wiki/Hmong-Mien_languages คน้ หาวนั ที่ 20 ม.ค. 2565 จ
ภาคผนวก
ฉ
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: