รายงานโครงงานวชิ าประวตั ิศาสตร์ เรื่อง ประเพณแี ห่ช้างเผือก อาเภอทุ่งหวั ช้าง โดย เลขท่2ี ม.5/4 1. นายภทั รพล สุขกาศ 2.นายสุทธิชัย อุวงค์ เลขท1่ี 1 ม.5/4 3.นางสาวนนั ทนา มาด้วง เลขท1่ี 8 ม.5/4 4.นางสาวเบญญาภา ศรีวชิ ัย เลขที1่ 9 ม.5/4 5.นางสาวศศิธร สุต๋า เลขท่ี22 ม.5/4 คุณครูทีป่ รึกษาโครงงาน 1.ครู ภูมริน ยมหา เสนอ ครูพรี วฒุ ิ วงค์ตนั กาศ รายงานนเี้ ป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาวชิ าประวตั ิศาสตร์รหสั ส 32104 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จงั หวดั ลาพูน สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ก บทคดั ย่อ เน่ืองจากประเทศไทย เป็นสังคมเกษตรกรรม โดยปัจจยั หลกั ในการทาเกษตรกรรมและ บริโภคคอื น้า ซ่ึงน้ามีความสาคญั ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ และการทาเกษตรกรราก็ตอ้ งพ่ึงพาน้าฝนท่ีตก ตามธรรมชาติเพ่ือใหเ้ กิดเป็นแหล่งน้า จึงทาใหเ้ กิดความเชื่อในเร่ืองการขอฝน ในภาคเหนือกม็ ีประเพณีแห่ ชา้ งเผือกและประเพณีสืบชะตาแมน่ ้า เพ่ือเป็นการขอฝนใหต้ กตามฤดูมีน้าใชต้ ลอดท้งั ปี แสดงถึงความ ศรัทธา ความเคารพตอ่ แมน่ ้า โดยในประเพณีแห่ชา้ งเผอื กน้นั จะมีการประกอบพิธี การสวดมนตข์ อฝน การ ฟังเทศน์พญาคนั คากพญาปลาช่อน การทาบุญตกั บาตร และการสืบชะตาแม่น้า
ข กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานเรื่อง ประเพณีแห่ชา้ งเผือกของอาเภอทงุ่ หวั ชา้ ง ไดส้ าเร็จลุลว่ งดว้ ยดีเพราะความ กรุณาของคุณครูพีระวฒุ ิ วงศต์ นั กาศและคุณครูท่ีใหค้ าปรึกษา แนะนาและช้ีแนะในการทาโครงงานเล่มน้ี แนะนาข้นั ตอนและวิธีการทาโครงงานใหอ้ อกมาสมบรู ณ์สาเร็จลลุ ว่ งไดด้ ว้ ยดี คณะผจู้ ดั ทาโครงงานขอ กราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ีดว้ ย ขอขอบพระคุณคณุ ครูห้องคอมพวิ เตอร์ท่ีให้ความอนุเคราะห์ในการศึกษาคน้ ควา้ ในส่วนของ เน้ือหาจนทาให้โครงงานประเพณีแห่ชา้ งเผือกประสบความสาเร็จ ขอขอบพระคณุ บิดา มารดา ที่ใหศ้ ึกษาเลา่ เรียนและใหก้ าลงั ใจในการศึกษา และขอขอบคุณ สมาชิกในกลมุ่ ท่ีใหค้ วามร่วมมือเป็นอยา่ งดีในการจดั ทาโครงงานเรื่องประเพณีแห่ชา้ งเผือกคร้ังน้ีจน ประสบความสาเร็จลุล่วงดว้ ยดี คณะผู้จดั ทา นายภทั รพล สุขกาศ ม.5/4 เลขที่ 2 นายสุทธิชยั อวุ งค์ ม.5/45 เลขท่ี 11 นางสาวนนั ทนา มาดว้ ง ม.5/4 เลขท่ี 18 นางสาวเบญญาภา ศรีวชิ ยั ม.5/4 เลขท่ี 19 นางสาวศศิธร สุต๋า ม..5/4 เลขท่ี 22
ค คานา โครงงานเร่ือง ประเพณีแห่ชา้ งเผือก อาเภอทงุ่ หวั ชา้ ง เล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของโครงงานวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหสั วิชา ส 32103 เพอื่ ไดศ้ ึกษาหาความรู้ โดยไดศ้ ึกษาผา่ นแหล่งความรู้ตา่ งๆ เช่น หนงั สือ หอ้ งสมดุ และเวบ็ ไซตต์ ่างๆ โดยโครงงานเล่มน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั ประวตั ิความเป็นมา ข้นั ตอนพิธีกรรม วสั ดุ อปุ กรณ์ของประเพณีแห่ชา้ งเผอื ก อาเภอทงุ่ หวั ชา้ ง ผจู้ ดั ทาคาดหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ การจดั ทารายงานโครงงานเล่มน้ีจะมีขอ้ มลู ท่ีเป็นประโยชนต์ ่อผู้ ท่ีสนใจศึกษาในประเพณีแห่ชา้ งเผือก อาเภอทุง่ หวั ชา้ ง เป็นอยา่ งดี หากผจู้ ดั ทาไดท้ าผดิ พลาดประการใด ก็ ขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย คณะผู้จัดทา นายภทั รพล สุขกาศ ม.5/4 เลขที่ 2 นายสุทธิชยั อวุ งค์ ม.5/45 เลขที่ 11 นางสาวนนั ทนา มาดว้ ง ม.5/4 เลขท่ี 18 นางสาวเบญญาภา ศรีวิชยั ม.5/4 เลขที่ 19 นางสาวศศิธร สุต๋า ม..5/4 เลขที่ 22
สารบัญ ง เร่ือง หน้า บทคดั ย่อ ก กติ ตกิ รรมประกาศ ข คานา ค สารบัญ ง บทท่ี 1 บทนา 1 1-4 ท่มี าและความสาคญั 4 วตั ถุประสงค์ของโครงงาน 5 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกยี่ วข้อง 5-6 ประวตั ิช้างเผือก 6-12 ประเพณคี วามเชื่อเกย่ี วกบั การขอฝน 13 บทที่ 3 ข้นั ตอนการดาเนนิ งานโครงงาน 13-14 วธิ ีดาเนินการโครงงาน 15 ตารางการปฏบิ ตั งิ งาน 16 บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งานโครงงาน 16-29 ผลการดาเนินงาน 30 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 30 สรุป 30 ข้อเสนอแนะ 31 บรรณานุกรม 32 ภาคผนวก 32 1. รูปการปฏิบัติงาน 33 2. เค้าโครง โครงงาน
1 บทท1ี่ บทนา 1.ทมี่ าและความสาคัญ ในยคุ สมยั เร่ิมแรกมนุษยด์ ารงชีพดว้ ยการล่าสตั วแ์ ละแสวงหาพชื ผกั ผลไมก้ ินเป็นอาหาร มีการ พ่ึงพาอาศยั ธรรมชาติและสภาวะแวดลอ้ ม มนุษยส์ มยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ยงั ไม่มีการสร้างท่ีอยอู่ าศยั เป็น หลกั แหลง่ แตจ่ ะเลือกอาศยั อยตู่ ามถ้าหรือชะง่อนผาดารงชีวติ ดว้ ยการล่าสัตวแ์ ละหาของป่ าจึงเป็นส่วนหน่ึง ของชีวติ มนุษยก์ บั ธรรมชาติเป็นส่วนของกนั และกนั ไม่อาจแยกออกจากกนั ไดเ้ ม่ือใดท่ีมีเหตุมีผล กาหนดใหต้ อ้ งแยกออกจากกนั กแ็ ปลวา่ ท้งั มนุษยแ์ ละธรรมชาติกาลงั มงุ่ วถิ ีการเปลี่ยนแปลงดว้ ยกนั ท้งั สอง ฝ่าย ในอดีตมนุษยจ์ ะมีการรวมตวั เป็นกลุ่มเพ่ือต้งั ถ่ินฐานและสร้างบา้ นเรือนน้นั จะมีลกั ษณะท่ีแตกตา่ งกนั คอื บางกลมุ่ จะเลือกต้งั ถ่ินฐานในพ้ืนที่ที่เป็นป่ าบางกลุ่มจะเลือกพ้ืนที่ใกลแ้ ม่น้าและพ้นื ท่ีบนภูเขา มนุษย์ ส่วนใหญ่จะเลือกต้งั ถ่ินฐานในเขตพ้นื ท่ีราบที่มีพ้ืนท่ีกวา้ งขวางมีแหล่งน้าและดินท่ีอดุ มสมบูรณ์โดยเลือก พ้ืนที่ท่ีมีสิ่งแวดลอ้ มเหมาะแก่การดารงชีวิต ที่ใดมีผลผลิตตามธรรมชาติอยา่ งเพียงพอมีสภาพอากาศดีมี อุณหภูมิและความช้ืนที่เหมาะสมมีน้ากินน้าใชส้ มบรู ณ์ มนุษยจ์ ะตอ้ งอาศยั ผลผลิตจากธรรมชาติเป็นการต้งั ถ่ินฐานแบบไม่ถาวรเพราะเม่ือใดที่ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปไมส่ ามารถใหผ้ ลผลิตเพียงพอต่อการดารงชีพ แลว้ มนุษยจ์ ะอพยพยา้ ยถ่ินฐานเดิมไปหาที่อยอู่ าศยั แห่งใหม่ที่มีความอดุ มสมบรู ณ์มากกวา่ ยคุ หินใหมป่ ระมาณ10,000-4,000ปี มนุษยใ์ นยคุ น้ีอาศยั อยู่ร่วมกนั เป็นหมบู่ า้ นดารงชีพดว้ ย การเพาะปลกู และเล้ียงสตั ว์ การเพาะปลกู ไดเ้ ปลี่ยนวถิ ีชีวิตของมนุษยจ์ ากสังคมลา่ สตั วม์ าเป็นสังคม เกษตรกรรม ที่ต้งั ถิ่นฐานเป็นหลกั แหล่งมีการสร้างท่ีพกั อาศยั ถาวรเป็นกระทอ่ มดินเหนียวและต้งั หลกั แหลง่ ตามบริเวณท่ีลมุ่ น้า ยคุ น้ีเป็นยคุ เกษตรกรรมมีความเชื่อและประกอบพิธีกรรมในรูปแบบต่างๆเพ่ือ บูชาส่ิงเหนือธรรมชาติโดยเฉพาะการบูชาส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิเพื่อใหพ้ ชื ท่ีเพาะปลกู เจริญงอกงามมีฝนตกตาม ฤดูกาล สภาพชีวติ ในยคุ น้ีไดเ้ ปลี่ยนแปลงชีวิตความเป็นอยจู่ ากท่ีสูงมาอยทู่ ี่ราบใกลแ้ หลง่ น้าโดยอยู่รวมกนั เป็นกลุม่ เป็นหมู่บา้ นบนเนินและดารงชีวิตตามลกั ษณะเศรษฐกิจใหม่ ไดแ้ ก่ เกษตรกรรม การเพาะปลกู และ เล้ียงสัตว์ รู้จกั การทาเครื่องป้ันดินเผาและพบวา่ มีผลผลิตมากกวา่ ที่จะบริโภค ก่อใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนและ การคา้ ขาย
2 สังคมไทยมีรากฐานมาจากสงั คมเกษตรกรรม ธรรมชาติจึงเป็นบทบาทต่อการดารงชีวิตของ ผคู้ น ซ่ึงความเช่ือเหล่าน้ีจึงทาใหม้ นุษยใ์ นสมยั โบราณมีความเชื่อเร่ืองปรากฏการณ์ตา่ งๆที่เกิดข้ึนตาม ธรรมชาติเช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผา่ อุทกภยั หรือ วาตภยั เกิดจากอานาจของส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิที่มีพลงั เหนือ ธรรมชาติ จึงเกิดประเพณีและพิธีกรรมตา่ งๆเพ่อื ใหพ้ ืชผลมีความอดุ มสมบรู ณ์ ซ่ึงประเพณีและพธิ ีกรรมแต่ ละพ้ืนท่ีมีความแตกตา่ งกนั และมนุษยม์ ีความเช่ือเรื่องการขอฝน เมื่อฝนไม่ตกตามฤดูกาลหรือไมม่ ีน้าใชใ้ น การทาเกษตรกรรมจึงนาหลกั พระพุทธศาสนามาใชพ้ ิธีกรรมตา่ งๆ ความเช่ือน้ีจึงก่อใหเ้ กิดขนบธรรมเนียม ประเพณีและพิธีกรรมตา่ งๆเพื่อใหเ้ กิดความอดุ มสมบูรณ์แก่สังคมตลอดท้งั ปี ความเชื่อที่เกี่ยวกบั เกษตรกรรม และ ในประเทศไทยมีหลายประเพณีความเชื่อที่เกี่ยวกบั การขอฝน เช่น ประเพณีการแห่นาง แมว เป็นอีกหน่ึงประเพณีท่ีมีความเช่ือวา่ ถา้ เขา้ สู่ฤดูฝนแลว้ หากฝนยงั ไม่ตกกจ็ ะทาพิธีแห่นางแมว เพราะ เม่ือนามาทาพธิ ีกจ็ ะสามารถเรียกฝนได้ โดยในพธิ ีจะนาแมวมาใส่ในชะลอมหรือเขง่ ที่มีฝาปิ ด นาไมม้ าขดั หามแลว้ จึงนาแมวมาแห่รอบๆหมบู่ า้ นพร้อมกบั มีการกล่าวคาเซิ้งไปดว้ ย ซ่ึงปัจจุบนั ไดม้ ีการปรับเปลี่ยน นาตกุ๊ ตาแมวมาใชใ้ นการทาพธิ ีแทนแมวตวั จริงเพือ่ ไม่ให้เกิดการทารุณกรรมสัตว์ และพิธีสืบชะตาน้าทาง ภาคเหนือน้นั ซ่ึงการต่อชะตามีหลายอยา่ งและนิยมทาในหลายกรณี ชาวบา้ นบางกลมุ่ ที่มีวถิ ีชีวติ ผกู พนั กบั แม่น้า ชาวบา้ นกน็ ิยมจดั พิธีสืบชะตาใหก้ บั แมน่ ้าเพื่อตอ่ อายแุ ละความเป็นสิริมงคลจะไดเ้ กิดกบั แมน่ ้า รวมท้งั ผคู้ นในชุมชนไปดว้ ย การสืบชะตาใหก้ บั แมน่ ้าจึงเป็นการแสดงความศรัทธา ความเคารพและเหนือ สิ่งอ่ืนใดคอื การร่วมกนั แสดงออกถึงความห่วงใยต่อแมน่ ้า โดยพธิ ีสืบชะตาแม่น้าน้ีจดั ข้ึนเพอื่ เป็นการขอ ขมาตอ่ แม่น้า ในภาคเหนือก็มีความเชื่อเร่ืองการขอฝนโดยแตล่ ะอาเภอมีพิธีกรรมการขอฝน เช่น ประเพณี ทาบุญกลางทุ่งมี2แบบคอื การทาบญุ เพือ่ ขอฝนและทาบญุ ลานบางพ้ืนท่ีเรียกวา่ ทาบุญขา้ วใหม่หรือทาบุญ ขา้ วหลาม การทาบุญเพอ่ื ขอฝนเล่ากนั วา่ ปี ใดฝนไม่ตกตามฤดูกาลตอ้ งมีการทาบุญเพ่อื ขอฝนโดยเลือก สถานที่ที่ชาวบา้ นไปมาสะดวกและเป็นศนู ยข์ องประชาชนโดยนาดินเหนียวมาป้ันเป็นรูปปลาปลาช่อน2 ตวั เอาวางไวบ้ นบ่อน้าหรือแอง่ เก็บน้าท่ีขนุ ข้นึ ใกลๆ้ รุ่งเชา้ ชาวบา้ นกน็ าสารับอาหารไปถวายพระเมื่อฉนั เสร็จใหพ้ รและสวดคาถาขอฝนอีก ก็เสร็จพธิ ี การทาบุญลานคอื การทาบุญที่ลานนวดขา้ ว ถือเป็นการ ทาบญุ ขา้ วใหมป่ ระจาปี โดยประมาณเดือน3 ประเพณีฟังธรรมปลาช่อน โดยชาวบา้ นแมต่ าด ตาบลห้วย ทราย อาเภอสนั กาแพง จงั หวดั เชียงใหม่ ไดจ้ ดั ข้ึนทุกปี ในวนั แรม 9 ค่า เดือน 9 เพอ่ื บชู าผขี นุ น้าหรือบชู า สายน้าท่ีไดป้ ระทานความชุ่มช้ืนและความอดุ มสมบูรณ์มาใหก้ บั ชุมชนตลอดท้งั ปี เป็นการสืบชะตาใหก้ บั สายน้า แสดงความกตญั ญูตอ่ สายน้าที่ไดห้ ลอ่ เล้ียงชีวติ ใหก้ บั ชุมชน ซ่ึงเป็นอีกรูปแบบหน่ึงของการอนุรักษ์
3 ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มที่ชาวบา้ นไดช้ ่วยกนั สืบสานตอ่ ๆ กนั มาต้งั แตค่ ร้ังโบราณ เพ่ือช่วยกนั อนุรักษส์ ายน้าต่างๆ ใหม้ ีความสะอาดบริสุทธ์ิและอดุ มสมบูรณ์ และประเพณีแห่ชา้ งเผือกในเดือน9ซ่ึงตรง กบั เดือนมิถนุ ายนของทกุ ปี ชีวิตของคนในลาพูนก็มีความผกู พนั กบั แมน่ ้าล้ีมาชา้ นาน โดยการขบั เคล่ือน ดว้ ยพลงั ศรัทธาเชื่อมโยงสายน้าล้ีสายใยแหงชีวิตพลิกฟ้ื นความชุ่มช้ืนแห่งสายน้าสายฝนเป็นการแสดงออก ถึงความกตญั ญตู ่อธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มท่ีเป็นสายเลือดใหญห่ ล่อเล้ียงพืชผลการเกษตร คน พชื สตั ว์ กบั การดารงชีวติ โดยประเพณีแห่ชา้ งเผือกจะทาพิธีกรรมหลกั ที่ตน้ น้าล้ี อาเภอทุ่งหวั ชา้ งไหลผา่ น อาเภอล้ี อาเภอบา้ นโฮ่ง และไหลลงสู่แมน่ ้าปิ งท่ีก่ึงอาเภอเวียงหนองลอ่ งซ่ึงที่นี่คือจุดต้งั ตน้ ของประเพณีแห่ ชา้ งเผือกและในตาบลตะเคยี นปมอยใู่ นเขตป่ าสงวนของขุนน้าล้ีมีพ้นื ท่ีสาหรับการเพาะปลกู ชุมชนแต่ละ หมู่บา้ นต้งั อยรู่ ะหวา่ งสองฝ่ังของแมน่ ้ามีแม่น้าท่ีเช่ือมต่อขนุ น้าล้ีคอื แม่น้าล้ีแมน่ ้าสายต่างๆท่ีเช่ือมโยงกนั ซ่ึงเป็นแม่น้าท่ีใชใ้ นการทาเกษตรกรรมของผคู้ นในแต่ละพ้นื ท่ี ประเพณีแห่ชา้ งเผอื กอาเภอทุ่งหวั ชา้ งเป็นประเพณีท่ีมีมานานและสืบต่อกนั มาจากรุ่นสู่รุ่นเพื่อ ฟ้ื นฟทู รัพยากรธรรมชาติและมาน้าล้ีและเป็นพิธีกรรมที่สร้างจิตสานึกและสร้างความสามคั คีของคนใน พ้ืนที่ ซ่ึงชา้ งเผอื กท่ีชาวบา้ นนามาเป็นสญั ญาลกั ษณ์ ในการประกอบพธิ ีกรรมขอฝนน้นั เช่ือวา่ เป็นชา้ งท่ี ศกั ด์ิสิทธ์ิในพระพทุ ธศาสนามีชาดกเรื่องพระเวสสันดรชื่อวา่ ชา้ งปัจจยั นาเคนทร์เป็นชา้ งเผือกคบู่ ุญของ พระเวสสนั ดร หากชา้ งเผือกปัจจยั นาเคนทร์ตวั น้ีไปอยใู่ นพ้นื ที่ที่แหง้ แลง้ ก็จะทาใหพ้ ้ืนท่ีน้นั เกิดความอุดม สมบูรณ์ ฝนฟ้าตกตามฤดูกาลสร้างความชุ่มช้ืนอยเู่ ยน็ เป็นสุขของคนในพ้ืนท่ี เม่ือชา้ งเผือกไดเ้ ขา้ มาอยใู่ น เมืองของพระเจา้ สนั ชยั น้าทา่ กอ็ ดุ มสมบูรณ์ พืชพรรณธญั ญาหารก็เจริญงอกงาม จึงทาใหช้ า้ งเผอื กเป็น สญั ญาลกั ษณ์ในการประกอบพธิ ีกรรมโดยประเพณีดงั กล่าวไดเ้ ริ่มข้ึนเมื่อประมาณ40-50ปี เพราะชาวบา้ น ในสมยั น้นั ประสบปัญหาฝนฟ้าไมต่ กตามฤดูกาล เกิดความแหง้ แลง้ พืชผลลม้ ตายผคู้ นขาดแคลนน้าใน การบริโภคและการทาเกษตรจึงมีการคดิ คน้ เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาและฟ้ื นฟใู นพ้นื ที่ล่มุ น้าล้ีโดยการนาเอา ชา้ งเผือกท่ีถือวา่ เป็นชา้ งมงคลมาเขา้ ร่วมในการประกอบพิธีกรรมการขอฝน ดงั น้นั กลุม่ ของขา้ พเจา้ จึงไดศ้ ึกษาประวตั ิความเป็นมา ข้นั ตอนและอุปกรณ์ในการ ประกอบ พิธีแห่ชา้ งเผอื กของอาเภอทงุ่ หวั ชา้ ง
4 2.วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน 1. เพ่ือศึกษาประวตั ิความเป็นมาของประเพณีแห่ชา้ งเผอื ก อาเภอท่งุ หวั ชา้ ง 2. เพื่อศึกษาข้นั ตอนพิธีกรรมของประเพณีแห่ชา้ งเผือก อาเภอท่งุ หัวชา้ ง 3.เพือ่ ศึกษาวสั ดุอปุ กรณ์ในการประกอบพิธีกรรมประเพณีการแห่ชา้ งเผือกของอาเภอ ทุ่งหวั ชา้ ง
5 บทท่ี2 เอกสารและโครงงานทีเ่ กย่ี วข้อง จากการศึกษาโครงงานประวตั ิศาสตร์และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน เรื่อง ประเพณีแห่ชา้ งเผือกของ อาเภอทุ่งหวั ชา้ งพบวา่ มีเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั โครงงาน ดงั น้ี 1.ประวตั ิชาติเผือก 2.ประเพณีความเช่ือเก่ียวกบั การขอฝน 1.ประวตั ิช้างเผือก ชา้ งเป็นสตั วท์ ี่มีความสาคญั ต่อมนุษยท์ ้งั ในการรบ และยามเกิดศึกสงคราม เพราะชา้ งเป็นสัตว์ ทีมีความอดทน แขง็ แรง สามารถบรรทกุ ของหนกั เป็นจานวนมาก มีความอดทนต่อการเดินป่ า ตลอดจน ข้ึนเขาลงหว้ ยลึกไดด้ ีกวา่ สตั วอ์ ื่นท่ีใชเ้ ป็นพาหนะ ในสมยั โบราณนกั รบจะใชช้ า้ งเป็นพาหนะในการต่อสู้ กนั โดยท่ีคู่ต่อสูจ้ ะนงั่ บนคอชา้ งแลว้ ใชอ้ าวธุ ฟันกนั ซ่ึงมีชา้ งประเภทหน่ึง ท่ีไม่ถกู นามาใชง้ านใดๆท้งั สิ้น คือ ชา้ งเผือก เป็นชา้ งท่ีมีลกั ษณะพิเศษ นอกจากสีของหนงั แลว้ ยงั มีสีของเลบ็ สีขน สีตาและสีขนหาง ท่ีอ่อนกวา่ ชา้ งธรรมดาทว่ั ไป จึงบง่ บอก ไดว้ า่ เป็นชา้ งเผอื ก ดว้ ยเหตุท่ีชา้ งเผอื กมีลกั ษณะพเิ ศษหาไดย้ ากเป็นสตั วท์ ี่มงคลใหแ้ ก่ผูท้ ่ีเป็นเจา้ ของ จึงทา ใหค้ นในสมยั โบราณถือเป็นชา้ งคบู่ ารมีของพระมหากษตั ริยแ์ ละสามญั ชนมิควรเล้ียงไวเ้ ป็นของส่วนตวั พระมหากษตั ริยพ์ ระองคใ์ ดที่มีชา้ งเผือกเชื่อวา่ จะนามาสู่พระบารมีจานวนมาก จะมีเกียรติเป็นท่ีเกรงกลวั ต่อประเทศอื่นๆ และเป็นที่ภาคภมู ิใจของพลเมืองของประเทศน้นั คนไทยไดร้ ับคติความเชื่อในการนบั ถือ ชา้ งเผือกมาจากประเทศอินเดีย โดยผา่ นทางการศึกษา วฒั นธรรม ประเพณี วรรณคดีและศาสนา นอกจากน้ี ยงั ไดน้ ารูปชา้ งเผือกมาเป็นสัญลกั ษณ์ของประเทศ เพราะเช่ือวา่ ชา้ งเผือกเป็นสตั วท์ ี่สูง มงคล เป็น สญั ลกั ษณ์แห่งธญั ญาหารและพระบารมีอนั ยง่ิ ใหญแ่ ก่แผ่นดิน โดยคาวา่ ชา้ งเผือก เป็นคาท่ีเรียกกนั มาต้งั แต่สมยั โบราณ เขา้ ใจกนั วา่ ชา้ งเผอื กน้นั ตอ้ งมีสี ขาวเสมอ ส่วนมากจะเห็นในภาพวาดประอกในวรรณคดี และชาดก ดงั เช่น ชา้ งปัจจยั นาเคนทร์ในชาดก เร่ืองพระเวสสนั ดร ซ่ึงชา้ งปัจจยั นาเคนทร์เป็นลกู ชา้ งอากาศจารินี นางชา้ งผเู้ ป็นมารดาทอ่ งเท่ียวมาถึง แควน้ สีพี ไดน้ าลกู ชา้ งเผือกขาวผอ่ งมาไวท้ ่ีโรงชา้ งตน้ ของพระเจา้ กรุงสณชยั ในวนั เดียวกบั ท่ีพระ
6 เวสสนั ดรประสูติ แลว้ นางชา้ งผเู้ ป็นมารดากจ็ ากไป ชา้ งปัจจยั นาเคนทร์จึงเป็นชา้ งคู่บุญของพระเวสสนั ดร อยา่ งแทจ้ ริง ทางราชการกาหนดเรียกศพั ทส์ าหรับเรียกชื่อช้างซ่ึงมีลกั ษณะพเิ ศษตามพระราชบญั ญตั ิรักษา ชา้ งป่ าพุทธศาสนา2464 ไวว้ า่ คาวา่ ชา้ งสาคญั ใหเ้ ขา้ ใจไวว้ า่ ชา้ งท่ีมีมงคลลกั ษณะ 7 ประการ ดงั น้ี ( 1.)ตาขาว ( 2.)เพดานขาว (3.)เลบ็ ขาว ( 4.)ขนขาว ( 5.)พ้นื หนงั ขาว หรือสีคลา้ ยหมอ้ ใหม่ ( 6.)ขนหางขาว (7.)อณั ฑโกสขาว หรือสีคลา้ ยหมอ้ ใหม่ 2.ประเพณีความเช่ือเกยี่ วกบั การขอฝน 2.1 ประเพณแี ห่นางแมว สงั คมไทยน้นั เป็นสังคมเกษตรกรรม การประกอบอาชีพทาสวนทาไร่จึง จาเป็นตอ้ งอาศยั น้าในการทาเป็นจานวนมากหากวนั ใดฝนที่เคยตกตอ้ งตามฤดูกาลน้นั ไม่ ตกตามฤดู ทาใหม้ นุษยป์ ระสบปัญหา แหง้ แลง้ สร้างความเดือดร้อนใหก้ บั เกษตรกร เพื่อใหฝ้ นตกจะไดม้ ีน้าเพยี งพอในการทาเกษตรกรรม จึงเกิดพิธีแห่นางแมวข้ึนมา โดย ความเชื่อเกี่ยวกบั ประเพณีแห่นางแมวน้นั มีความเชื่อวา่ ฝนท่ีตกลงมาเป็นเพราะเทวดา แต่บางความเชื่อกว็ า่ เมื่อแผ่นดินแหง้ แลง้ สิ่งแวดลอ้ มไมอ่ ดุ มสมบรู ณ์ มีควนั และ ละอองเขมา่ จะตอ้ งขอน้าจากเทวดามาช่วยลา้ ง เพราะน้าฝนเป็นน้าของเทวดา ซ่ึง คาวา่ เท โว แปลวา่ ฝน ความเช่ือพิธีแห่นางแมวมีเหตุอยหู่ ลายปัจจยั เช่น เกิดดินฟ้าอากาศ เปล่ียนแปลง ประชาชนชาวเมืองหยอ่ นในศีลธรรม จึงทาใหต้ อ้ งทาพธิ ีออ้ นวอนขอฝน ส่วนความเช่ือท่ีนาแมวมาเป็นสญั ลกั ษณ์ในพธิ ีน้นั เพราะเชื่อวา่ แมวเป็นสตั วท์ ี่เกลียดฝน
7 ถา้ ฝนตกคร้ังใดแมวจะร้องทนั ทีจึงถือเป็นเหตุ ใหฝ้ นตกลงมาและแมวเป็นสัตวท์ ี่มีอานาจ ลึกลบั ศกั ด์ิสิทธ์ิ เมื่อนามาทาพธิ ีแลว้ จะช่วยเรียกฝนใหต้ กลงมาได้ โดยมีความเชื่อวา่ เม่ือฝนไม่ตกใหใ้ ชส้ ตั วท์ ่ีมีสีเดียวกบั เมฆเพื่อเรียกฝน จะทาใหฝ้ นตกลงมาไดเ้ ช่นกนั และสตั วป์ ระเภทเดียวท่ีมีสีเมฆคอื แมวสีสวาท ประเพณีแห่นางแมวจดั ข้ึนในระหวา่ ง เดือน 7-9 นิยมจดั พิธีในปี ท่ีฝนฟ้าไมต่ กตามฤดูกาลและมีความแหง้ แลง้ 2.1.1 การทาพธิ ีแห่นางแมว ประเพณีแห่นางแมวจดั ข้ึนในระหวา่ งเดือน 7-9 นิยมจดั พิธีในปี ท่ีฝน ฟ้าไมต่ กตามฤดูกาลและมีความแหง้ แลง้ มาก ซ่ึงการทาพิธีน้นั ตอ้ งมีขบวนแห่ ผหู้ ญิงท่ีเขา้ ร่วมพิธีแห่ตอ้ งผดั หนา้ ขาว ทดั ดอกไมด้ อกโตๆ ร่วม กนั ร้องราทา เพลงที่สนุกสนาน เม่ือขบวนแห่ถึงบา้ นไหนแต่ละบา้ นจะออกมาตอ้ นรับ เพราะเกรงกลวั วา่ แมวจะโกรธและบนั ดาลไมใ่ หฝ้ นตก และมีความเช่ือวา่ หาก แห่นางแมวแลว้ ฝนจะตกภายใน3วนั หรือ7วนั และยงั สร้างความสามคั คใี หก้ บั คน ในหมบู่ า้ น 2.1.2. ข้นั ตอนการแห่นางแมว ในการแห่นางแมวน้นั คนในหมบู่ า้ นจะมารวมตวั กนั แต่งตวั สวยงาม นานางแมวตวั เมียพนั ธุ์สีสวาทต้งั แต1่ ตวั มาใส่กระบุงหรือตะกร้า สาเหตุท่ีเลือก แมวสีสวาทเพราะเช่ือวา่ สีขนแมวเป็นสีเดียวกบั เมฆ จะทาใหเ้ กิดฝนตก แต่บางท่ี กใ็ ชแ้ มวดา ก่อนจะนาแมวใส่กระบุง คนที่เป็นผูอ้ าวโุ ส จะพดู กบั นางแมววา่ นางแมวเอย...ขอฟ้าขอฝนให้ตกลงมาดว้ ยนะ พอหยอ่ นแมวใส่กระบงุ แลว้ ก็ยก กระบงุ น้นั สอดคานหามหวั ทา้ ย จะปิ ดหรือเปิ ดฝากไ็ ด้ ถึงเวลาพลบค่าก็เร่ิม ขบวนแห่โดยหนั กะทอแมวออกขา้ งหนา้ ตามดว้ ยคนวา่ คาเซ้ิงซ่ึงแตล่ ะทอ้ งถ่ินก็ ไมค่ อ่ ยเหมือนกนั แตส่ ่ิงท่ีรวมอยใู่ นคาเซ้ิง คือมีการพรรณนาถึงความแหง้ แลง้ และ ขอใหฝ้ นตกเหมือนกนั และผแู้ ห่วา่ ตามเป็นท่อนๆ ในขบวนแห่จะมีการตีเกราะ เคาะไมเ้ พ่อื ใหเ้ กิดจงั หวะ ผคู้ นจะสาดน้าหรือรดท่ีตวั แมวเพื่อใหเ้ ปี ยกและทาให้ แมวร้อง โดยทาการแห่รอบๆหมูบ่ า้ น
8 2.2ประเพณีบุญบ้ังไฟ ประเพณีบุญบ้งั ไฟ เป็นประเพณีหน่ึงของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาโดย มีตานานมาจากนิทานพ้ืนบา้ นของภาคอีสานเร่ือง พระญาคนั คาก เร่ืองผาแดงนางไอ่ ซ่ึงได้ กล่าวถึง การที่ชาวบา้ นไดจ้ ดั งานบญุ บ้งั ไฟเพ่ือเป็นการบูชา พระยาแถนหรือ เทพวสั สกาล เทพบุตรโดยมีความเช่ือวา่ พระยาแถนมีหนา้ ที่คอยดูแลใหฝ้ นตกถกู ตอ้ งตามฤดูกาล และมี ความชื่นชอบไฟเป็นอยา่ งมาก หากหมูบ่ า้ นใดไมจ่ ดั ทาการจดั งานบญุ บ้งั ไฟบูชา ฝนก็จะ ไม่ตกถกู ตอ้ งตามฤดูกาล อาจก่อใหเ้ กิดภยั พิบตั ิกบั หมู่บา้ นได้ ชาวบา้ นเช่ือวา่ มีโลกมนุษย์ โลกเทวดา และโลกเทวดา มนุษยอ์ ยใู่ ตอ้ ิทธิพลของเทวดา การราผฟี ้าเป็นตวั อย่างท่ี แสดงออกทางดา้ นการนบั ถือเทวดา และเรียกเทวดาวา่ “แถน” เมื่อถือวา่ มีแถนกถ็ ือวา่ ฝน ฟ้า ลม เป็นอิทธิพลของแถน หากทาใหแ้ ถนโปรดปราน มนุษยก์ ็จะมีความสุข ดงั น้นั จึงมี พิธีบูชาแถน การจุดบ้งั ไฟก็อาจเป็นอีกวิธีหน่ึงท่ีแสดงความเคารพหรือส่งสัญญาณความ ภกั ดีไปยงั แถน คาวา่ ในภาษาถิ่นอีสานจึงเรียกวา่ บ้งั ไฟ ซ่ึงหมายถึงดอกไมไ้ ฟชนิด หน่ึง มีหางยาวเอาดินประสิวมาควั่ กบั ถ่านไมต้ าใหเ้ ขา้ กนั จนละเอียดเรียกวา่ หม่ือ หรือ ดินปื น และเอาหม่ือน้นั ใส่กระบอกไมไ้ ผต่ าใหแ้ น่นเจาะรูตอนทา้ ยของบ้งั ไฟ เอาไผท่ ่อน อื่นมดั ติดกบั กระบอกใหใ้ ส่ หม่ือ โดยรอบ เอาไมไ้ ผย่ าวลาหน่ึงมามดั ประกบต่อออกไป เป็นหางยาว สาหรับใชถ้ ่วงหวั ใหส้ มดุลกนั เรียกวา่ “บ้ังไฟ” ในทศั นะของผวู้ ิจยั บ้งั ไฟ คอื การนาเอากระบอกไมไ้ ผ่ เลาเหลก็ ทอ่ เอสลอน หรือเลาไมอ้ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึงมา บรรจุหม่ือ หรือดินปื น ตามอตั ราส่วนท่ีช่างกาหนดไวแ้ ลว้ ประกอบทอ่ นหวั และทอ่ น หางเป็นรูปต่างๆ ตามท่ีตอ้ งการ เพอื่ นาไปจุดพงุ่ ข้ึนสู่อากาศ จะมีควนั และเสียงดงั บ้ังไฟมีหลายประเภทตามจุดมงุ่ หมายของประโยชน์ในการใชส้ อยบุญบ้งั ไฟ นิยมทากนั ในเดือนหก ถือเป็นประเพณีสาคญั ท่ีจะขาดไม่ได้ เพราะต้งั แต่โบราณจนถึง ปัจจุบนั ชาวอีสานมีความเช่ือวา่ ถา้ ปี ใดไมจ่ ดั งานบุญบ้งั ไฟ ฟ้าฝนกจ็ ะไมต่ กตอ้ งตาม ฤดูกาล เกิดความแหง้ แลง้ ไม่มีน้าทานา แต่ถา้ ปี ใดจดั งานประเพณีบุญบ้งั ไฟ ฟ้าฝนก็จะตก ตอ้ งตามฤดูกาล เกิดความอุดมสมบรู ณ์ ปราศจากโรคภยั งานบญุ บ้งั ไฟจึงถือเป็นงาน ประเพณีประจาปี ที่สาคญั ของชาวอีสาน พอใกลถ้ ึงวนั งานชาวอีสานไม่วา่ จะอยทู่ ่ีไหนก็
9 จะกลบั บา้ นไปร่วมงานบญุ บ้งั ไฟซ่ึงเป็นงานที่สร้างความรักความสามคั คีของคนทอ้ งถ่ิน เป็นอยา่ งดี บุญบ้งั ไฟ เป็นหน่ึงในฮีตสิบสองเดือนของชาวอีสาน นิยมทากนั ในเดือน 6 หรือ เดือน 7 อนั เป็นช่วงฤดูฝนเขา้ สู่การทานา ตกกลา้ หวา่ น ไถ เพ่อื เป็นการบูชา แถนขอฝนใหต้ กตอ้ งตามฤดูกาล เหมือนกบั การแห่นางแมวของคนภาคกลาง ในสอง พธิ ีกรรมที่อยคู่ นละภาคน้ีมีความคลา้ ยคลึงกนั ในเร่ืองของสญั ลกั ษณ์ท่ีใชอ้ นั ส่อไปทาง เพศสัมพนั ธ์ เช่น การใชไ้ มม้ าแกะสลกั เป็นอวยั วะเพศชายเรียกวา่ \"บกั แบน้ \" หรือ \"ปลดั ขกิ \" ในอีสานหรือ \"ขนุ เพด็ \" ในภาคกลางเขา้ ร่วมขบวนแห่ท้งั ยงั มีการร้องเซ้ิงดว้ ย เน้ือหาท่ีเก่ียวกบั อวยั วะเพศสัญลกั ษณ์น้ีเป็นเคร่ืองหมายของความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ฟ้ากบั ดินหญิงกบั ชายท่ีเป็นพลงั ก่อกาเนิดชีวิต และเป็นพลงั แห่งความอดุ มสมบรู ณ์ จึงมี ความสมั พนั ธก์ บั การขอฝน ซ่ึงเป็นท่ีมาของพลงั แห่งการเติบโตของพชื และดว้ ยเหตุที่ อวยั วะเพศ และเพศสมั พนั ธ์เป็นสัญลกั ษณ์สาคญั ของงานบุญ จึงถือวา่ งานบญุ บ้งั ไฟเป็น งานบญุ ของพระยามาร ซ่ึงจดั แขง่ กบั งานบญุ ของพระพุทธเจา้ 2.3 การแห่นางด้ง การแห่นางดง้ เป็นประเพณีพ้นื บา้ นของชาว อาเภอ นครไทย จงั หวดั พิษณุโลก เป็นประเพณีเกี่ยวกบั ความเจริญงอกงามของพืชพนั ธุ์ธญั ญาหาร เพราะ ชาวบา้ นในสมยั โบราณประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดารงชีวติ อยกู่ บั ธรรมชาติ ซ่ึงการ ท่ี จะใหพ้ ชื พนั ธุ์เตม็ ไปดว้ ยความอุดมสมบรู ณ์ ตอ้ งอาศยั น้าจากฝนที่ตกตอ้ งตามฤดูกาล เม่ือ ฝนห่างฟ้าไปจะทาใหเ้ กิดความแหง้ แลง้ น้าในการทาเกษตรกรรมกไ็ ม่เพยี งพอ เพ่ือให้ ฝนตกลงมาใหค้ วามชุ่มช้ืนแก่ไร่นา ชาวบา้ นจึงร่วมกนั ทาพิธีกรรมตามความเชื่อที่ตก ทอดมาจากบรรพบุรุษ เพ่อื ใหผ้ สี างที่แฝงอยใู่ นธรรมชาติช่วยดลบนั ดาลใหฝ้ นตกมา ตามที่ตอ้ งการ ประกอบกบั การแห่นางดง้ มีเพลงประกอบอนั เป็นเพลงพ้นื บา้ นท่ีใชส้ าหรับ ขอฝน ข้นั ตอนและวิธีการแห่นางดง้ การแห่นางดง้ มีรูปแบบเป็นการเสี่ยงทาย โดยผี นางดง้ ท่ีจะมาเขา้ ทรงกบั ผหู้ ญิงซ่ึงเป็นร่างทรง มีอปุ กรณ์การเลน่ คือ กระดง้ ฝัดขา้ ว 2ใบ สากไมต้ าขา้ ว 2 อนั และอปุ กรณ์ในการเชิญผีนางดง้ ไดแ้ ก่ หมากพลู ดอกไม้ ธูปเทียน น้า แป้งหอม ขา้ วสุก พริก และเกลือ ส่วนการเลน่ เร่ิมดว้ ยการนาสาก 2 อนั วางกลบั กนั ไวต้ รง
10 กลางสมมติใหเ้ ป็นเจา้ บา่ วของนางดง้ ซ่ึงเป็นคนพิเศษท่ีเคยทาพิธีมาแลว้ จากน้นั ก็ยนื จบั กระเดง้ ไวค้ นละใบ มีชาวบา้ นหญิงชาย ยนื ลอ้ มวงคนทรง โดยคนทรงส่วนใหญเ่ ป็นคน แก่ในหมู่บา้ น ส่วนชาวบา้ นจะช่วยกนั ร้อง เพอ่ื เชิญใหผ้ ีนางดง้ มาสิงท่ีกระดง้ แลว้ จบั กระดง้ ใหส้ ่ันและพากระดง้ ร่อนไปเร่ือยๆ จากน้นั ชาวบา้ นก็จะเสี่ยงทายหาของเมื่อซ่อน เสร็จแลว้ เกิดนางผีดง้ หาเจอแสดงวา่ ปี น้นั ฟ้าฝนจะสมบรู ณ์และตกตอ้ งตามฤดูกาล 2.4สวดมนต์ปลาช่อนเส่ียงทายฝน พธิ ีสวดมนตป์ ลาช่อน หรือปลาค่อ เป็นพธิ ีและประเพณีโบราณของทาง อีสานเป็นวิธีการ ขอฝนจากเทวดาฟ้าดิน พธิ ีสวดคาถาปลาช่อนมกั พบในหมบู่ า้ นแปด ออ้ ม จงั หวดั กาแพง โดยเป็นประเพณีเก่าแก่ ซ่ึงจะมีการนาดินมาป้ันเป็นรูป ปลาช่อน ปู เต่า ววั ควาย คน และกบ เพื่อเตรียมการประกอบพิธีสวดคาถาปลาช่อนจานวน 108 จบ จะจดั ประเพณีน้ีข้ึนยามฝนฟ้าไมต่ กตามฤดูกาลและเกิดความแหง้ แลง้ ในปี น้นั กจ็ ะจดั ใหม้ ีพิธีสวดมนตป์ ลาช่อน เพือ่ เส่ียงทายถามวา่ ปี น้ีฝนจะตกตอ้ งตามฤดูกาลหรือไม่ โดยจะขอฝนกลางทุ่งนา มีการวางเคร่ืองเซ่นไหวส้ ักการะ เพือ่ แยะระหวา่ มนุษยช์ ้นั ลา่ ง และสวรรคช์ ้นั ฟ้า เพื่อใหเ้ ทวดาเห็นวา่ มนุษยเ์ ดือดร้อน เรื่องฝนฟ้าไมต่ กตาม ฤดูกาล พิธีการเริ่มจากชาวบา้ นไดน้ ิมนตพ์ ระสวดเจริญพระพุทธมนตแ์ ละท่องคาถา มนตป์ ลาช่อน เพ่ือขอฝนและทาการเสี่ยงทายปลาช่อนจานวน 3 ตวั ที่ปลอ่ ยลงหลมุ ขนาดเลก็ ท่ีชาวบา้ นขดุ ไว้ สูงประมาณสาม สิบเซน โยงสายสิญจน์ใหพ้ ระ 9 รูป สวดมนตค์ าถาปลาช่อน โดยมีความเช่ือวา่ หากปลากระช่อนกระโดดออกจากหลุม จะ มีความโชคดี น้าฝนจะตกตอ้ งตามฤดูกาล มีฝนเพียงพอต่อการทาการเกษตรและการ ดารงชีวิต พธิ ีสวดมนตป์ ลาช่อน ถือเป็นพิธีโบราณที่มีอา้ งอิงตามพุทธตานาน ท่ี กล่าวถึงชาดกตอนหน่ึง โดยมีชาติกาเนิดชาติหน่ึงพระโพธิสตั วท์ ่ีเกิดเป็นพญาปลา แลว้ เกิดแลง้ น้า พญาปลาจึงต้งั จิตอธิษฐานใหเ้ ทวดาเทฝนลงมา ซ่ึงเป็นท่ีมาของบท ขอฝน หรือมจั ฉาราช จริยะจะจดั ใหม้ ีพธิ ีสวดมนต์ ต่อเน่ืองกนั จานวน 3 วนั ตามคติความเชื่อ โบราณท่ีบรรพบุรุษไดถ้ ่ายทอดและเล่าข้นั ตอน และวธิ ีในการจดั สวดมนต์ ปลาช่อน ซ่ึง การสวดมนตป์ ลาช่อนก็ไม่แตกต่างจากประเพณีแห่นางแมว โดยพ้ืนท่ีบา้ นโคกหมอ้ ได้ ใชป้ ลาช่อนมาเส่ียง ทายแทนแมว
11 2.5ประเพณีเล่นเพลงปรบไก่ ประเพณีเล่นเพลงปรบไก่ เป็นกาลละเลน่ ของชาวบา้ นตาบลลาดโพธ์ิ อาเภอ บา้ นลาด เป็นการบวงสรวงศาลหลวงป่ ู เพ่อื ขอใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดูกาล น้าท่าอุดม สมบูรณ์ โดยจะเล่นกนั ในวนั เพญ็ เดือน 6 พธิ ีจดั ข้นึ เน่ืองจากเกิดความแหง้ แลง้ ฝนฟ้า ไม่ตกตามฤดูกาล ชาวบา้ นไดร้ ับความเดือดร้อน เพราะน้าไมพ่ อใชใ้ นการทาเกษตรและ อปุ โภค แมจ้ ะใชว้ ิธีไหนในการแกป้ ัญหากไ็ ม่ไดผ้ ล จึงชกั ชวนกนั มาบนบานขอฝนต่อ ศาลประจาหมบู่ า้ น โดยบนบานวา่ ถา้ ฝนตกจะบวงสรวงและเลน่ เพลงปรบไก่ เป็นการ ถวาย ซ่ึงการเล่นเพลงปรบไก่น้ี ทาใหฝ้ นฟ้าตกตามฤดูกาล มีน้ากิน น้าใช้ ชาวบา้ นจึง จดั การบวงสรวงและเลน่ เพลงปรบไก่เป็นการถวายประจาทกุ ปี เพ่ือความอุดมสมบรู ณ์ ถา้ ปี ใดไมเ่ ล่นเพลงปรบไก่ถวายกจ็ ะมีอนั เป็นไป เช่น ปี ใดท่ีชาวบา้ น ไม่เลน่ เพลงปรบ ไก่ แต่จดั ใหม้ ีการเล่นเพลงพวงมาลยั และเพลงฉ่อยถวายแทนปรากฏวา่ ตน้ สาโรงใหญ่ ในหมู่บา้ นเกิดลม้ มาท้งั ท่ีตน้ ไมน้ ้ีมีความแขง็ แรงดีและไมม่ ีพายหุ รือลมใดๆ ทาใหม้ ีคน บาดเจบ็ ละเสียชีวติ ชาวบา้ นจึงเช่ือวา่ หลวงป่ สู ถิต ณ ศาลาประจาหมู่บา้ นไมช่ อบเพลง พ้นื เมืองใด นอกจากเพลงปรบไก่เพยี งอยา่ งเดียว ต้งั น้นั เป็นตน้ มาชาวบา้ นจึงไม่เล่นเพลง พ้นื เมืองไปถวายแทนที่เพลงปรบไก่ พธิ ีกรรมประเพณีเล่นปรบไก่ขอฝนการเลน่ เพลงปรบไก่ของชาวบา้ นจงั หวดั เพชรบุรี จะเล่นในวนั เพญ็ เดือน 6 เป็นประจาทกุ ปี พอถึงวนั งานบรรดาชาวบา้ นดอน ขอ่ ย ไร่คาและวงั บวั จะเดินทางกลบั มาเขา้ ร่วมพิธี โดยผชู้ ายจะช่วยเตรียมสถานที่ ส่วน ผหู้ ญิงจะทาอาหารกบั แกลม้ และน้าตาลเมามาให้ ตอนเชา้ ชาวบา้ นจะจดั เตรียมอาหาร คาวหวาน มาทาบุญเล้ียงท่ีศาลและถวายหลวงป่ ูท่ีสถิตอยทู่ ่ีศาลประจาหมู่บา้ น โดยพ่อ เพลงจะนุ่งผา้ โจงกระเบนจะใชผ้ า้ สีสด สวมเส้ือสี หรือผา้ ดอกลายสวยงามทดั ดอกไม้ สองขา้ งไวด้ า้ นหลงั อาจใชค้ าดเอวกไ็ ด้ ส่วนผหู้ ญิงจะนุ่งผา้ โจงกระเบน สวมเส้ือคอกลม แขนกระบอก ซ่ึงจะใชผ้ า้ สีสด ผา้ ลกู ไมห้ รืออื่นๆ ท่ีนิยมห่มสไบสีต่างๆ ทดั ดอกไมห้ รือ อาจมีเครื่องประดบั อื่นๆ เมื่อถึงเวลาพ่อเพลง แม่เพลงจะมาพร้อมกนั ท่ีศาลาสาหรับเลน่ เพลง จะมีผหู้ ญิงหน่ึงคนทาหนา้ ที่เป็นร่างทรง โดยพ่อเพลงที่อาวโุ สจะเป็นผนู้ าพิธีไหว้ ครู แลว้ สวดชุมนุมเทวดาหรือเรียกอีกอยา่ งวา่ บทสคั เค จากน้นั จะกล่าวเชิญเจา้ ตา่ งๆ รวมท้งั พ่อป่ ูใหม้ าสถิตในสถานที่น้นั เพื่อเป็นสิริมงคลแก่คนในหมู่บา้ น เมื่อวิญญาณ หลวงป่ ูมาสถิตชาวบา้ นจะเริ่มการเล่นเพลงปรบไก่ ชาวบา้ นที่มีเรื่องทกุ ขร์ ้อนจะมา ขอใหเ้ สกเหลา้ หรือน้าดื่ม ซ่ึงเช่ือวา่ จะเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัวและนาเงินมา
12 ถวายบารุงศาลาจากน้นั วิญญาณก็จะออกจากร่างทรงแลว้ วญิ ญาณอ่ืนก็จะมาเขา้ ทรง เม่ือ ถึงเวลาพ่อเพลงจะถือพานใส่ดอกไมธ้ ูปเทียนและเงินคา่ กานลั แลว้ เร่ิมกลา่ วคาไหวค้ รู โดยฝ่ายชายเร่ิมกล่าวคาไหวก้ ่อนและสลบั กนั กบั ฝ่ายหญิง จนจบบทไหวค้ รูลงปี่ พาทยร์ ับ สาธุการจากน้นั ผเู้ ล่นลุกข้นึ ต้งั วงและราถวายมือ ซ่ึงฝ่ายชายจะออกมาเลน่ รากลางวง ทา่ ราของฝ่ายชายจะปัดไปมาคลา้ ยกบั อาการป้อของไก่ตวั ผู้ อาจเป็นเพราะลกั ษณะการราน้ี จึงถูกเรียกวา่ เพลงปรบไก่ โดยเรื่องท่ีใชเ้ ลน่ เพลงปรบไก่มีอยู่ 2 เร่ือง คอื เรื่องไกรทอง และสุวญิ ชาเมื่อร้องราแลว้ เหน่ือยกจ็ ะกินหมากและดื่มน้า ดื่มเหลา้ ที่วางไว้ พอหาย เหนื่อยก็จะร้องราต่อจนจบเร่ือง พอเสร็จพอ่ เพลงและแม่เพลงจะมาร้องเพลงลา และส่ง วญิ ญาณที่เชิญมาทรงกลบั ถ่ินของตน
13 บทท3ี่ ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน วิธีการดาเนนิ โครงงาน การจดั การโครงงานประวตั ิศาสตร์ เร่ืองประเพณีแห่ชอ้ งเผือกอาเภอทุ่งหวั ชา้ ง ผจู้ ดั ทามีวธิ ีการ ดาเนินงานตามข้นั ตอนทางประวตั ิศาสตร์ท้งั 5ข้นั ตอน ดงั น้ี ข้นั ตอนที1่ กาหนดหวั ขอ้ เรื่องที่จะศึกษา โดยกลุ่มของขา้ พเจา้ ไดป้ รึกษากนั ในวนั ที่ 4 มกราคม 2565 จึงไดป้ ระเดน็ ท่ีจะศึกษาคือ ศึกษาประเพณีแห่ชา้ งเผือกอาเภอท่งุ หวั ชา้ ง มีการดาเนินการ และจดั ทาเคา้ โครงเพ่ือส่งให้ครูท่ีปรึกษาและขอคาแนะนา ในวนั ที่16 มกราคม 2565 กลุ่มของขา้ พเจา้ จึงนดั รวมกนั ในวนั ท่ี19 มกราคม 2565 เพ่ือดาเนินการต่อ ข้นั ตอนที2่ สืบคน้ และรวบรวมขอ้ มูล กลุ่มของขา้ พเจา้ ไมส่ ามารถลงพ้นื ที่ไดเ้ นื่องจาก สถานการณ์ COVID-19 จึงไดท้ าการคน้ ควา้ ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซต์ จานวน 3 เวบ็ ไซต์ - https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/840264/ - https://www.m-culture.go.th/th/article_view.php?nid=4350 - https://www.youtube.com/watch?v=khelbhtLDFI และคน้ ควา้ จากหนงั สือ จานวน3เล่ม -สารานุกรมไทยฉบบั เยาวชนเล่มท่ี18 -สารานุกรมไทยฉบบั เยาวชนเล่มท่ี17 -หนงั สือเรียนประวตั ิศาสตร์ ข้นั ตอนท่3ี ประเมินคณุ คา่ ของหลกั ฐาน กลุ่มของขา้ พเจา้ ก็ไดน้ าขอ้ มูลท่ีรวบรวมเอาไวเ้ พ่ือมา ทาการประเมินคุณค่าของหลกั ฐานท่ีได้ มาพิจารณาเพ่ือจะไดข้ อ้ มูลที่ถูกตอ้ ง ในวนั ท่ี6กุมภาพนั ธ์2565 ซ่ึง ใชเ้ หตผุ ลและรายละเอียดต่างๆเป็นแนวทางในการเขียนขอ้ มลู เพอื่ หาขอ้ เทจ็ จริงประวตั ิความเป็นพิธีกรรม และวสั ดุอปุ กรณ์ของประเพณีแห่ชอ้ งเผอื กอาเภอทงุ่ หวั ชา้ ง ข้นั ตอนที4่ นาขอ้ มูลมาวิเคราะห์ สงั เคราะหแ์ ละจดั หมวดหมู่ กลมุ่ ของขา้ พเจา้ ไดน้ าขอ้ มลู ท่ี สืบคน้ มาจากอินเตอร์เนต็ หนงั สือ และแหล่งขอ้ มลู ที่เช่ือถือไดม้ าจดั เป็นหมวดหมู่ ดงั น้ี
14 1.ประวตั ิความเป็นมาของประเพณีแห่ชา้ งเผือกอาเภอทงุ่ หัวชา้ ง -ลกั ษณะของชา้ งเผือก 2.ข้นั ตอนของประเพณีแห่ชา้ งเผือกอาเภอทุ่งหวั ชา้ ง -เสน้ ทางในการแห่ชา้ งเผือก 3.พิธีกรรมของประเพณีแห่ชา้ งเผือก -พิธีการสวดมนตข์ อฝน -การตกั บาตร -การสืบชะตาแมน่ ้า 4.วสั ดุ อปุ กรณ์ ในการทาชา้ งเผือก ข้นั ตอนท่5ี เรียบเรียงและนาเสนอ กลุ่มของขา้ พเจา้ นาขอ้ มูลท้งั หมดที่ไดจ้ ากแหลง่ ต่างๆมา วเิ คราะห์ สังเคราะห์และจดั หมวดหมมู่ าเรียบเรียง ดาเนินการดงั น้ี -จดั ทาโครงงานนาเสนอ -นาเสนอโครงงาน
15 ตารางการปฏิบตั ิงาน ลาดบั ข้นั ตอนการทางาน ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ คณะผจู้ ดั ทาโครงงาน 1 การต้งั ประเด็นท่ีจะศึกษา 4 มกราคม 2565 คณะผจู้ ดั ทาโครงงาน - กาหนดหวั ขอ้ ท่ีจะศึกษา 16 มกราคม 2565 คณะผจู้ ดั ทาโครงงาน - จดั ทาเคา้ โครง โครงงาน 19 มกราคม 2565 -วางแผนปฏิบตั ิงาน คณะผจู้ ดั ทาโครงงาน 2 รวบรวมขอ้ มลู 20 มกราคม 2565 -คน้ ควา้ หาขอ้ มูลจากหนงั สือต่างๆ 21 มกราคม 2565 -คน้ ควา้ หาขอ้ มลู จากเวบ็ ไซตต์ ่างๆ 3 ประเมินคุณคา่ ของขอ้ มูล -นาขอ้ มูลที่รวบรวม มาทาการประเมินคณุ ค่า 7-11 กุมภาพนั ธ์ 2565 ของหลกั ฐาน 4 วเิ คราะห์และตีความหลกั ฐานและขอ้ มลู 15-19 กุมภาพนั ธ์ 2565 -นาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ สังเคราะหแ์ ละจดั หมวดหมู่ มาจดั เป็นหมวดหมู่ 5 การนาเสนอ 21-25 กุมภาพนั ธ์ 2565 คณะผจู้ ดั ทาโครงงาน -จดั ทารูปเล่มโครงงาน 26 กุมภาพนั ธ์ 2565 -นาโครงงานใหก้ บั ครูที่ปรึกษา
16 บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน ผลการศึกษาโครงงานประวตั ิศาสตร์ในทอ้ งถิ่นเรื่อง ประเพณีแห่ชา้ งเผือกอาเภอทุง่ หวั ชา้ ง เป็นประเพณีท่ีเก่ียวกบั การขอฝนเพื่อใชใ้ นการประดารงชีวติ ประจาวนั ในดา้ นตา่ งๆเช่น ดา้ นการเกษตร ดา้ นการอุปโภค บริโภค ผศู้ ึกษาไดศ้ ึกษาโครงงาน ดงั น้ี 1.อาเภอท่งุ หัวช้าง จงั หวดั ลาพูน อาเภอทุ่งหวั ชา้ งต้งั อยทู่ างทิศใตข้ องจงั หวดั มีระยะห่างจากในอาเภอเมืองลาพนู ประมาณ 86 กิโลเมตร อาเภอท่งุ หวั ชา้ ง แยกตาบลตะเคยี นปม ตาบลทุ่งหวั ชา้ ง และตาบลบา้ นปวง อาเภอทุ่งหวั ชา้ ง มี พ้ืนที่ท้งั หมดประมาณ 950 ตร.กม. อาเภอทุ่งหวั ชา้ ง ออกจากเขตการปกครองของอาเภอล้ี จงั หวดั ลาพนู มาจดั ต้งั เป็นก่ิงอาเภอ ทงุ่ หวั ชา้ ง ดว้ ยเหตุผลท่ีวา่ ท้งั สามตาบลอยหู่ ่างไกลจากตวั อาเภอล้ีการ คมนาคมไมส่ ะดวก ประกอบกบั มีการแทรกซึมของพรรคคอมมิวนิสแห่งประเทศไทย จึงจาเป็นตอ้ งแยก แลว้ จดั ต้งั เป็นก่ิงอาเภอ ในระยะเริ่มแรกทางราชการไดใ้ ชส้ ถานีอนามยั ตาบล ทงุ่ หวั ชา้ งเป็นที่วา่ การ ชว่ั คราว ต่อมาเม่ือเห็นวา่ คบั แคบจึงไดย้ า้ ยมาอาศยั อาคารเรียนในบริเวณโรงเรียนชุมชนทุ่งหวั ชา้ งและได้
17 ยา้ ยมาอยยู่ งั ที่วา่ การอาเภอทุง่ หวั ชา้ งปัจจุบนั น้ี มีพ้นื ที่ประมาณ 29 ไร่ ต้งั แต่วนั ท่ี 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 เป็นตน้ มา ไดร้ ับการประกาศยกฐานะข้ึนเป็น \"อาเภอทงุ่ หวั ชา้ ง\" อาเภอทุ่งหวั ชา้ ง มีสภาพเช่นเดียวกบั ภาคเหนือทว่ั ไป มีท่ีราบแคบ ๆ ประมาณร้อยละ 30 สลบั กบั เทือกเขาสูง ต่า ประมาณร้อยละ 70 บริเวณท่ีเป็นท่ีราบ ไดแ้ ก่ ท่ีราบสองขา้ งลาน้าล้ี ตอนกลาง ของอาเภอระดบั ความสูง 300-600 เมตรจากระดบั น้าทะเล เป็นแนวยาวตรง จากทิศเหนือไปทิศใตแ้ ละเป็น ที่ต้งั ของชุมชนต่างๆของอาเภอ ส่วนบริเวณที่เป็นหุบเขาสูง ต่า ไดแ้ ก่ เทือกเขาทางดา้ นทิศตะวนั ออกและ ตะวนั ตก ขนานสองขา้ งลาน้าล้ี ระดบั ความสูงประมาณ700-1,200 เมตร จากระดบั น้าทะเล อีกดา้ นหน่ึง ไดแ้ ก่ เทือกเขาทางดา้ นทิศใตข้ องตาบลบา้ นปวง มีความสูงประมาณ 700-900 เมตร บริเวณเทือกเขาเหล่าน้ี นอกจากจะเป็นแหล่งกาเนิดของตน้ น้า ลาธารสายเลก็ สายนอ้ ยแลว้ บางส่วนยงั เป็นท่ีอยอู่ าศยั และที่ดินทา กินของชาวบา้ น 2.ทีต่ ้ังของแม่น้าขุนลี้ อา่ งเกบ็ นา้ ขนุ ลี ้
18 อา่ งเก็บน้าขนุ ล้ี จากแหลง่ ตน้ กาเนิดของลาน้าล้ีที่ดอยสบเทอม บา้ นหนองหลกั หมู่ 9 ตาบล ตะเคยี นปม อาเภอ ทงุ่ หวั ชา้ ง มีความยาวประมาณ 180 กิโลเมตร ที่อยรู่ ะหวา่ งอาเภอแม่ทา และ อาเภอทุ่งหวั ชา้ ง จงั หวดั ลาพูน เป็นเขตติดต่ออาเภอเสริมงาม จงั หวดั ลาปางถึงล้ีท่ีจรดน้าแมป่ ิ งท่ี บา้ น วงั สะแกง อาเภอเวยี งหนองล่องครอบคลุมพ้ืนที่4 อาเภอ คืออาเภอล้ี อาเภอบา้ นโฮ่ง อาเภอทุ่งหวั ชา้ ง และ อาเภอเวียงหนองล่อง แม่น้าล้ีมีความสาคญั มากต่อวถิ ีชีวิตของผคู้ นในพ้ืนที่เพราะถือเป็นสายน้าหลกั และท่ี หล่อเล้ียงการเกษตรกรของผคู้ นในพ้นื ท่ี 3.ประวัตคิ วามเป็ นมาของประเพณีแห่ช้างเผือกอาเภอท่งุ หัวช้าง ความเป็นมา \"ประเพณีแห่ชา้ งเผือก” อาเภอทุ่งหวั ชา้ ง จงั หวดั ลาพูน ถา้ หากปี ใดเกิด วกิ ฤตการณ์ทางธรรมชาติ บา้ นเมืองเกิดแหง้ แลง้ ฝนไมต่ กตอ้ งตามฤดูกาล แม่น้าแหง้ ขอด ชาวบา้ นจะจดั พิธีขอฟ้าของฝนข้ึนมา โดยเฉพาะจะทากนั ในช่วงเดือนกรกฎาคม เดือน9ของชาวลา้ นนาก่อนเขา้ พรรษา เพราะเป็นฤดูกาลที่ชาวนาตอ้ งหวา่ นกลา้ ขา้ ว มีฝนตกตอ้ งตามฤดูกาล บา้ นเมืองชุ่มฉ่า อยเู่ ยน็ เป็นสุข ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ จะชนะศึกศตั รู หมู่มารทกุ หมูเ่ หล่าชา้ งเผือกเม่ือเกิดมีในบา้ นเมืองใดชาวบา้ นหรือ เจา้ ของชา้ ง ส่วนมากมกั จะตอ้ งนาชา้ งไปถวายเจา้ เมืองผคู้ รองนครบา้ นเมืองน้นั ชาวบา้ นหรือเจา้ ของชา้ งจะ ไมเ่ ล้ียงเอาไวเ้ หมือนชา้ งเชือกอื่นๆ
19 ความสาคญั ของชา้ งเผือกที่ชาวบา้ นนามาเป็นสัญลกั ษณ์ในพิธีกรรมขอฝนน้นั กล่าวคอื ชา้ งเผือกเป็น ชา้ งมงคลหากเกิดข้ึนในบา้ นเมืองใด จะทาใหบ้ า้ นเมืองน้นั อดุ มสมบูรณ์ดว้ ยพชื พรรณธญั ญาหารมีฝนตก ตอ้ งตามฤดูกาล บา้ นเมืองจะชุ่มฉ่าอยเู่ ยน็ เป็นสุข ขณะเดียวกนั ในชาดกเร่ืองพระเวสสันดร มีชา้ งเผือก มงคลช่ือ พระยานาเคน ซ่ึงเป็นชา้ งคูบ่ ารมีพระเวสสันดรซ่ึงชา้ งเผอื กในชาดกเรื่องพระเวสสันดรวา่ เม่ือคร้ัง นางกุษฏีไดใ้ หป้ ระสูตพระเวสสนั ดร ขณะน้นั ไดม้ ีนางชา้ งเชือกหน่ึงไดพ้ าลกู ชา้ งเขา้ มายงั โรงชา้ ง ลูกชา้ ง เชือกน้นั เป็นลูกชา้ งเผือกท่ีมีลกั ษณะต่างจากชา้ งทว่ั ไป นบั แต่วนั ท่ีชา้ งเผือกไดเ้ ขา้ มาอยใู่ นเมืองของพระเจา้ สนชยั น้าท่ากอ็ ุดมสมบูรณ์ พืชพรรณธญั ญาหารก็เจริญงอกงาม ประชาชนพลเมืองอยเู่ ยน็ เป็นสุข คร้ันวนั หน่ึงมีเมืองอีกเมืองชื่อ กรินทราช ไดส้ ่งพราหมณ์ 8 รูป มาขอชา้ งเผือกมงคลน้ีจาก พระเวสสนั ดร เหตุเพราะเมืองกรินทราชเกิดภาวะแหง้ แลง้ ฝนไม่ตกตอ้ งตามฤดูกาล พชื พรรณลม้ ตาย ชาวเมืองเกิดความ เดือดร้อน พระเวสสันดรซ่ึงขณะน้นั ไดบ้ าเพญ็ ทานบารมี ก็ไดส้ ่งพระยานาเคนท์ ชา้ งเผือกมงคลใหแ้ ก่ เมืองกรินทราช เม่ือไดช้ า้ งเผือกไปฝนฟ้ากต็ กตอ้ งตามฤดูกาล น้าทา่ อุดมสมบรู ณ์ ลกั ษณะของชา้ งเผือก ชา้ งเผือกมีลกั ษณะ 7 ประการ ดงั น้ี 1.ตาขาว มีดวงตาสีขาวเร่ือๆ เหมือนตาน้าขา้ ว 2.เพดานขาว มีเพดานปากขาวดุจเน้ือในของเผือกมนั 3.เลบ็ ขาว มีเลบ็ ขาวเหมือนงานของมนั เองท้งั หมด 4.พ้นื หนงั ขาว สีคลา้ ยหมอ้ ดินใหมท่ ว่ั สรรพางคก์ าย 5.ขนหางขาว มีขนที่หางเป็นพวงพมุ่ ลดหลน่ั กนั จนถึงน่อง 6.ขนขาวมีขนทว่ั สรรพางคก์ ายเป็นสีขาวนวล 7.อณั ฑะขาว
20 ษณ ข จากชาดกเร่ืองพระเวสสนั ดร ซ่ึงกายมาเป็นตน้ แบบแนวคิดประเพณีแห่ชา้ งเผือกของคนลุม่ น้า น้ีโดยประเพณีแห่ชา้ งเผอื กน้ี ไดเ้ ร่ิมข้ึนเม่ือประมาณ 40 – 50 ปี ท่ีแลว้ ชาวบา้ นในลุ่มน้าล้ีเกิดปัญหาภยั แลง้ จากการที่ฝนไม่ตก ทาใหช้ าวบา้ นไมส่ ามารถทานาในช่วงกรกฎาคมน้นั ได้ จึงมีการคดิ แบบแผนท่ีจะ นามาใชก้ บั พ้นื ที่ลุ่มน้าล้ีโดยนาชา้ งเผอื กในชาดกเร่ืองพระเวชสันดรมาเขา้ ร่วมพธิ ีกรรม โดยครูบาจกั ร ธรรมจกั โก เป็นผรู้ ิเริ่มนาชาวบา้ นประกอบพธิ ีแห่ชา้ งเผอื ก โดยเริ่มจากการ สานไมไ้ ผเ่ ป็นรูปชา้ งแลว้ นาฝ้ายมาทาใหเ้ ป็นชา้ งเผือก ซ่ึงในปัจจุบนั ไม่มีใครสามารถสานชา้ งดว้ ยไมไ้ ผ่ เพราะกรรมวิธีค่อนขา้ งจะยากตอ้ งอาศยั ฝีมือและความชานาญอยา่ งสูง หลงั จากน้นั ก็จะนาชา้ งเผือกแห่ไป ตามลาน้าล้ี โดยจะแห่ต้งั แต่ปลายน้าไปสู่ตน้ น้า การแห่จะส่งตอ่ กนั เป็นทอดๆระหวา่ งชุมชนตา่ ง ๆ ที่อาศยั อยตู่ ามล่มุ น้าล้ี ในช่วงเวลาที่ประกอบพธิ ีกรรมจะมีการฟังธรรมน้าแมล่ ้ีเทศนาปลาช่อน ฟังธรรมพญา คางคก ซ่ึงเป็นพิธีกรรมทางพุทธศาสนาควบคไู่ ปดว้ ย
21 ทิ ิ ท จ ธ จโ จ ธ จโ ภายหลงั จากครูบาจกั ร ธรรมจกั โก เจา้ อาวาสวดั ทุ่งโป่ ง มรณภาพลง กด็ ูเหมือนวา่ พธิ ีแห่ ชา้ งเผือกไดส้ ูญหายไปไร้การสืบทอดจากวิถีชีวติ ของชาวบา้ นเป็นเวลาร่วม 50 ปี มาแลว้ กระทง่ั ปัจจุบนั พธิ ีกรรมดงั กลา่ วไดถ้ กู ร้ือฟ้ื นข้ึนมาอีกคร้ัง พธิ ีกรรมการแห่ชา้ งเผือก จึงเป็นเสมือนการเช่ือมโยงผคู้ นให้ เรียนรู้และแกป้ ัญหาตา่ งๆ ร่วมกนั
22 4.ข้นั ตอนและพธิ ีกรรมทางศาสนา 4.1สถานท่จี ดั พธิ กี รรม สถานท่ีเริ่มจากวดั วงั สะแกง อาเภอเวียงหนองลอ่ ง และแห่มาตามลาน้าล้ี ไป จดั พิธีกรรมตา่ งๆท่ีวดั หว้ ยไร่ อาเภอท่งุ หวั ชา้ ง ฝ่ายป่ ูขิงบา้ นหว้ ยไร่ อาเภอทุง่ หวั ชา้ ง หมู่ท่ี 8 และอ่างเกบ็ น้าขนุ ล้ี บา้ นหนองหลกั หมู่ที่ 9 ตาบลตะเคียนปม อาเภอทุง่ หวั ชา้ ง จงั หวดั ลาพูน 4.2ระยะเวลาในการดาเนินงาน จะจดั ในช่วง เดือนกรกฎาคม ของทุกปี ก่อนเขา้ พรรษาเพราะเป็นฤดูกาลท่ี ชาวนากาลงั จะหวา่ นกลา้ ซ่ึงจะมีจดั ในระยะเวลา 3 วนั โดยจะเริ่มแห่จากก่ิงอาเภอเวยี ง หนองลอ่ ง ไปอาเภอบา้ นโฮ่ง อาเภอล้ี และอาเภอท่งุ หวั ชา้ ง พอถึงบา้ นปางจะพกั ที่น้นั 1คืน พอเชา้ ของวนั ถดั ไปก็จะเดินทางแห่ขวนต่อเดินทางไปสู่อาเภอท่งุ หวั ชา้ งหลงั จากที่ขบวน แห่ชา้ งเผือกมาถึงอาเภอท่งุ หัวชา้ งก็จะนาชา้ งเผอื กไปไวท้ ี่วดั หว้ ยไร่ 1 คืน และในเชา้ ของ วนั ถดั ไปก็จะมีพธิ ีกรรมการตกั บาตรและนาชา้ งเผอื กไปสืบชะตาแม่น้าท่ีฝ่ายป่ ูขิง ส่วน ในช่วงบ่ายขบวนแห่ชา้ งจะเริ่มแห่ชา้ งเผือกไปที่อา่ งเก็บน้าขนุ ล้ี บา้ นหนองหลกั 5.วัสดุ อุปกรณ์ ในการทาช้างเผือก 1.ดอกฝ้ายหรือสาลี 2.ผา้ สีขาว 3.ไมไ้ ผ่ 4.เสน้ ลวด 5.กาวใส 6.กระดาษสี
23 ข้นั ตอนการทาช้างเผือก 1. เร่ิมจากนาไมไ้ ผม่ าเหลาแลว้ นามาจกั สานโดยจะสานในส่วนของลาตวั ของ ชา้ งเผือก คือ หวั แขน ขา งวง งา หูและหาง 2.จากน้นั นาแต่ละส่วนมาประกอบเขา้ กนั โดยใชเ้ สน้ ลวดมามดั เขา้ ดว้ ยกนั เพือ่ ให้ มีความแขง็ แรงและไดร้ ูปทรง 3.ประกอบแตล่ ะส่วนเขา้ ดว้ ยกนั แลว้ จึงนาผา้ ขาวมาพนั ตามตวั ของชา้ งเผือกโดย ใชก้ าวใสในการติดเพราะเป็นมีสีใสเขา้ กบั สีของผา้ ขาว 4.และข้นั ตอนสุดทา้ ยจะนาดอกฝ้ายมาติดตามตวั ชา้ งเผอื กและนาไปตาแดด ประมาณ 7-8 ชว่ั โมง ท ณแห ข ภ ทุ ห 6.ข้นั ตอนของประเพณีแห่ช้างเผือก อาเภอทุ่งหัวช้าง
24 เส้นทางในการแห่ช้างเผือก ขบวนแห่ชา้ งเผือกจะเริ่มแห่ต้งั แต่อาเภอเวยี งหนองล่อง เร่ิมจากหมบู่ า้ นวงั สะแกง แลว้ จะออกเดินทางผา่ นบา้ นแพะใต้ แยกป้ัมน้ามนั บา้ นตน้ ผ้งึ หลา่ ยล้ี ขา้ มสะพานแมน่ ้าล้ี บา้ นทา่ ชา้ ง แยกหอนาฬิกาเวียงหนองล่อง เขา้ อาเภอบา้ นโฮ่ง จะผา่ นหมู่บา้ นศรีเจริญ บา้ นดงมะปิ นหวาน บา้ นสนั ปู เลย บา้ นศรีปทุม บา้ นดงข้ีเหลก็ บา้ นเหลา่ ยาว บา้ นหลา่ ยแกว้ บา้ นท่งุ โป่ ง บา้ นหว้ ยสร้อย บา้ นม่วงโตน และบา้ นปากทางมว่ งโตน แลว้ แยกปากทางมว่ งโตน ไปตามถนนล้ี-ลาพนู ผา่ นอาเภอบา้ นโฮ่ง บา้ นดอย กอ้ ม บา้ นหว้ ยกาน บา้ นหว้ ยหละ อบต. ป่ าพลูและบา้ นวงั หลวงเขา้ สู้เขต อาเภอล้ี บา้ นปางซ่ึงขบวนแห่ ชา้ งเผอื กจะอยทู่ ี่บา้ นปาง เป็นเวลา 1 คืน พอวนั ถดั ไปขบวนจะเริ่มออกเดินทางจากวดั บา้ นปางไปบา้ นหว้ ย บง เทศบาลศรีวชิ ยั บา้ นแม่ป็อก เทศบาลแมต่ ืน บา้ นวงั มน บา้ นสนั ป่ าสัก บา้ นแม่เทย บา้ นหว้ ยแหน บา้ น ป่ าไผ่ บา้ นผาหนาม อาเภอล้ี แลว้ เขา้ อาเภอท่งุ หวั ชา้ ง เขต อบต.บา้ นปวง ผา่ นบา้ นสนั ติสุข บา้ นดอนมูล เขา้ สู่เขตอบต.ทงุ่ หัวชา้ ง ผา่ นบา้ นแมป่ ันเดง บา้ นสันดอนมลู จากน้นั จะเขา้ สู่เขตเทศบาลทุ่งหวั ชา้ ง ผา่ นบา้ นทุ่งหวั ชา้ ง บา้ นหนองป่ าตึง บา้ นทงุ่ เป็ด และจะเขา้ สู่เขต อบต.ตะเคียนปม ซ่ึงขบวนแห่จะพกั ที่ บา้ นหว้ ยไร่ 1 คืนโดยจะมีพธิ ีกรรม ดงั น้ี (1.)พิธีการสวดมนตข์ อฝน จะจดั ในวนั ที่แห่ชา้ งเผอื กมาไวท้ ี่วดั ห้วยไร่โดยจะมีพิธีกรรม ช่วงเวลา กลางคืน จะมีชาวบา้ นแม่น้าล้ีมาร่วมกนั สวดมนต์ ฟังเทศนค์ นั คากและเทศน์ พญาปลาช่อน ิธ ต์ ฟ ทศ ์ แ ทศ ์ ญ
25 (2.) ทาบญุ ตกั บาตรตอนเชา้ ในพธิ ีการทาบญุ ตกั บาตรของประเพณีแห่ชา้ งเผือกน้นั จะมีการตกั บาตร ในช่วงเชา้ ของวนั ที่จะแห่ชา้ งไปที่อา่ งเก็บน้าขนุ ล้ี ซ่ึงจะทาบญุ ตกั บาตรและใส่ จตุปัจจยั ท่ีวดั หว้ ยไร่ หลงั จากการตกั บาตรเสร็จจะมีการฟังเทศน์และรับพรจาก พระสงฆ์ ิธ ท ญุ ต ต ใ ข ทแห (3.)การสืบชะตาแม่น้า จะประกอบในพิธีหลงั จากตกั บาตรช่วงเชา้ แลว้ จะนาชา้ งเผือกไปที่ฝ่ายป่ ู ขิง บา้ นหว้ ยไร่ เพ่อื นาชา้ งไปทาพธิ ีสืบชะตาแม่น้าก่อนแห่ขบวนข้นึ ไปอา่ ง เก็บน้าขนุ ล้ี เพราะมีความเชื่อวา่ สืบชะตาแมน่ ้าเป็นการ ขอขมาส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิที่ ปกป้องรักษาแมน่ ้า เครื่องสืบชะตาประกอบดว้ ยกระโจมสามขา จะผกู ติดดว้ ยไม้ ค้าทอ่ นเลก็ จานวนพอประมาณแต่ลงทา้ ยดว้ ยเลข 9 เคร่ืองประกอบ การสืบชะตา อื่นๆไดแ้ ก่ ออ้ ย หน่อกลว้ ย เทียนถงุ บุหร่ี เม้ียง หมาก พลู ขา้ ว ในการ ทาพธิ ีจะมีการบวงสรวงเทวดา เพอื่ เป็นการขอขมาต่อส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีปกปักรักษา แมน่ ้า โดยจะมีรูปป้ันพญาคางคกและป้ันรูปพญาปลาช่อน เพ่อื ใหพ้ ญาท้งั สอง
26 ไปขอฝนจากเทวดา และจะมีพธิ ีกรรมการถวายทานอาหาร ใหแ้ ก่พญาท้งั สอง โดยจะมีการนิมนตพ์ ระสงฆ์ 9 รูป มาทาพิธี พิธีบวงสรวงเทวดา เพ่ือเป็นการขอขมาส่ิงศกั ดิ์สิทธ์ิในการสืบชะตาแม่นา้ 7.พธิ กี รรมการปล่อยช้างเผือก หลงั จากท่ีไดท้ าในพิธีการในช่วงเชา้ แลว้ ในช่วงบ่ายคณะศรัทธากจ็ ะไดน้ าชา้ งเผอื กไปปล่อย ที่อา่ งขนุ ล้ีบา้ นหนองหลกั โดยจะแห่ต้งั แต่บา้ นห้วยไร่ ผา่ นบา้ นหว้ ยหา้ ง บา้ นไมต้ ะเคียนและเขา้ สู่หมบู่ า้ น หนองหลกั แลว้ เดินทางไปต่อท่ีอา่ งขนุ ล้ี โดยระหวา่ งแห่ขบวนกจ็ ะมีชาวบา้ นตามหมู่บา้ นตา่ งๆมาพรมน้า ส้มป่ อยใหก้ บั ชา้ งเผอื กและในขบวนแห่ก็จะมีการบรรเลงดนตรีจากเคร่ืองดนตรี ไดแ้ ก่ ฉาบ กลอง ฉิ่ง ตาม จงั หวะพ้นื บา้ น จะบรรเลงไปเรื่อยๆจนถึงอา่ งเก็บน้าขุนล้ี พอถึงอา่ งเกบ็ น้าขนุ ล้ีแลว้ พระสงฆก์ จ็ ะสวดมนต์ และใหพ้ รแก่คณะศรัทธาท่ีมาร่วมพธิ ีแห่ชา้ งเผือก
27 ชาวบ้านตามหม่บู ้านตา่ งๆมาพรมนา้ ส้มป่อยให้กบั ช้างเผอื ก ระหว่างเดนิ ขบวนจะมีเคร่ืองดนตรีบรรเลงในพิธีกรรม จากน้นั ก็จะนาชา้ งเผือกปล่อยลงสู่แม่น้า โดยระหวา่ งท่ีปลอ่ ยชา้ งเผอื กพระสงฆก์ ็จะสวดมนต์ และคณะศรัทธาที่มาร่วมพิธีกจ็ ะต้งั จิตอธิษฐาน หลงั จากเสร็จพธิ ีพระสงฆแ์ ละคณะศรัทธาก็เดินกลบั พร้อม กบั เอาก๋วยทานท่ีเหลือกลบั ไปไวท้ ่ีหว้ ยตามหมู่บา้ นตา่ งๆที่แมน่ ้าล้ีไหลผา่ น
28 พระสงฆจ์ ะสวดมนตแ์ ละคณะศรัทธาที่มาร่วมพธิ ีกจ็ ะต้งั จิตอธิษฐาน นาชา้ งเผือกปลอ่ ยลงสู่แม่น้า
29 บทที5่ บทสรุป 1.สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาคน้ ควา้ การทาโครงงานทางประวตั ิศาสตร์ เรื่องประเพณีการแห่ชา้ งเผือกของ อาเภอทุ่งหวั ชา้ ง ซ่ึงเป็นประเพณีเก่ียวกบั การขอฝนของคนในพ้นื ที่เพ่ือใหฝ้ นตกตามฤดูกาลและยงั เป็น ประเพณีสืบชะตาใหก้ บั แมน่ ้า เนื่องจากมนุษยอ์ าศยั ธรรมชาติในการดารงชีวิตและการทาเกษตรกรรม ทา ใหธ้ รรมชาติมีอิทธิพลตอ่ มนุษยเ์ ป็นอยา่ งมากท้งั การดารงชีวิต การบริโภคและการประกอบอาชีพ โดย ความเช่ือน้ีมาจากเรื่องพระเวชสันชาดกท่ีเช่ือวา่ หากนาชา้ งปัจจยั นาเคนทร์ไปไวพ้ ้ืนที่ที่ฝนไมต่ กก็จะทาให้ พ้ืนที่น้นั ฝนตกตามฤดูกาล จึงก่อใหเ้ กิดขนบธรรมเนียมประเพณีและพธิ ีกรรม เพ่ือทาใหเ้ กิดความอุดม สมบูรณ์ จากการศึกษาประเพณีแห่ชา้ งเผอื กขนุ ล้ี พบวา่ จะมีการแห่ชา้ งเผือกจากอาเภอต่างๆที่แมน่ ้าล้ี ไหลผา่ น ดงั น้ี ก่ิงอาเภอเวียงหนองลอ่ ง อาเภอบา้ นโฮ่ง อาเภอล้ี และอาเภอทุ่งชา้ ง เมื่อขบวนแห่ชา้ งเผอื ก เดินทางมาถึงท่ีอาเภอทงุ่ หวั ชา้ ง กจ็ ะนาชา้ งเผือกไปไวท้ ่ี วดั หว้ ยไร่ บา้ นหว้ ยไร่ ตาบลตะเคยี นปม เป็น เวลา 1 คนื ซ่ึงในช่วงตอนกลางคนื จะมีพธิ ีกรรมสวดมนตแ์ ละฟังเทศน์ หลงั จากน้นั ในช่วงเชา้ ของวนั ถดั ไปจะมีพิธีกรรมการตกั บาตรและนาชา้ งเผือกไปสืบชะตาท่ี ฝ่ายป่ ขู ิง บา้ นหว้ ยไร่ และในช่วงบา่ ยขบวน แห่ชา้ งเผือกกจ็ ะนาชา้ งเผือกไปปลอ่ ยที่อ่างเก็บน้าขนุ ล้ีบา้ นหนองหลกั หลงั จากน้นั ก็จะเป็นการเสร็จพธิ ีใน การแห่ชา้ งเผือก ซ่ึงประเพณีแห่ชา้ งเผือกขนุ ล้ีพบวา่ จดั ข้ึนในช่วงเดือน 9ของชาวลา้ นนาหรือเดือน กรกฎาคมก่อนเขา้ พรรษาและมีชาวบา้ นแมน่ ้าล้ีที่มาเขา้ ร่วมพธิ ีกรรม ทุกคนจึงมีส่วนร่วมในงาน โดย ปัจจุบนั ประเพณีการแห่ชา้ งเผือกยงั คงแพร่หลายและมีการอนุรักษป์ ระเพณีน้ีอยู่ เนื่องดว้ ยสภาพแวดลอ้ ม ท่ีมีการเปลี่ยนแปลง ฝนฟ้าไมต่ กตามฤดูกาล และสภาพอากาศท่ีไมแ่ น่นอน จึงมีการนาเอาประเพณีการแห่ ชา้ งเผอื กมาใชใ้ นการขอฝน 2.ข้อเสนอแนะ -ควรศึกษาประเพณีการแห่ชา้ งเผอื กของแตล่ ะพ้ืนท่ีในจงั หวดั ลาพูนและพ้ืนที่อ่ืน
30 บรรณานุกรม สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน พระบามสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช.สารนุกรมไทยสาหรับ เยาวชน เล่มท่ี18 กรุงเทพมหานคร.พิมพท์ ่ี บริษทั ด่านสุทธาการพมิ พ์ จากดั 307.2537. https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/840264/ https://www.m-culture.go.th/th/article_view.php?nid=4350 https://www.facebook.com/lhonglamphun/photos/a.2126353817665768/2126353850999098/ https://www.youtube.com/watch?v=9_Dug1wsx6Q&t=256s
31 ภาคผนวก
32
33
34
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: