Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนภาษาไทย ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปฏิบัติการสายลับจิ๋ว

แผนการสอนภาษาไทย ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปฏิบัติการสายลับจิ๋ว

Published by rusleeha, 2022-02-18 05:15:37

Description: แผนการสอนภาษาไทย ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปฏิบัติการสายลับจิ๋ว

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๑ กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ หนวยการเรยี นรูที่ ๑ เร่ือง ปฏบิ ตั กิ ารสายลบั จิ๋ว เวลา ๑๐ ช่วั โมง เรอ่ื ง อา น เขยี น คาํ ควรรคู ูความหมาย เวลา ๒ ช่วั โมง ..................................................................................... สาระสาํ คญั การอาน และการเขยี นคําควรรคู ูความหมาย จะชวยใหการอานเร่ืองราวในบทเรียนเขาใจไดงาย และ สามารถพัฒนาทกั ษะทางภาษาไดดี มาตรฐานการเรยี นรู ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอา นสรางความรูและความคดิ เพอ่ื นาํ ไปตดั สนิ ใจแกปญหาในการดาํ เนนิ ชีวิตและมี นสิ ยั รกั การอา น ตวั ชวี้ ดั ป.๓/๑ อานออกเสยี งคาํ ขอ ความ เร่อื งส้นั และบทรอยกรองงา ยๆ ไดถ ูกตอ งคลองแคลว ป.๓/๒ อธบิ ายความหมายของคาํ และขอ ความทอี่ าน จดุ ประสงค ๑. นักเรียนอานคําศพั ทย ากไดถูกตอ ง ๒. นกั เรยี นบอกความหมายของคาํ ในบทเรยี นได ๓. นักเรียนใชค าํ ไดถูกตองตามบรบิ ท สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป ญ หา ๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. รักความเปน ไทย ๒. ใฝเรยี นรู ๓. มีจติ สาธารณะ ๔. มวี ินัย ๕. อยูอยางพอเพยี ง สาระการเรียนรู - ความหมายของคํา - การใชคาํ

กระบวนการจัดการเรยี นรู ช่วั โมงที่ ๑ ๑. นักเรียนอานคําจากบัตรคําตามครู คาํ ละ ๒ คร้งั ๒. นักเรียนอานออกเสียงคําศัพท อานเพ่ิม เติมความหมาย จากหนังสือเรียน ภาษาพาที ชั้น ประถมศกึ ษาปที่ ๓ หนาที่ ๘- ๙ ๓. นักเรียนและครรู วมกนั สนทนาถงึ ความหมายของคาํ พรอ มยกตวั อยางประกอบ ๔. นักเรียนเลน แขงขนั ทายคาํ ทา ทางจากคาํ ท่ีครกู าํ หนดให ๕. นกั เรยี นเขยี นคาํ และความหมายของคาํ ลงในสมุดแบบฝก หดั ชว่ั โมงท่ี ๒ ๑. นกั เรียนแขง ขันอา นคาํ จากบตั รคํา (คําสาํ คญั ในบทเรยี น) ๒. นักเรียนอานออกเสียงคําศัพท อานเพ่ิม เติมความหมาย จากหนังสือเรียนภาษาพาที ชั้น ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ หนาท่ี ๘- ๙ ๓. นักเรยี นฝก แตง ประโยคปากเปลาจากบตั รคาํ ท่อี า น(คําสาํ คัญในบทเรยี น) ๔. นักเรยี นทําแบบฝกหดั ทกั ษะภาษา แบบฝก หัดที่ ๑ ขอ ๒ ( ๑ – ๓ ) ส่อื / แหลง เรยี นรู ๑. บัตรคํา ๒. หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอื่ ชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ ๓. แบบฝกหัด รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชวี ติ ทกั ษะภาษา ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๓ การวัดผลและประเมนิ ผล ๑) วิธีประเมิน - สงั เกตพฤติกรรม - ตรวจแบบฝก หัด ๒) เครอื่ งมอื ประเมิน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - แบบฝก หดั ๓) เกณฑการประเมนิ - นักเรยี นผานเกณฑก ารสังเกตพฤติกรรม รอยละ ๗๕ – ๘๐ - นกั เรียนผา นเกณฑการทําแบบฝก หดั รอยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรยี นรูท ่ี ๒ กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง ปฏิบัตกิ ารสายลบั จิว๋ เวลา ๑๐ ช่วั โมง เร่อื ง การอานออกเสียง เวลา ๑ ชั่วโมง ..................................................................................... สาระสําคญั การอานออกเสยี ง เปน การอานใหผอู ื่นฟง ฉะนั้นผูอานจะตอ งแบง วรรคตอน เนน เสยี งหนักเบา และออก เสยี งใหถ กู ตอ งชัดเจน จงึ จะสอ่ื ความหมายไดอยางมปี ระสิทธิภาพ มาตรฐานการเรยี นรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการอา นสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปตดั สนิ ใจแกป ญ หาในการดําเนินชีวิตและมี นิสยั รกั การอาน ตวั ช้วี ัด ป.๓/๑ อา นออกเสยี งคาํ ขอ ความ เร่อื งส้ันๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถ กู ตอ ง คลอ งแคลว จดุ ประสงค ๑. นกั เรียนอา นออกเสยี งเนอื้ หาในบทเรยี นได ๒. นักเรยี นจับใจความเรอ่ื งทีอ่ านได ๓. นักเรียนตอบคาํ ถามเรือ่ งท่อี านได สมรรถนะสําคัญของผูเ รียน ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป ญ หา ๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ๑. รกั ความเปน ไทย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มจี ิตสาธารณะ ๔. มวี ินยั ๕. อยูอ ยางพอเพยี ง สาระการเรียนรู - การอา นออกเสียง - การจบั ใจความสําคญั - การตอบคาํ ถาม

กระบวนการจัดการเรียนรู ๑. ครใู หนักเรียนชวยกันบอกหลักเกณฑการอานออกเสียงท่ีดี เชน อานคลอง อานถูกตอง ชัดเจน เวนวรรคตอนถูกตอง ใชน ้ําเสยี งสอดคลองกับอารมณของตัวละคร เปนตน ๒. ครสู าธิตการอา นที่ดใี หน ักเรียนฟง หรือใหน ักเรียนฟงจากเคร่ืองบันทึกเสียงก็ได เพื่อเปนแนวทางใน การอา นของนกั เรยี น ๓. นกั เรียนอานเน้ือหาในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ช้ัน ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ หนา ๒–๓ โดยอานตอกนั คนละ ๑ ยอ หนา แลวรวมกันสนทนาถึงเน้ือหาวา ใคร ทําอะไร ท่ีไหน ผลเปนอยา งไร แลว ชว ยกนั เลา เรอ่ื งตอ เน่ืองจนจบ โดยครชู วยเพิ่มเติมสว นทบ่ี กพรอ ง ๔. นกั เรียนชว ยกันสรุปความรู เร่ืองการอานออกเสยี งและการตอบคาํ ถาม และขอ คดิ ท่ีไดจ ากบทอา น ส่อื / แหลงเรยี นรู ๑. บตั รคํา ๒. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอื่ ชีวติ ภาษาพาที ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓ การวดั ผลและประเมนิ ผล ๑) วิธปี ระเมิน - สังเกตพฤติกรรม ๒) เครื่องมือประเมิน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๓) เกณฑการประเมิน - นกั เรียนผานเกณฑก ารสงั เกตพฤตกิ รรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๓ กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ เรือ่ ง ปฏบิ ตั กิ ารสายลับจวิ๋ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง เรอื่ ง การอานคดิ วิเคราะห เวลา ๑ ช่วั โมง ..................................................................................... สาระสําคัญ การวเิ คราะหเ ร่อื ง เปน การพจิ ารณาสวนตางๆ ของเรอ่ื ง เชน ขอเท็จจริงและขอคิดเห็น สวนดีและสวน บกพรองของเน้อื เรอ่ื ง จุดประสงคของผูแตง ความเหมาะสมในการใชคํา ประโยค ขอความ ฯลฯ สรุปขอคิดที่ได จากเร่อื ง สามารถนาํ ความรทู ไ่ี ดรับไปใชป ระโยชนใ นชีวติ ประจําวนั มาตรฐานการเรยี นรู ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรา งความรูและความคดิ เพ่อื นําไปตดั สนิ ใจแกป ญหาในการดาํ เนินชีวิตและมี นิสัยรักการอาน ตัวช้วี ัด ป.๓/๓ ตั้งคาํ ถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตผุ ลเกีย่ วกบั เรื่องทอ่ี าน ป.๓/๕ สรุปความรแู ละขอคิดจากเรอื่ งที่อานเพ่อื นําไปใชในชวี ิตประจาํ วัน จุดประสงค ๑. นักเรยี นตั้งคาํ ถาม – ตอบคําถามเรอ่ื งทีอ่ า นได ๒. นกั เรยี นแยกขอเท็จจรงิ และขอคดิ เหน็ จากเรื่องที่อานได ๓. นกั เรยี นสรุปขอ คิดท่ีไดจากการอานได สมรรถนะสาํ คัญของผูเรยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกป ญ หา ๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ๑. รักความเปนไทย ๒. ใฝเรยี นรู ๓. มีจิตสาธารณะ ๔. มีวนิ ัย ๕. อยอู ยางพอเพียง

สาระการเรยี นรู - การต้ังคําถามและตอบคําถาม - การแยกขอ เท็จจริงและขอคดิ เหน็ กระบวนการจัดการเรียนรู ๑. ใหนักเรยี นทบทวนเนอ้ื หาบทเรยี น โดยการอานคําจากบัตรคาํ ๒. นกั เรียนอา นออกเสยี ง เรอ่ื ง ปฏิบัติการสายลบั จ๋วิ จากหนงั สือเรียนภาษาพาที ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๓ หนา ๒-๖ พรอ มกัน ๓. นกั เรยี นแบง กลุม อานเสียงจากบทเรียนกลุมละ ๑ ยอ หนา ๔. นักเรียนชวยกนั ตอบคาํ ถามปากเปลาจากเร่ืองที่อา น - เหตุการณน เี้ กดิ ข้ึนทีไ่ หน - เด็กๆ กําลังวางแผนทาํ อะไร - เพราะเหตุใดเดก็ ๆ จึงทาํ งานสาํ เร็จ - นักเรียนไดข อ คดิ อยางไรจากเรื่องท่ีอาน ๕. นกั เรยี นและครชู ว ยกันสรปุ บทเรยี นจากเรื่องทอ่ี าน สื่อ / แหลง เรยี นรู - หนังสอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชวี ติ ภาษาพาที ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๓ การวดั ผลและประเมนิ ผล ๑) วธิ ปี ระเมิน - สงั เกตพฤติกรรม ๒) เครือ่ งมือประเมิน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๓) เกณฑก ารประเมิน - นกั เรียนผานเกณฑก ารสังเกตพฤตกิ รรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรยี นรูท ี่ ๔ กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๓ หนวยการเรยี นรูท่ี ๑ เรื่อง ปฏบิ ตั ิการสายลบั จิว๋ เวลา ๑๐ ชัว่ โมง เร่ือง การอานเสริมบทเรยี น เวลา ๑ ชัว่ โมง ..................................................................................... สาระสําคัญ การอา นเสรมิ บทเรยี น ทําใหผูอา นไดรบั ความรู ความบันเทิงและขอ คิดจากการอาน และสามารถเลือก หนังสอื อานไดต รงตามความตองการ นอกจากน้ีท่ีสําคัญ คือสามารถนําความรูที่ไดรับจากการอานมาปรับใชให เปน ประโยชนในชีวติ ประจาํ วนั ได มาตรฐานการเรยี นรู ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรางความรูและความคดิ เพอื่ นําไปตดั สนิ ใจแกป ญ หาในการดําเนนิ ชีวิตและมี นิสัยรักการอาน ตวั ช้ีวดั ป.๓/๑ อา นออกเสยี งคํา ขอ ความ เรอื่ งส้ันๆ และบทรอ ยกรองงายๆ ไดถูกตอง คลองแคลว จดุ ประสงค ๑. นักเรียนอา นและจบั ใจความสําคัญของเรื่องได ๒. นักเรยี นสรุปและบอกขอคดิ จากเร่ืองท่ีอาน สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑. รักความเปน ไทย ๒. ใฝเรยี นรู ๓. มีจติ สาธารณะ ๔. มีวนิ ัย ๕. อยูอยางพอเพียง สาระการเรียนรู - การอา นเสริม “เร่ืองมดดาํ มดแดง”

กระบวนการจดั การเรียนรู ๑. ทบทวนเน้อื หาท่ีเรยี นในชั่วโมงทแ่ี ลวดว ยการเลา เรือ่ งปฏิบัติการสายลับจิว๋ ๒. นักเรยี นอานออกเสียงเรื่อง ปฏิบัติการสายลบั จว๋ิ จากหนงั สือเรียนภาษาพาที ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ หนา ๒-๖ พรอมกัน ๓. นกั เรียนอานออกเสียง อา นเสรมิ “เรอื่ งมดดํา มดแดง” จากหนงั สือเรียนภาษาพาที ช้ันประถมศกึ ษา ปที่ ๓ หนา ๗ พรอ มกนั ๔. นกั เรยี นพูดคยุ สนทนา เกยี่ วกบั “เร่อื งมดดาํ มดแดง” จากความรทู ี่ไดอา นโดยตง้ั คาํ ถามดงั นี้ - รปู รางลกั ษณะของมดดาํ กับมดแดง - ท่ีอยูอาศัยของมดดาํ กับมดแดง - มดดาํ กบั มดแดงมีลักษณะท่ีเหมือนกนั หรือตางกันอยางไร ๕. นกั เรยี นรวมกนั สรุปความรแู ละขอคิดท่ไี ดจ ากการอาน “เร่ืองมดดํา มดแดง” ๖. นกั เรียนทําแบบฝกหดั ทกั ษะภาษา แบบฝก หัดท่ี ๑ ขอ ๑ สือ่ / แหลง เรียนรู ๑. หนงั สือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอื่ ชวี ิต ภาษาพาที ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๓ ๒. แบบฝกหัด รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชวี ติ ทกั ษะภาษา ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓ การวัดผลและประเมนิ ผล ๑) วธิ ปี ระเมนิ - สงั เกตพฤตกิ รรม - ตรวจแบบฝกหดั ๒) เคร่อื งมือประเมนิ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบฝกหดั ๓) เกณฑการประเมิน - นักเรยี นผา นเกณฑการสงั เกตพฤตกิ รรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐ - นกั เรียนผานเกณฑการทาํ แบบฝก หดั รอยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๕ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรือ่ ง ปฏบิ ตั ิการสายลบั จิว๋ เวลา ๑๐ ช่วั โมง เรื่อง พยัญชนะไทย เวลา ๑ ชั่วโมง ..................................................................................... สาระสาํ คัญ พยญั ชนะหมายถึงอกั ษร หรอื ตัวหนังสือ พยัญชนะที่ใชในภาษาไทยมี ๔๔ ตัว ในฐานะที่เราเปนคนไทย เราควรรจู กั และออกเสยี งพยญั ชนะไทยใหถกู ตอง มาตรฐานการเรยี นรู ท๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบตั ขิ องชาติ ตัวช้วี ดั ป.๓/๑ เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคาํ จุดประสงค ๑. นกั เรียนบอกชอ่ื พยัญชนะไทยไดถูกตอง ๒. นักเรยี นแยกพยญั ชนะที่เปน อกั ษรสูง อกั ษรกลาง และอักษรตํ่าได สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑. รกั ความเปนไทย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มจี ิตสาธารณะ ๔. มวี ินยั ๕. อยูอยางพอเพยี ง สาระการเรียนรู - พยญั ชนะไทย อกั ษรสามหมู

กระบวนการจัดการเรยี นรู ๑. นกั เรียนทบทวนพยญั ชนะ อกั ษรสูง อักษรกลางและอักษรต่าํ ๒. นักเรยี น พดู คยุ สนทนาเกย่ี วกับพยัญชนะท่ชี อบโดยใหเ หตผุ ลประกอบ ๓. ใหนกั เรยี นอาน อธบิ ายเพม่ิ เตมิ ความรู จากหนังสือภาษาพาทชี ้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ หนา ๑๐ –๑๑ ๔. นกั เรยี นเลน เกมทายคําจากบัตรคาํ ดงั น้ี ครูชูบตั รคํา “อาการ” นกั เรียนตอบ : อกั ษรกลาง ครูชูบตั รคาํ “ธงชาต”ิ นกั เรียนตอบ : อกั ษรต่ํา ครูชูบตั รคํา “ศกึ ษา” นักเรยี นตอบ : อักษรสูง ฯลฯ ๕. นกั เรยี นทาํ แบบฝกหดั ทักษะภาษา ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓แบบฝกหัดท่ี ๑ ขอ ๓ (๑) จากนั้นนําสง ครู ครเู ฉลยและตรวจสอบความถกู ตอง สอ่ื / แหลงเรยี นรู ๑. บตั รคํา ๒. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอื่ ชีวิต ภาษาพาที ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๓. แบบฝก หัด รายวชิ าพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพอ่ื ชวี ติ ทักษะภาษา ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ การวดั ผลและประเมินผล ๑) วธิ ีประเมนิ - สงั เกตพฤติกรรม - ตรวจแบบฝก หัด ๒) เครื่องมือประเมิน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบฝกหดั ๓) เกณฑการประเมิน - นักเรยี นผานเกณฑก ารสังเกตพฤตกิ รรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐ - นักเรียนผานเกณฑการทําแบบฝก หัด รอยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๖ กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ เรอื่ ง ปฏบิ ัติการสายลบั จิ๋ว เวลา ๑๐ ช่วั โมง เรอื่ ง อานและสังเกตสระ เวลา ๑ ชว่ั โมง ..................................................................................... สาระสาํ คญั สระ หมายถึง เคร่ืองหมายท่ใี ชแทนเสยี งท่เี ปลงออกมา ตามหลกั ภาษาถอื วา พยัญชนะจําเปนตองอาศัย สระจงึ จะอา นออกเสยี งได มาตรฐานการเรียนรู ท๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปนสมบัติของชาติ ตวั ชว้ี ัด ป.๓/๑ เขยี นสะกดคําและบอกความหมายของคํา จดุ ประสงค ๑. นักเรียนบอกรปู สระในภาษาไทยได ๒. นักเรยี นบอกเสียงสระในภาษาไทยได ๓. นกั เรยี นใชส ระในภาษาไทยไดถ ูกตอ ง สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ๑. รักความเปนไทย ๒. ใฝเ รียนรู ๓. มจี ิตสาธารณะ ๔. มีวนิ ยั ๕. อยูอ ยางพอเพยี ง สาระการเรยี นรู - สระในภาษาไทย - การอา นสะกดคํา

กระบวนการจดั การเรียนรู ๑. นักเรียนทบทวนรูปและเสยี งสระในภาษาไทย ๒. นักเรยี น พูดคยุ สนทนาเก่ียวกับสระท่ีชอบโดยใหเหตุผลประกอบ ๓. ใหนักเรียนอา น อธิบายเพิ่ม เตมิ ความรู จากหนังสือภาษาพาทีช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๓ หนา ๑๑-๑๒ ๔. นักเรียนเลนเกมทายคําจากบตั รคาํ โดยใหน ักเรียนตอบสระท่ใี ชใ นการประสมคําดงั นี้ ครูชูบตั รคาํ “โตะ ” นกั เรียนตอบ : สระเดี่ยว ครูชบู ัตรคาํ “เกยี๊ ะ” นกั เรียนตอบ : สระประสม ฯลฯ ๕. นักเรียนทําแบบฝกหัด ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ แบบฝกหัดที่ ๑ ขอ ๓ (๒) จากน้ัน นาํ สง ครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกตอง ส่ือ / แหลงเรียนรู ๑. เกมทายคาํ ๒. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพือ่ ชีวิต ภาษาพาที ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๓. แบบฝก หดั รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชวี ติ ทักษะภาษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ การวดั ผลและประเมินผล ๑) วิธปี ระเมิน - สังเกตพฤติกรรม - ตรวจแบบฝก หัด ๒) เคร่ืองมอื ประเมนิ - แบบสังเกตพฤติกรรม - แบบฝก หัด ๓) เกณฑก ารประเมนิ - นักเรียนผานเกณฑการสังเกตพฤตกิ รรม รอยละ ๗๕ – ๘๐ - นกั เรยี นผา นเกณฑก ารทําแบบฝกหัด รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๗ กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ หนวยการเรยี นรูท ่ี ๑ เรอื่ ง ปฏบิ ตั ิการสายลบั จิว๋ เวลา ๑๐ ชวั่ โมง เรือ่ ง อา นและสังเกตวรรณยกุ ต เวลา ๑ ชว่ั โมง ..................................................................................... สาระสําคญั วรรณยุกต หมายถึง เคร่ืองหมายที่ใชกํากับเสียง มี ๔ รูป คือ (ไมเอก) (ไมโท) (ไมตรี) (ไมจัตวา) และ ๕ เสียง คอื สามญั เอกโทตรจี ตั วา มาตรฐานการเรียนรู ท๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบัตขิ องชาติ ตัวชีว้ ดั ป.๓/๑ เขียนสะกดคาํ และบอกความหมายของคํา จดุ ประสงค ๑. นักเรยี นบอกรูปวรรณยุกตใ นภาษาไทยได ๒. นกั เรยี นบอกเสยี งวรรณยกุ ตในภาษาไทยได ๓. นักเรียนใชว รรณยุกตในภาษาไทยไดถูกตอ ง สมรรถนะสาํ คัญของผูเ รยี น ๑. ความสามารถในการส่อื สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑. รักความเปน ไทย ๒. ใฝเ รียนรู ๓. มีจิตสาธารณะ ๔. มีวินัย ๕. อยอู ยา งพอเพียง สาระการเรยี นรู - รปู และเสยี งวรรณยกุ ตในภาษาไทย - การผนั วรรณยุกต

กระบวนการจัดการเรยี นรู ๑. นกั เรยี นทบทวนรูปและเสยี งวรรณยุกตใ นภาษาไทย ๒. นกั เรียน พูดคุย สนทนาเก่ยี วกับวรรณยกุ ตท ่ชี อบโดยใหเหตผุ ลประกอบ ๓. ใหนักเรยี นอาน อธิบายเพ่มิ เตมิ ความรูจากหนังสอื ภาษาพาทีชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ หนา ๑๓ ๔. นกั เรยี นเลนเกมทายคําจากบัตรคําโดยใหนักเรียนตอบรปู และเสยี งวรรณยกุ ตท ีใ่ ชใ น ๕. การประสมคําดังนี้ ครูชูบตั รคาํ “เส้อื ” นกั เรยี นตอบ : รปู วรรณยกุ ต ( ไมโ ท) เสียง โท ครูชูบัตรคาํ “จ๋วิ ” นักเรียนตอบ : รูปวรรณยกุ ต ( ไมจ ตั วา) เสียง จัตวา ฯลฯ ๖. นักเรียนทําแบบฝกหัด ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ แบบฝกหัดท่ี ๑ ขอ ๓ (๓) จากน้ัน นําสง ครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถกู ตอง สือ่ / แหลง เรยี นรู ๑. เกมทายคาํ ๒. หนังสือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๓. แบบฝก หดั รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพือ่ ชีวติ ทักษะภาษา ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ การวัดผลและประเมนิ ผล ๑) วธิ ปี ระเมนิ - สงั เกตพฤตกิ รรม - ตรวจแบบฝก หัด ๒) เครอ่ื งมอื ประเมิน - แบบสงั เกตพฤติกรรม - แบบฝก หดั ๓) เกณฑก ารประเมิน - นกั เรียนผานเกณฑก ารสังเกตพฤตกิ รรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐ - นกั เรียนผา นเกณฑการทาํ แบบฝกหดั รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๘ กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เร่ือง ปฏบิ ัติการสายลบั จ๋ิว เวลา ๑๐ ชว่ั โมง เรอื่ ง พยญั ชนะ ฑ เวลา ๑ ช่ัวโมง ..................................................................................... สาระสาํ คัญ คาํ ท่ใี ชพยัญชนะ “ฑ” ออกเสียงได ๒ แบบคือ เสียง ด และเสียง ท เราตองหมั่นฝกอานและสังเกตคํา เพือ่ ใหสามารถนําไปส่อื สารไดถกู ตอง มาตรฐานการเรยี นรู ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ปิ ญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปนสมบัตขิ องชาติ ตัวชว้ี ัด ป.๓/๑ เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคาํ จดุ ประสงค ๑. นกั เรยี นอา นและสะกดคาํ ท่ใี ชพ ยัญชนะ ฑ ไดถ ูกตอง ๒. นักเรียนบอกความหมายของคาํ ทม่ี ี ฑ ได ๓. นกั เรียนใชคําทม่ี ี ฑ ไดถ ูกตอง สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ๑. รักความเปนไทย ๒. ใฝเ รียนรู ๓. มีจิตสาธารณะ ๔. มวี ินยั ๕. อยอู ยางพอเพียง สาระการเรยี นรู - การอานออกเสียง ฑ ออกเสียง ด - การอา นออกเสียง ฑ ออกเสยี ง ท

กระบวนการจดั การเรยี นรู ๑. นกั เรยี นทบทวน พยญั ชนะ สระและวรรณยกุ ต ๒. นกั เรียนอานบทรอยกรองพรอมกนั บัณฑิตขึน้ มณฑป เสยี งกระทบกลองบัณเฑาะว บณั ฑเุ หลอื งออ นเหมาะ เสยี งไพเราะออกเสยี ง ดอ ๓. ครูเฉลยการอา นทถ่ี ูกตอ งใหนักเรยี นฟง แลว ใหนกั เรียนอา นออกเสยี งตามครู ๔. ครูอธิบายวาคําที่ใช ฑ น้ี ไมใชคําไทยแท และออกเสียงได ๒ แบบคือ ๑) ฑ ออกเสียง ด ๒) ฑ ออกเสยี ง ท ๕. นักเรียนอานความรู เรื่อง พยัญชนะ “ฑ” จากหนังสือเรียน ภาษาพาที ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ หนา ท่ี ๑๔ ๖. นักเรียนทําแบบฝก หดั ทกั ษะภาษา แบบฝก หัดท่ี ๑ ขอ ๓ (๔) สอื่ / แหลง เรยี นรู ๑. หนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอื่ ชีวติ ภาษาพาที ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๒. แบบฝก หัด รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอื่ ชีวติ ทกั ษะภาษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ การวดั ผลและประเมินผล ๑) วธิ ปี ระเมนิ - สงั เกตพฤติกรรม - ตรวจแบบฝก หดั ๒) เครือ่ งมอื ประเมิน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบฝก หัด ๓) เกณฑการประเมนิ - นกั เรยี นผานเกณฑก ารสงั เกตพฤติกรรม รอยละ ๗๕ – ๘๐ - นักเรียนผานเกณฑการทาํ แบบฝก หดั รอยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรียนรูท ่ี ๙ กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๓ หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เร่อื ง ปฏบิ ตั ิการสายลับจ๋วิ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เรือ่ ง การใชถอ ยคําสุภาพ เวลา ๑ ชั่วโมง ..................................................................................... สาระสําคญั ในการเขยี นและการพูด ผูเขยี นและผูพดู ตอ งเลือกคํามาใชใหเ หมาะสมกบั การสอื่ สาร ผทู ่ีจะเลือกใชค ําให ถกู ตอ งเหมาะสมไดนน้ั จะตองมคี วามรูเรอื่ งคาํ หนาที่ของคําและความหมายเปนอยางดีเพ่ือใหสามารถนําไปใชได ถูกตอง มาตรฐานการเรยี นรู ท๓.๑ สามารถเลือกฟงและดอู ยา งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู ความรสู กึ ในโอกาสตางๆ อยาง มวี ิจารณญาณและสรา งสรรค ตัวชีว้ ดั ป.๓/๕ พูดสอื่ สารไดช ัดเจนตรงตามวัตถปุ ระสงค ป.๓/๖ มมี ารยาทในการฟง การดูและการพดู จดุ ประสงค ๑. นกั เรยี นเลือกใชถอยคาํ ท่ีสุภาพ ๒. นักเรยี นพดู เขยี นถอ ยคาํ ทส่ี ภุ าพไดเ หมาะสม สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑. รักความเปน ไทย ๒. ใฝเรยี นรู ๓. มจี ติ สาธารณะ ๔. มีวนิ ัย ๕. อยอู ยางพอเพยี ง สาระการเรียนรู - การใชถ อ ยทสี่ ุภาพ

กระบวนการจัดการเรียนรู ๑. ครแู ละนกั เรียนทบทวนเรือ่ งมารยาทในการพูดและการฟง ๒. นักเรียนแบง กลมุ เลือกแสดงบทบาทสมมุตสิ ั้นๆ ในกิจกรรมตอ ไปน้ี - การทกั ทาย - การพูดขอรอง - การปลอบใจ - การพดู ปฏิเสธ - การพดู ซักถาม - การชว ยเหลือผทู ่กี าํ ลังเดอื ดรอนลาํ บาก ๓. นกั เรยี นแตละกลมุ ออกมาแสดงบทบาทสมมตุ ิตามกิจกรรมของกลมุ ที่ไดรบั มอบหมาย ๔. นักเรียนและครรู ว มกนั แสดงความคดิ เห็นในการแสดงบทบาทสมมตุ ติ ามกจิ กรรมของแตล ะกลุม ๕. ใหนักเรยี นเขยี นขอ ความจากกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมตุ กิ ิจกรรมละ ๑ ขอ ลงในสมุด สื่อ / แหลงเรยี นรู - หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชวี ติ ภาษาพาที ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๓ การวัดผลและประเมินผล ๑) วธิ ีประเมิน - สงั เกตพฤตกิ รรม - ตรวจสมดุ แบบฝกหัด ๒) เคร่ืองมือประเมนิ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ทําแบบฝก หัด ๓) เกณฑก ารประเมิน - นกั เรยี นผา นเกณฑการสงั เกตพฤติกรรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐ - นกั เรียนผา นเกณฑก ารทาํ แบบฝก หดั รอ ยละ ๗๕ – ๘๐