แนะนำกำรใชง้ ำน การงานอาชพี : ครูทวปี ศรตี ะวัน
คำนำ หนังสือ อิเล็กทรอนกิ ส์ (E - BOOK) ฉบับนไ้ี ดเ้ รยี บเรยี ง เน้ือหาตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ.2560 เพ่ือใชเ้ ป็นสอ่ื ประกอบในการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระ การเรยี นรู้การงานอาชีพ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ซ่งึ ผจู้ ัดทา ได้ออกแบบตามหน่วยการเรยี นรู้ทง้ั หมด 7 หน่วยการเรียนรู้ ดังต่อไปน้ี 1. บา้ นเธอบา้ นฉนั 5. งานช่างเบ้อื งต้น 2. เสอ้ื ผ้าของเรา 6. งานประดิษฐ์ 3. พนื้ ฐานงานเกษตร 7. งานธรุ กจิ และอาชีพ 4. ผกั สวนครัว
ในหน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 นี้ ผจู้ ดั ทาได้เรยี บเรียง เน้อื หาเกี่ยวกับความความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั งานชา่ ง การดแู ลรกั ษาเครอื่ งมือช่าง รวมท้ังการซ่อมแซม การสร้างและการประกอบของใชภ้ ายในบา้ นเบ้อื งต้น ผ้จู ัดทาหวังวา่ หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E_BOOK) ฉบับนี้ จะชว่ ยให้ผู้เรียนสนใจศกึ ษาและบรรลผุ ลการ เรียนร้ตู ามตัวชีว้ ัดของกล่มุ สาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยไี ด้เปน็ อยา่ งดี นายทวีป ศรตี ะวัน เรยี บเรียง การงานอาชพี : ครทู วปี ศรีตะวนั
แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลงั เรียน
PAGE: A สารบญั เรอ่ื ง หนำ้ กำรดูแลรกั ษำซอ่ มแซมของใช้ 1 ประโยชน์กำรรักษำของใชใ้ นบ้ำน 2 หลักกำรดแู ลรกั ษำของใช้ต่ำงๆ 2 ฃ้ันตอนกำรซอ่ มแซมของใชต้ ำ่ งๆ 6 ประโยชน์กำรซอ่ มแซมของใช้ 7 กำรซอ่ มแซมทอ่ ประปำรว่ั 8 กำรสร้ำงสงิ่ ของเคร่อื งใชด้ ้วยตนเอง 12 การงานอาชพี : ครูทวปี ศรตี ะวัน
เรือ่ ง หนำ้ กำรสร้ำงนำฬกิ ำแขวนผนัง 14 กำรประกอบพดั ลม 18 <<สารบัญ : PAGE: B
PAGE: 1 หนว่ ยที่ 5 งำนชำ่ งเบื้องต้น งำนชำ่ งพนื้ ฐำน คือ การเรียนรู้ ดูแลรกั ษา และการ ซอ่ มแซมสงิ่ ของเคร่อื งใชต้ า่ งๆ ภายในบา้ นท่ีชารดุ ดว้ ยตนเอง รวมถงึ การสรา้ งหรือประกอบของใช้ด้วยตนเอง 1. กำรดแู ลรกั ษำและซอ่ มแซมของใช้ภำยในบ้ำน เครือ่ งใช้ในบา้ นต้องไดร้ บั การดแู ลบารงุ รักษา เพือ่ ใหม้ ี สภาพการใช้งานได้ดอี ยู่เสมอ รวมทงั้ ต้องซ่อมแซม สร้างหรอื ประกอบขึ้นมาใช้งานเอง ทาให้มีของใช้ใหมๆ่ ตามความ ตอ้ งการ การงานอาชีพ : ครูทวีป ศรตี ะวนั
2. ประโยชน์กำรรกั ษำของใช้ในบ้ำนมีดังตอ่ ไปน้ี ช่วยยดื อายสุ ิ่งของเคร่อื งใชใ้ หย้ าวนานย่ิงขึน้ มขี องใชใ้ หมท่ ส่ี ร้างด้วยตนเอง ไวใ้ ชง้ าน ****** ดังนนั้ เราตอ้ งช่วยกันดูแลรักษาและซอ่ มแซมส่ิงของ เครื่องใชต้ า่ งๆ 3. กำรดูแลรักษำของใชต้ ำ่ งๆ ภำยในบำ้ น มหี ลักปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) เคร่อื งเรอื น เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ เตยี ง เปน็ เครื่องเรือนท่ี ตอ้ งใชง้ านเปน็ ประจาเราจึงตอ้ งดแู ลรักษาใหอ้ ยูใ่ นสภาพดี ใชง้ านอย่างทะนุถนอม หม่นั ทาความสะอาดอย่างถูกต้อง เม่อื พบวา่ ชารดุ ต้องรีบซอ่ มแซมทันที <<สารบัญ : PAGE: 2
PAGE: 3 2) ภำชนะอะลูมเิ นยี ม เชน่ หม้อ กระทะ ถาด กะละมัง ควรใชง้ านใหถ้ ูกประเภทของงาน ใชง้ านอยา่ งทะนุถนอม ไมท่ าหล่น ไม่วางแรงๆ เพราะอาจทาใหภ้ าชนะบบุ เบี้ยว ผดิ รปู ทรง และเม่อื ใช้งานเสรจ็ ควรลา้ งทาความสะอาด จากน้ันจัดเก็บเชา้ ทีใ่ ห้เรยี บร้อย 3) เคร่ืองใช้ไฟฟ้ำ เช่น โทรทัศน์ พัดลม เครื่องซกั ผ้า ตเู้ ย็น ดแู ลดังนี้ ตั้งใหห้ ่างจากผนงั อย่างนอ้ ย 15 เซนติเมตร เพ่อื ชว่ ยระบายความร้อน หา้ มวางในบรเิ วณที่เปยี กชน้ื หรือมนี า้ เพราะอาจ ทาให้ไฟซอ็ ตได้ การงานอาชพี : ครูทวปี ศรตี ะวัน
ถอดปลัก๊ ไฟออกหรือปดิ สวิตซท์ กุ คร้งั เม่อื เลิก ใช้งานยกเวน้ ตเู้ ย็นเพราะตอ้ งให้เคร่ืองทางานตลอดเวลา หมนั่ ทาความสะอาดเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าแตล่ ะชนิด อย่างถกู วธิ ีอยู่เสมอ 4) เครื่องมือในกำรทำงำนเกษตร เช่น จอบ เสยี ม คราด ส้อมพรวน มีดดายหญ้า กรรไกรตัดก่ิง บวั รดนา้ ดแู ลรักษาดังนี้ 4.1) เมอ่ื ใชง้ านเสรจ็ แล้วต้องลา้ งนา้ ให้สะอาดเชด็ ให้แหง้ และจดั เกบ็ ให้เรยี บรอ้ ยอยา่ งปลอดภยั <<สารบญั : PAGE: 4
PAGE: 5 4.2) เคร่ืองมอื ทม่ี โี ลหะให้ทาน้ามนั ตรงส่วนทเ่ี ป็นโลหะ เพ่อื กนั การเกดิ สนมิ จากนนั้ เก็บเข้าที่ให้เรียบรอ้ ย 4.3) ถ้าพบเคร่ืองมือชารดุ ให้รีบซ่อมแซม ถ้าซ่อมเอง ไมไ่ ด้ควรแยกเกบ็ ต่างหากก่อนนาไปใหผ้ เู้ ชีย่ วชาญซอ่ ม หรือถ้า เครื่องมอื เรม่ิ ไมค่ มควรลบั ใหค้ มด้วยหินลับมีดหรอื ตะไบก่อน นาไปเก็บ 5) เครอ่ื งมือในกำรทำงำนช่ำง เครื่องมอื ในการทางานชา่ ง เช่น ไขควง ประแจ เล่ือย สวา่ น มีวธิ ีการดแู ลรกั ษาดงั นี้ 5.1) เมอ่ื ใช้งานเสร็จแล้วต้องเช็ดทาความสะอาด 5.2) เครอ่ื งมอื ทเ่ี ป็นโลหะ ใหช้ โลมนั้ามันตรงสว่ นทีเ่ ป็น โลหะเพ่ือปอ้ งกนั การเกดิ สนิม แล้วจึงเกบ็ เขา้ ท่ี 5.3) ถา้ พบว่าเครื่องมือชารุดใหร้ ีบซอ่ มแซมทนั ทีก่อน นาไปเกบ็ ให้เรียบรอ้ ย การงานอาชพี : ครทู วปี ศรตี ะวัน
4. กำรซอ่ มแซมของใชต้ ่ำงๆ ภำยในบำ้ น มขี ั้นตอนปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1) สำรวจวิเครำะหง์ ำน เมื่อพบของใช้ท่ชี ารุดใหส้ ารวจ วา่ มีสง่ิ ใดที่ชารดุ บ้างแล้วตรวจสอบลักษณะการชารุด 2) ศึกษำขอ้ มลู เกย่ี วกับวิธีการซ่อมสิง่ ของให้เหมาะสมกบั ส่ิงของแต่ละชนิด และเลอื กวธิ ีทเี่ หมาะสมที่สดุ 3) ซอ่ มแซมสิ่งของ ถ้าสิ่งของชิน้ นน้ั ชารดุ เราสามารถ ซอ่ มได้ ให้ซ่อมดว้ ยความประณีตและควรใช้เคร่อื งมือในการ ซ่อมด้วยความระมดั ระวงั 4) ตรวจสอบและปรับปรงุ ผลงำน เมื่อซอ่ มเสร็จแล้ว ให้นามาตรวจสอบกอ่ นการใชง้ าน ถ้ายังชารดุ อยูใ่ หเ้ ลอื กวธิ กี าร ซ่อมใหมท่ เี่ หมาะสม <<สารบัญ : PAGE: 6
PAGE: 7 5. ประโยชน์ของกำรดแู ลรกั ษำและซอ่ มแซมของใช้ ภำยในบำ้ น มดี งั นี้ 1) ชว่ ยประหยดั ค่ำใช้จำ่ ยในการซื้อส่งิ ของเครอ่ื งใช้ใหมๆ่ 2) เห็นคณุ คำ่ ของส่งิ ของเครอื่ งใชต้ ่างๆ ภายในบา้ น และ ทาให้ ใช้สิง่ ของต่างๆ อย่างระมัดระวงั มากขึ้น 3) ทำให้มที ักษะในการทางานช่างดยี ง่ิ ข้นึ การงานอาชีพ : ครูทวปี ศรตี ะวัน
กำรซ่อมแซมท่อประปำรัว่ กาวประสานท่อน้า สาเหตุของการรั่วซึม 1. การแตกหกั 2. การเสอ่ื มสภาพของท่อประปา วัสด อปกรณแ์ ละเครือ่ งมือ ทีม่ า :http://www.homerepair-group.com/ 1. ประแจเลื่อน product-view.php?id=108 2. อพี อกซ่ี* อีพอกซีชนิ ดแบบหลอด ท่ีมา : https://id.aliexpress.com/store/product/30g- AB-MIX-Adhesive-Epoxy-Glue-stone-clear-gel- multi-purpose-for-DIY-jewelry-making- Free/606613_1223566375.html กาวอีพอ็ กซี่ ดินน้ามนั ที่มา https://www.homepro.co.th/ product/18996 <<สารบญั : PAGE: 8
PAGE: 9 ขัน้ ตอนการซอ่ มทอ่ ประปารั่ว 1. ปดิ วำล์วที่มำตรวัดน้ำ ถ้าวาลว์ แน่นมากควรใช้ ประแจเล่ือนชว่ ยขัน 2. ทำควำมสะอำดทอ่ นำ้ บริเวณทร่ี ่ัวใหส้ ะอาดแล้วเช็ด ให้แห้ง 3. ใช้อพี อกซอี่ ดุ รอยรว่ั ของทอ่ ประปาใหท้ ว่ั แลว้ ท้งิ ไว้ สักครหู่ นงึ่ จากนั้นจึงเปดิ วาลว์ ทีม่ าตรวดั น้าเหมอื นเดิม 4. ทดลองเปดิ นำ้ ถ้ายังมนี ้ารั่วซึมออกมาอกี ให้แกไ้ ขโดย ทาตามข้นั ตอน ที่ 1-2 อกี ครง้ั ❶❷ ❸ การงานอาชีพ : ครทู วปี ศรีตะวัน
อีพอกซี (epoxy) เป็นกาวพลาสตกิ ท่มี ีลักษณะยืดหยนุ่ คลา้ ย ดินน้ามัน มีคุณสมบัติในการยดึ เกาะสง ทนทานตอ่ สารเคมี และนา้ จงึ นิยมนามาใชอ้ ดุ รอยร่ัวของทอ่ ประปา กำรสร้ำงหรือประกอบของใช้ภำยในบ้ำน การสรา้ งของใชอ้ ย่างงา่ ยใชเ้ องภายในบ้านมปี ระโยชนด์ งั น้ี ได้ของใช้ตรงตามความต้องการ ช่วยประหยดั รายจา่ ยให้กับครอบครัว ฝึกใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ มคี วามขยนั และมีความอดทน การประกอบของใช้ขนึ้ เอง ตอ้ งมีความรู้เรือ่ ง วัสดุ อุปกรณ์ และการใช้เครื่องมอื อย่างถูกต้อง ซ่งึ อาศยั ความรู้เก่ียวกับกลไล ตา่ งๆ ทีม่ า : http://all-free-download.com/free-vector/download/cartoon-illustration-vector-repair_154312.html <<สารบัญ : PAGE: 10
PAGE: 11 ทม่ี า : http://ffden-2.phys.uaf.edu/211_fall2010.web.dir/Justin_Cannon_WEBPROJECT/BodyPageThree.html ระบบกลไก ระบบกลไก คอื เครอ่ื งมือท่มี นษุ ย์สรา้ งขนึ้ มาควบคุมให้ อปุ กรณ์ต่างๆ ทางานประสานสมั พนั ธ์กัน และให้เคร่อื งจกั ร ทางานสาเร็จตามความต้องการ ซง่ึ ในยคุ ปจั จุบนั เราใชร้ ะบบ กลไกควบคมุ การทางานของส่ิงตา่ งๆ มากมาย เช่น ส่ิงของ เครื่องใช้ นาฬกิ า ตาชง่ั โคมไฟชนดิ สมั ผัส ของเล่นไขลาน ซึ่งสงิ่ ทใ่ี ชไ้ ฟฟา้ และระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ที่ เรียกว่า กลไก ไฟฟา้ เช่น คอมพิวเตอร์ กลอ้ งดิจิทลั โทรศัพท์เคล่ือนที่ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่างๆ เป็นตน้ การงานอาชีพ : ครทู วีป ศรตี ะวัน
<< กระบวนกำรสร้ำงสิ่งของเคร่อื งใช้ดว้ ยตนเอง >> 1. กำหนดบญั หำ 2. รวบรวมขอ้ มูล หรอื ควำมต้องกำร 3. เลือกวิธีกำรที่ 4. ออกแบบและ เหมำะสม ปฏบิ ัตกิ ำร 5. ประเมินผล <<สารบญั : PAGE: 12
PAGE: 13 กระบวนกำรสรำ้ งสิ่งของเครอ่ื งใชด้ ว้ ยตนเอง 1. กำหนดบัญหำหรือควำมต้องกำร ข้นั ตอนแรกควรคิดว่า ต้องการจะสรา้ งส่ิงของใด 2. รวบรวมขอ้ มลู ศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั สง่ิ ของท่ี ต้องการสรา้ งว่าตอ้ งใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ใด มวี ธิ ที าอย่างไร 3. เลอื กวิธีกำรทเี่ หมำะสม นาข้อมลู ท้งั หมดท่รี วบรวมไว้ มาพิจารณา เพ่อื เลอื กวิธีการสร้างสงิ่ ของ 4. ออกแบบและปฏิบตั ิกำร คดิ ออกแบบเก่ียวกบั สง่ิ ของ ชิน้ นัน้ โดย เขยี นเปน็ ภาพร่าง 3 มิติ แลว้ จงึ ลงมอื ทาชิ้นงาน ตามทไ่ี ดอ้ อกแบบไว้ 5. ประเมนิ ผล นาส่ิงของทสี่ ร้างมาทดลองใชง้ านเพ่ือ ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงผลงานใหส้ มบูรณ์ การทางานตามกระบวนการ จะชว่ ยลดครามผดิ พลาดใน การทางาน ซึ่งชว่ ยประหยดั เวลาในการทางาน การงานอาชพี : ครูทวปี ศรตี ะวนั
กำรสรำ้ งหรอื ประกอบของใช้นำฬกิ ำแขวนผนงั วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละเครือ่ งมือ 1. แผ่นซีดีที่เสียหรือไมใ่ ชแ้ ล้ว 2. อปุ กรณ์นาฬกิ า 3. กรรไกร, คัตเตอร,์ เหล็กแหลม 4. กาว เช่นกาวรอ้ นชนิดนา้ เช่นกาวรอ้ นชนดิ แท่ง กาวยาง ชนิดหลอดบีบ เปน็ ต้น 5. วสั ดตุ กแต่งตา่ งๆ เช่นกระดาษสีต่างๆ ทมี่ า : https://www.rd4u.co.il/ ท่มี า :https://www.hotmelt.com/products/pam-hb-220-glue-gun <<สารบัญ : PAGE: 14
PAGE: 15 ขั้นตอนก่อนกำรทำงำน 1. กำหนดปัญหำหรือควำมตอ้ งกำร คอื อยากได้ นาฬกิ า แขวนผนัง 2. รวบรวมขอ้ มลู สรปุ ไดว้ ่า นาฬกิ าแขวนผนงั ทีม่ ีจาหน่าง มีราคาแพง และมีรูปแบบเหมือนๆ กัน จึงตัดสนิ ใจสรา้ ง นาฬกิ าแขวนผนงั ตามแบบของตนเอง 3. เลอื กวธิ กี ำร เลอื กทานาฬกิ าแขวนผนงั โดยใช้แผน่ ซีดี ทเี่ สยี หรือไมใ่ ชแ้ ล้ว 4. ออกแบบและปฏิบตั กิ ำร คดิ ออกแบบว่าจะสร้างแผ่นซดี ี ทเ่ี สยี หรอื ไมใ่ ช้แล้วอยา่ งไรแล้วเขยี นเป็นภาพรา่ ง 3 มติ ิลงบน กระดาษ 5. ประเมนิ ผลกำรทำงำน สรุปปัญหาและวิธกี ารแก้ไข ระหวา่ งการทางาน ว่าแก้ไขหรอื ปรงั ปรุงด้วยวธิ ีการใด การงานอาชพี : ครูทวปี ศรีตะวนั
ขัน้ กำรสร้ำงนำฬกิ ำแขวนผนัง 1. นากระดาษหรือวัสดทุ ต่ี ้องการ มาตดั เป็นวงกลมไปตดิ บนแผน่ ซดี ที เ่ี สียหรอื ไมใ่ ช้แล้ว ใหพ้ อดเี ส้นขอบ 2. แล้วตกแต่งลวดลาย ให้สวยงามตามความต้องการ ตามท่ีคดิ ไว้ ❶ ❷ ตดั กระดาษเป็นวงกลม ตวั อยา่ งการตกแตง่ 1 ที่มา : http://www.jeab.com/home-living/how-to/10-diy-wall-clock-ideas/2 ❷ ❷ ตวั อยา่ งการตกแตง่ 2 ตวั อยา่ งการตกแตง่ 3 <<สารบัญ : PAGE: 16
PAGE: 17 3. นาอุปกรณอ์ ุปกรณ์นาฬิกามาติด ก็จะได้นาฬกิ าไว้ ใช้งาน 4. ประเมนิ ผล นานาฬกิ าไปทดลองใช้และหาข้อบกพรอ่ ง เพ่ือปรับปรงุ แกไ้ ขผลงานใหด้ ียิ่งข้ึน ทีม่ า : http://www.jeab.com/home-living/how-to/10-diy-wall-clock-ideas/2 การงานอาชพี : ครทู วีป ศรีตะวัน
กำรประกอบพัดลม พัดลมเปน็ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านทม่ี กี ารใช้งานมาก ดงั น้นั เม่ือซ้อื พัดลมมาใช้งานจงึ จาเปน็ ต้องรวู้ ิธีการประกอบ ชิ้นส่วนให้สมบูรณก์ อ่ นการใชง้ าน ซึง่ มวี ิธกี ารตอ่ ไปนี้ <<สารบญั : PAGE: 18
PAGE: 19 สว่ นประกอบพดั ลม 1. หน้าปดั 9. กระโหลกหน้า 2. ตะแกรงหน้า 10. ปมดงึ สา่ ย 3. ขอบตะแกรง 11.กระโหลกหลัง 4. คลปิ ล็อคขอบตะแกรง 12.คอพดั ลม 5. ฝาครอบใบพัด 13.ขาเสาพดั ลม 6. ใบพดั 14. สวติ ซป์ รบั แรงลม 7. ตัวล็อคตะแกรงหลัง 15. ฐานพดั ลม 8. ตะแกรงหลงั 16. สายไฟพรอ้ มปลก๊ั การงานอาชพี : ครูทวปี ศรตี ะวัน
วธิ ปี ระกอบพัดลม 1. ร้อยสายไฟพรัอมปลั๊กฝานซ่องฐานพดั ลม วางขาเสาให้ตรง ตาแหน่งแลว้ กดล็อคทกุ ดา้ นให้สนทิ จนมีเสยิ งดงั กร๊ิก (ระดงั อยา่ ให้สายไฟถกู บบี ระหว่างขาเสาพดั ลมดบั ฐานพลาสติก) 2. หมุนฝาดรอบใบพดั ออกตามลกู ศร (LOOSEN) 3. หมนุ ตัวล็อคตะแกรงหลงั ออกตามลกู ศร (LOOSEN) 4. ใสต่ ะแกรงหลังตามรปู แลว้ ใส่ตัวล็อคตะแกรงหลงั หมนุ ตาม ลูกศรใหแ้ น่น(TIGHTEN) <<สารบัญ : PAGE: 20
PAGE: 21 5. นาใบพดั สวมเข้าดับแกนมอเตอร์ โดยใหร้ ่องของใบพดั เล่อื น เขา้ กบั สลักล็อคใบพัดแลัวใสฝ่ าดรอบใบพดั หมนุ เขา้ ตามลูกศร ใหแ้ น่น (TIGHTEN) 6. ใส่ตะแกรงหน้าวางร่องของขอบลอ็ คตะแกรงใหเ้ กี่ยวอยูก่ บั ด้านบนสดุ ของตะแกรงหลัง ใหซ้ ่ีลวดด้านหน้าอยู่ในแนวเดยี ว ดนั แลวั ใชม้ ือกดขอบตะแกรง ลอ็ คใหส้ นิทรอบด้าน แลว้ กด คลิปล็อคตะแกรงขึ้นเพอื่ ล็อคตะแกรงหหน้า-หลงั เข้าดว้ ยกัน ท่มี า : https://s3-ap-southeast-1.amazonaws.com/hatari-media/cms/ wp-content/uploads/2017/04/02210509/Table-Fan.pdf การงานอาชีพ : ครูทวีป ศรีตะวนั
<<สารบัญ : PAGE: 22
PAGE: 23 บรรณำนกุ รม ผกามาศ บญุ เผอื ก และคณะ.เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ป.4. กรงุ เทพฯ:อกั ษรเจริญทัศน์, 2557. ผกามาศ บญุ เผือก และคณะ.เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร ป.5. กรงุ เทพฯ:อกั ษรเจรญิ ทัศน์, 2557. ผกามาศ บญุ เผอื ก และคณะ.เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ป.6. กรุงเทพฯ:อกั ษรเจรญิ ทศั น์, 2557. อจั ฉรา นาคเมธี และคณะ.การงานอาชพี และเทคโนโลยี ป.4 .กรุงเทพฯ:อกั ษร เจรญิ ทัศน์, 2557. อจั ฉรา นาคเมธี และคณะ.การงานอาชพี และเทคโนโลยี ป.5 .กรงุ เทพฯ:อักษร เจรญิ ทศั น์, 2557. อัจฉรา นาคเมธี และคณะ.การงานอาชพี และเทคโนโลยี ป.6 .กรงุ เทพฯ:อักษร เจริญทศั น์, 2557. การงานอาชพี : ครทู วปี ศรีตะวัน
ออกแบบและเรียบเรียงโดย : นายทวีป ศรีตะวนั : ครผู ้สู อน กลมุ่ สาระการงานอาชพี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 : โรงเรยี นอนบุ าลปราสาทศึกษาคาร สังกดั : สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ประถมศึกษา สรุ นิ ทร์ เขต 3 : [email protected] <<สารบญั : PAGE: 44
<<BACK:
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: