Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัฒนธรรมไทย ๔ ภาค

วัฒนธรรมไทย ๔ ภาค

Published by Chanakant Khamwong, 2019-08-14 00:12:51

Description: วัฒนธรรมไทย ๔ ภาค

Search

Read the Text Version

วัฒนธรรมร่วม วทิ วสั ลาภชุ่มศรี ความต่างในความเหมือน ความเหมือนในความแตกต่าง

กินขา้ ว ย้ มิ ลาย สงกรานต์ กราบไหว้ กระหนก รอ้ งรา โขน ทาเพลง หนงั ใหญ่ ละคร เค้ ียว ปลารา้ ตอ่ ย เตะ หมาก ปลาแดก มวย ตะกรอ้ ปลาเจา่

ลกั ษณะสาคญั ของวัฒนธรรมไทย ➢นับถือระบบเครือญาติ มีค่านิยมเคารพผูอ้ าวโุ ส ➢ยดึ ถือในบุญกุศล เช่ือในกฎแหง่ กรรมตามหลกั พระพุทธศาสนา ➢มีแบบแผนพิธีกรรมในการประกอบกิจการหรือประเพณีต่างต้งั แต่ เกิดจนตาย

ลกั ษณะสาคญั ของวัฒนธรรมไทย ➢มวี ถิ ีเกษตรกรรมยอมรบั ความสาคญั ของธรรมชาติ ➢นิยมความสนุกสนาน ดาเนินชีวติ แบบสบายๆ ➢เป็ นวฒั นธรรมแบบผสมผสาน ➢ยดึ มนั่ จงรกั ภกั ดี เทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์

ลักษณะเฉพาะของคนไทย (RUTH BENEDICT,1943) ❖คนไทยรกั สนุก ❖คนไทยชอบทาบุญ ❖คนไทยรกั สงบ ใจเยน็ ออ่ นนอ้ ม ❖ผูช้ ายเป็ นใหญใ่ นสงั คม

สุจิตร วงคเ์ ทศ การพรา่ เลอื นจากบรรทดั ฐานทางสงั คม และรูปแบบการใชช้ ีวิต เดิม สูอ่ นาคตใหม่ทีเ่ ปิ ดกวา้ ง ไรก้ ารแบ่งแยก ความคาบเกี่ยวหรอื ซอ้ นทบั กนั ของขอ้ กาหนดตา่ งๆไดถ้ กู บิดเบอื นไปตามวฒั นธรรม และการใชช้ ีวิตรูปแบบใหม่ๆ ท่ีเกิดข้ ึนรอบโลก ไม่มีการแบง่ แยก คนหนุ่มสาวหรอื คนแก่ ตะวนั ตก หรอื ตะวนั ออกท่ชี ดั เจนอีกตอ่ ไป



อษุ าคเนยแ์ ผน่ ดนื เดยี วกนั เม่ ือลา้ นๆปีมาแลว้ มี “แผน่ ดนิ ซุนดา” (พ้ืนท่ ีสกรนี ดา) เช่ ือมโยงถงึ กนั ทงั้ แผน่ ดนิ ใหญแ่ ละหมเู่ กาะปัจจบุ นั ตงั้ แตต่ อนเหนือ (คือทางใตข้ องจนี ปัจจบุ นั ) ลงไปหมเู่ กาะทงั้ ของ ฟิลปิ ปินส,์ บรไู น, จนถงึ ตอนใตส้ ดุ ของอินโดนีเซีย เชน่ สมุ าตรา, ชวา ฯลฯ

วัฒนธรรมร่วม ในอุษาคเนย์ อุษาคเนยม์ ี “วฒั นธรรมร่วม” หลายอยา่ ง มานานหลายพนั ปี แลว้ แบง่ กวา้ งๆ เป็ น 2 ระยะ คือ ➢ก่อนอินเดีย ➢หลงั อินเดีย

ก่อนอินเดีย กอ่ นอินเดีย หมายถึง กอ่ นรบั อารยธรรมจากอินเดีย ต้งั แต่ หลายแสนหลายหมืน่ หลายพนั ปี มาแลว้ จนถึงราว พ.ศ. 1000

คนพ้ นื เมอื งด้งั เดิมดึกดาบรรพใ์ นอุษาคเนย์ มวี ฒั นธรรมรว่ มอยแู่ ลว้ ก่อนรบั อารยธรรมจาก อินเดีย เช่น (1) กินขา้ วเป็ นอาหารหลกั (2) กบั ขา้ วเน่าแลว้ อร่อย (3) เรือนเสาสงู (4) ผูห้ ญิงเป็ นหวั หนา้ (5) เซ่นวกั สตั วศ์ กั ด์ิสิทธ์ิ (6) พธิ ีศพหลายวนั (7) ฆอ้ ง (8) ท่าฟ้อนระบาราเตน้

(1) กินขา้ วเป็ นอาหารหลกั คนอุษาคเนยร์ ูจ้ กั ปลกู ขา้ วแลว้ กินขา้ วเป็ นอาหารหลกั ต้งั แต่ราว 5,000 ปี มาแลว้ พนั ธุข์ า้ วเกา่ สุดคลา้ ยขา้ วเหนียว (หรือขา้ วน่ึง) พบท่ีถ้าปุงฮุง (แมฮ่ ่องสอน) กบั ที่โนนนกทา (ขอนแกน่ ) แลว้ พบพนั ธุข์ า้ วเจา้ ดว้ ย แต่ ไมม่ าก (2) กบั ขา้ ว “เน่าแลว้ อรอ่ ย” คนอุษาคเนยก์ ินกบั ขา้ วประเภท “เน่าแลว้ อร่อย” เหมอื นกนั เชน่ ปลา แดก, ปลารา้ , น้าบดู ู, ถวั่ เน่า, กะปิ , น้าปลา, ปลาเคม็ , ผกั ดอง ฯลฯ

(3) เรอื นเสาสูง คนอุษาคเนยป์ ลูกเรือนเสาสงู ต้งั แต่ตอนใตล้ ุ่มน้าแยงซีลงไปจนถึงหมเู่ กาะ เรือนเสาสงู ตอ้ งยกพ้ ืน มีใตถ้ ุนเป็ นบรเิ วณทากิจกรรมตลอดท้งั วนั เช่น หุง ขา้ ว, ทอผา้ , เล้ ียงสตั ว,์ เล้ ียงลกู ตกกลางคืนจงึ ข้ นึ นอนบนเรือนเพอ่ื หนีสตั ว์ รา้ ย แลว้ ชกั บนั ไดออก ใตถ้ ุนบา้ นไมไ่ ดท้ าไวห้ นีน้าท่วม เพราะคนบางกลุ่มปลูกเรือนบนที่สูงเชิงเขา ซึ่งไมม่ นี ้าท่วมกย็ งั ทาใตถ้ ุนสูง หลงั คาทรงสามเหลี่ยมมีไมไ้ ขวก้ นั แลว้ คนบางกลุ่มเรยี ก กาแล เป็ น เทคโนโลยคี ้ายนั ของไมไ้ ผ่สองลาไมใ่ หห้ ลงั คายบุ มีในทุกชาติพนั ธุ์ คนบาง พวกใชก้ าแลเป็ นท่ีแขวนหวั สตั วศ์ กั ด์ิสิทธ์ิก็มี เชน่ หวั ควาย









(4) ผหู้ ญงิ เป็ นหัวหนา้ คนอุษาคเนยย์ กยอ่ งหญิงเป็ นหวั หน้าพีธีกรรมเขา้ ทรงผีบรรพชน เช่น ผีฟ้า (ลาว), ผีมด (เขมร), ผีเมง (มอญ), ฯลฯ ผีบรรพชนไม่ลงทรงผชู้ าย เท่ากบั หญิงเป็ นหวั หน้าเผ่าพนั ธุ์ คาเรียกหญิงวา่ แม่ แปลวา่ ผเู้ ป็ นใหญ่ ใชเ้ รียกส่ิงสาคญั เชน่ แมน่ ้า (ทางลาว เรียกน้าแม)่ , แมท่ พั , แม่เหล็ก ฯลฯ สืบตระกลู ทางสายแมเ่ ป็ นหลกั ลกู สาวสืบทอดมรดกที่ดินและเรอื น สว่ นลูกชาย ไปเป็ นบ่าว คอื ข้ ขี า้ บา้ นผหู้ ญิง สืบราชสนั ตติวงศท์ างสายแม่ เห็นไดจ้ ากวงั หนา้ ตอ้ งเป็ นพน่ี ้องทอ้ ง “แม”่ เดียวกนั กบั วงั หลวง ยกเวน้ ใครก็ไดย้ ดึ อานาจในหมเู่ ครือญาติ

(5) เซ่นวักสตั วศ์ ักด์ิสิทธ์ิ คนอุษาคเนยด์ ้งั เดิมนับถือศาสนาผี (หมายถึง ระบบความเช่ือในอานาจ เหนือธรรมชาติ) แลว้ เซน่ วกั สตั วศ์ กั ด์ิสิทธ์ิ โดยเฉพาะสตั วค์ รึ่งบกคร่ึงน้า เช่น กบ (หรือคางคก), จระเข,้ ตะกวด (เห้ ีย), ฯลฯ ท่ีคนยุคน้ันเชื่อวา่ เป็ นผูม้ อี านาจบนั ดาลใหฝ้ นตกเพราะพบสตั วเ์ หลา่ น้ ีทุกครง้ั ท่ีฝนตก และ พิทกั ษ์แหล่งน้าใหค้ วามอุดมสมบรู ณ์ สตั วพ์ วกน้ ีมภี าพเขียนบนผนังถ้าไวเ้ ซ่นวกั บางทีสลกั รูปเป็ นลายเสน้ บน เครื่องมือสมั ฤทธ์ิ โดยเฉพาะทาประติมากรรมรูปกบบนหนา้ กลองทองไว้ ตีขอฝน



(6) พิธีศพหลายวนั คนอุษาคเนย์ ต้งั แต่ราว 3,000 ปี มาแลว้ เมือ่ มคี นตายไปจะเก็บ ศพหลายวนั ใหเ้ น้ ือหนังเน่าเป่ื อยยอ่ ยสลายเหลือแต่กระดกู แลว้ เก็บ กระดูกมาทาพิธีอีก เรียก พิธีศพคร้งั ที่สอง กระดกู ท่ีเก็บมาน้ ี อยใู่ นภาชนะพเิ ศษทาดว้ ยดินเผา เรียกหมอ้ ดินเผา หรือแค็ปซลู และหนิ มีตวั อยา่ งสาคญั เชน่ ไหหินในลาว, หีบหินบน ปราสาทนครวดั กบั หมเู่ กาะ



(7) ฆอ้ ง คนอุษาคเนย์ ใชฆ้ อ้ งทาดว้ ยโลหะ ประโคมตีมเี สียงศกั ด์ิสิทธ์ิดงั กงั วาน ส่ือสารกบั ผี หรือเทวดา (หมายถึงอานาจเหนือธรรมชาติ) ฆอ้ งมหี ลายขนาด ลว้ นสืบประเพณีจากกลองทอง (หรือมโหระทึก) แรกมขี ้ ึนเมอื่ 3,000 ปี มาแลว้ บริเวณมณฑลยนู นานกบั มณฑลกวางสี แลว้ แพร่กระจายลงไปถึง หมเู่ กาะ ระฆงั อยใู่ นวฒั นธรรมฆอ้ ง ประโคมดว้ ยไมต้ ีจากขา้ งนอก (ต่างจาก bell ของ ตะวนั ตก มลี กู กระทบแขวนตีจากขา้ งใน) วฒั นธรรมฆอ้ งไมม่ ีในตะวนั ตก จงึ ไมม่ ศี พั ทอ์ งั กฤษเรียกฆอ้ ง ตอ้ งใชท้ บั ศพั ทพ์ ้ นื เมือง วา่ gong



(8) ท่าฟ้อนระบาราเตน้ คนอุษาคเนยก์ างแขน ถ่างขา ยอ่ เขา่ เป็ นหลกั ในการฟ้อนระบาราเตน้ เรียก สามญั ลกั ษณะ ท่ีศพั ทล์ ะครไทยเรียกท่ายดื (ทาเขา่ ตรง) กบั ท่ายบุ (ทายอ่ เขา่ ) ท่าเตน้ ถ่างขา ยอ่ เขา่ เป็ นมุมฉาก ไดจ้ ากทาเลียนแบบใหเ้ หมือนกบ ศกั ด์ิสิทธ์ิ เรียกท่ากบ ยกยอ่ งเป็ นท่าเตน้ ศกั ด์ิสิทธ์ิ มีหลกั ฐานภาพสลกั ตามปราสาทหินในกมั พชู าและไทย เช่น ท่าราศิวนาฏราช บนหน้าบนั ปราสาทพนมรุง้ (บุรีรมั ย)์ และท่าโนรา, โขน, ละคร (พระ นาง ยกั ษ์ ลิง) กบั legon ของอินโดนีเซีย



หลงั อินเดีย หลงั อินเดยี หมายถึง หลงั รบั อารยธรรมจากอินเดีย ต้งั แต่ราวหลงั พ.ศ.1000 คนพ้ นื เมืองรบั วฒั นธรรมจากอินเดียมาประสมประสานวฒั นธรรมด้งั เดิม แลว้ เกดิ วฒั นธรรมใหม่ ที่มีท้งั คลา้ ยคลึงกนั และ แตกต่างกนั มี 3 ระยะ คอื (1) รบั ศาสนาพราหมณ-์ พุทธ กบั (2) รบั ศาสนาอิสลาม และอ่ืนๆ (3) รบั อาณานิคม

หลัง พ.ศ. 1000 รบั ศาสนาพราหมณ์-พุทธ คนอษุ าคเนยร์ บั ศาสนาพราหมณ-์ พทุ ธราวหลงั พ.ศ. 1000 ทาใหร้ บั ประเพณี พธิ ีกรรมอื่นๆพรอ้ มกนั ดว้ ย ดงั น้ ี ตวั อกั ษร ปัลลวะจากอินเดียใต้ หลงั จากน้ันพฒั นาข้ ึนเป็ นอกั ษรของตนเอง เชน่ อกั ษรมอญ, อกั ษรขอม, อกั ษรกวิ (ใชใ้ นดินแดนทางใตข้ องไทยถึงมาเลเซียและ หมเู่ กาะอินโดนีเซีย) เป็ นตน้ ทางใหม้ ีความแตกต่างต่อไปขา้ งหน้าเป็ นพวกมอญ, พวก เขมร, เป็ นตน้

กราบไหว้ รบั จากอินเดียพรอ้ มพราหมณ-์ พุทธท้งั ประเพณีกราบ และไหว้

บวช รบั จากอินเดีย แต่ประสมประเพณีพ้ ืนเมือง ไทยเรียกบวชนาค, ทาขวญั นาค

มหากาพย์ รบั ท้งั รามายณะและมหาภารตะ แต่ยกยอ่ งรามายณะ มากกวา่ ไทยเรียกรามเกียรต์ิ

ลายกระหนก รบั จากอินเดียแลว้ ปรบั ใชเ้ รียกต่างกนั เชน่ ลายไทย, ลายเขมร, ลายลาว

อาหาร รบั พนั ธุข์ า้ วเจา้ จากอินเดีย และกบั ขา้ วบางอยา่ ง เช่น แกงใส่ กะทิ, ขนมต่างๆ เช่น กระยาสารท

หลัง พ.ศ. 1800 รบั ศาสนาอิสลาม คนอุษาคเนยร์ บั ศาสนาอิสลามราวหลงั พ.ศ. 1800 แต่แพร่หลาย เฉพาะหมเู่ กาะ กบั ดินแดนชายทะเลบางแหง่ เท่าน้ัน เช่น มาเลเซีย, เวยี ดนาม นับแต่น้ ีไปอุษาคเนยจ์ ะแตกต่างทางศาสนา

พหุวัฒนธรรม ดา้ นพหุวฒั นธรรม คนช้นั นาไทยยอมรบั ความหลากหลายทางชาติ พนั ธุแ์ ละวฒั นธรรม แต่เป็ นการยอมรบั พหุวฒั นธรรมอยา่ งจายอม และอยา่ งปลอมๆ คือทาใหเ้ ซื่องๆ เป็ นเพยี งวสั ดุอุปกรณก์ าร ท่องเที่ยวอยา่ งหน่ึงเท่าน้ัน จึงไมม่ บี ริบท ไมม่ ปี ระวตั ิศาสตร์ และไม่ มพี ลงั ทางการเมอื งเพื่อตอ่ รองสรา้ งความมนั่ คงใหก้ ลุ่มตวั เอง ใน ท่ีสุดก็ถกู ทางการ “กลืน” ใหเ้ ป็ นไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook