Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3.เอกสารสรุปเนื้อหาวิชา ทร31001ทักษะการเรียนรู้

3.เอกสารสรุปเนื้อหาวิชา ทร31001ทักษะการเรียนรู้

Published by jonggonnee2517, 2022-05-28 13:48:10

Description: 3.เอกสารสรุปเนื้อหาวิชา ทร31001ทักษะการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

44 เรอ่ื งที่ 5 การกาํ หนดแนวทางทางเลอื กทห่ี ลากหลายในการแกป ญ หาอยางมี เหตผุ ล มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีความสุขอยา งยงั่ ยนื การประยกุ ต ใชอยางมีเหตผุ ล เหมาะสมกบั ตนเอง ครอบครวั และชุมชน/สงั คม สภาพสังคมไทยในปจจบุ นั มีการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ และสังคมอยางรวดเร็ว พรอมท้ังความเจริญทางดานเทคโนโลยีการส่ือสาร ที่สามารถส่ือสารถึงกันไดภายในเวลาอันสั้น สง ผลใหเกดิ การเปลย่ี นแปลงดานตาง ๆ ในการดําเนินชีวิต โดยขาดการวิเคราะหถึงความเปนมา และเหตุผลท่ีแทจริงอยางถูกตอง เกิดปญหาตาง ๆ ต้ังแตการฉอฉลของนักการเมือง การทุจริต ฯลฯ ซึ่งปญ หาสังคมตา ง ๆ เหลานแี้ สดงใหเห็นถึงการหยอนยานทางดานคุณธรรม จริยธรรมของ คนในชาติเปนอยางมาก และควรไดรับการแกไขอยางเรงดวน คุณธรรมเปนรากฐานของความ เจริญรงุ เรอื งของสังคม ดังนนั้ คนไทยควรพัฒนาตนเองใหม คี ุณธรรม จริยธรรม 1. คุณธรรม จรยิ ธรรมเพ่ือการคิดแกปญหา มี 4 ประการ ตามพระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัวฯ ประการแรก คือ การรักษาความสัจ ความจริงใจตอตนเองที่ประพฤติปฏิบัติแตสิ่งที่ เปนประโยชนแ ละเปน ธรรม ประการท่ีสอง คือ การรูจักขมใจตนเอง ฝกฝนตนเองใหประพฤติปฏิบัติในความสัจ ความดนี ้นั ประการท่สี าม คอื การอดทน อดกล้ัน และอดออม ประการที่ส่ี คือ การรจู กั ละวางความช่วั ความทุจริต และรูจ กั สละประโยชนสวนนอย ของตนเพื่อประโยชนส วนใหญข องบานเมอื ง 2. คณุ ธรรมทใี่ ชใ นการแกป ญ หาชีวิต ทุกข คือ ความไมสบายกาย ไมส บายใจท่ีเกิดขึ้นเน่ืองจากปญหาตา ง ๆ สมทุ ัย คอื เหตุทีท่ ําใหเกิดทกุ ข ซ่ึงเกิดจากปญ หาท้ังหลาย นโิ รธ คอื ความดับทุกข มรรค คอื แนวทางปฏิบตั ิในเชิงพฤตกิ รรมทเี่ ปนไปไดท จี่ ะไมใหเกิดปญ หาอีก 3. ธรรมเพือ่ การบรหิ าร “คนทร่ี ูตัวเองวาเปน คนโง ยงั พอเปนคนฉลาดไดบาง แตคนโงท่ีสําคัญผิดคิดวาตัวเอง เปนคนฉลาด จดั เปนคนโงแท” “หัดนิง่ เปน บา ง หดั โงเ ปน บาง หดั แพเปนบา ง นั่นแหละทา นกําลงั ชนะและกําลังฉลาด ข้ึน”

45 “คนสรางงาน งานสรางคน วาวข้ึนสูงเพราะมีลมตาน คนจะข้ึนสูง เพราะเผชิญกับ ปญ หา อปุ สรรค” “มารไมมี บารมีไมเกิด” 4. ธรรมสภุ าษิตสําหรบั ชาวบา น “ถาแคบนกั มกั คับขยับยาก ถากวางมากไมม ีอะไรจะใสสม ถาสูงนักมักจะลอยไปตาม ลม ถา ตา่ํ ตมมกั จมธรณ”ี “ไมส ูงกวา แม มักจะแพลมบน คนสงู เกนิ คน มกั จะโคนกลางคนั ” คนเราเมื่อเกิดมามีชีวิต มีพื้นฐานท่ีแตกตางกันอยางหลากหลายท้ังอาชีพ ฐานะ การศึกษา อารมณ ความรูความสามารถ บทบาททางสังคม ฯลฯ การเผชิญกับปญหาก็เปน ธรรมชาติทหี่ นีไมพ น ทุกคนจึงตองมีสติ มีสมาธิ เพื่อใหเกิดปญญา หาทางแกปญหาตาง ๆ โดย การแสวงหาขอมลู ทีห่ ลากหลายและเพียงพอประกอบการคิด มีทางเลือกท่ีหลากหลาย คุณธรรม จริยธรรมของประชาชนหลายเรื่องที่จําเปนตองนํามาฝกเพื่อพัฒนาประชาชน หรือพูดงาย ๆ วาคณุ ธรรมหลายประการท่ีประชาชนชาวไทยตองมี อยางไรก็ตามคุณธรรม จริยธรรม เปนเรื่อง ของแตละบริบทของชุมชนที่ไมเหมือนกัน การนําคุณธรรมจริยธรรมมีความจําเปนตองนําไป ประกอบในการคิดแกปญ หาใหเหมาะสมกบั บรบิ ทของชุมชนและวัฒนธรรมของชุมชนดวย

46 ใหผเู รียนอานกรณีตัวอยางตอ ไปน้ี จากนน้ั ใหพิจารณาวา มีขอมูลใดบางที่เปนขอมูลของ ตนเอง ขอมูลสังคมส่ิงแวดลอม และขอมูลวิชาการ แลวบันทึกลงในแบบฟอรมจําแนกขอมูล เมือ่ ไดขอมูลครบถวนแลว ใหผเู รยี นวเิ คราะหและสังเคราะหขอมูล และกําหนดทางเลือกเพื่อการ ตัดสินใจ 2 - 3 ทางเลือกท่ีเหมาะสม และเปนไปไดในการแกปญหา เพื่อไมใหเกิดเหตุการณดัง กรณตี ัวอยาง จากน้ันนําทางเลอื กมาพจิ ารณาวา ทางเลือกใดเปนทางเลือกในการตัดสินใจที่ดีที่สุด โดยใหเ หตุผลประกอบการตดั สนิ ใจลงในแบบฟอรมทีก่ ําหนด แบบบนั ทกึ ขอมูล 1. ชื่อกรณตี วั อยาง : ผวั หงึ โหดใชมีดฟน เมยี นวิ้ ขาด 3 นิ้ว 2. เนอ้ื หาสาระของกรณตี ัวอยาง จากกรณี นางสาววานชุ อายุ 30 ป ถูก นายอภิรัก อายุ 32 ป อดีตสามี ท่ีเลิกรากันไปได ประมาณ 1 เดอื น ทาํ รา ยรา งกายดวยการใชมีดฟนเขาที่ใบหนา และมือซายจนนิ้วโปง นิ้วช้ี และ นิ้วกลางหายไป 3 นิ้ว ขณะท่ี นางสาววานุช อุมลูกวัย 2 เดือน อยูในออมกอด เหตุเกิดเม่ือวันท่ี 25 ธ.ค. 2558 ยงั จับคนรา ยไมไ ด วันท่ี 11 ม.ค. 2559 ผูส่ือขาวไดรับการรองเรียนจาก นางสาววานุช อายุ 30 ป วา ถูก นายอภิรัก อายุ 32 ป สามี ทํารายรางกายดวยการใชมีดฟนเขาท่ีใบหนาและมือซายจนนิ้วโปง น้ิวช้ี และน้วิ กลางหายไป 3 น้วิ เหตุการณผานไปหลายวันแลว แตเจาหนาท่ีตํารวจยังไมสามารถ จับกุมตัวได ตนเองเกิดความกลัววาอดีตสามีจะยอนกลับมาทํารายอีก เพราะหลังจากเกิดเหตุ ตนไดไ ปแจงความไวแลว แตอดีตสามกี ็ยังโทรมากอ กวน นางสาววานุช เลาวา เหตุการณเรื่องนี้เกิดเมื่อเวลาประมาณกอนเท่ียงของวันที่ 25 ธนั วาคม 2558 ขณะทตี่ นเองน่งั เลยี้ งลูกนอ ยวัย 2 เดือน ท่ีเกิดกับนายอภิรัก หางจากปอมตํารวจ ประมาณ 600 เมตร ขณะนนั้ นายอภิรัก อดตี สามี ทไ่ี ดเ ลกิ รากันไปประมาณ 1 เดือน ไดยอนกลับ มาท่ีบาน พรอ มกับ มอี าการเมามายอยา งหนกั จากนั้นก็เปดฉากตอวาพรอมกับหาเรื่องทะเลาะเหมือนเดิม ตนจึงอุมลูกมากอดและ พยายามจะเดนิ หนแี ตไมท นั นายอภิรัก ไดควา มีดเพ่ือทํารายตน โดยมีลูกอยูในออมกอด ตนจึงใช มอื รบั เพราะกลัวจะถกู ลกู นอ ย ทําใหนว้ิ มอื ขาดไป 3 น้วิ ตนจึงรอ งขอความชวยเหลอื ชาวบานที่ได

47 ยินเหตุการณจึงไดเขามาหามปราม พรอมกับแจงเจาหนาที่ตํารวจ โดยมีหนวยกูภัยศีลธรรม สมาคม และรอยตาํ รวจโทมงคล เงินสะพร่ัง หัวหนาสายตรวจบานทาจาม เขามาชวยเหลือนําสง โรงพยาบาล สว นนายอภริ ัก ผกู อ เหตุอาศยั ชวงชลุ มนุ หลบหนีไป ดาน พ.ต.ท.ณัฐวรรฐฏ ศรที องเพชร สารวัตรสอบสวนสถานตี ํารวจภูธรหนองใหญ อําเภอ หนองใหญ จังหวัดชลบุรี กลาววา หลังจากเกิดเหตุก็ไปตรวจสอบและดูอาการของผูบาดเจ็บและ ไดล งบันทกึ ประจําวนั รวมท้ังไดอ อกหมายจบั ผูก อเหตุ พรอมไดไปประสานไปยังสถานีตํารวจตาง ๆ เพอ่ื ตดิ ตามตวั มาดําเนินคดตี อไป ลา สดุ ผูสอื่ ขา วรายงานวา เมอ่ื วนั ที่ 20 ม.ค.ท่ผี า นมา นายอภิรัก หรือ เปล ผูตองหาตาม หมายจับ ศาลจังหวดั ชลบุรี ท่ี จ.6/2558 ลงวนั ท่ี 6 มกราคม 2559 ขอหาพยายามฆาผูอ่ืน บุกรุก เขาไปกระทาํ การใด ๆ อันเปนการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพยของเขาโดยปกติ โดยมี อาวุธและใชกาํ ลังประทษุ รา ยและพาอาวธุ มีดไปในเมือง หมูบาน หรือทางสาธารณะ โดยไมมีเหตุ อันสมควร ไดเ ดินทางเขามอบตัวกับพนกั งานสอบสวน สภ.หนองใหญ จ.ชลบรุ ี หลังใชอาวุธมีดฟน ใบหนาและมือขางซาย ขาดไป 3 น้ิว ของ นางสาววานุช ขณะอยูในบาน หมูท่ี 4 ต.หนองเสือ ชา ง อ.หนองใหญ จ.ชลบุรี จนไดรับบาดเจ็บสาหัส กอนขับข่ีรถจักรยานยนตหลบหนี โดย พ.ต.อ. สรุ พงษ ไทยประเสริฐ ผกก.สภ.หนองใหญ เปดเผยวา ไดสั่งการใหฝายสืบสวนเรงทําการสืบสวน จนทราบวา คนราย คือ นายอภิรัก และทราบวาไดหลบหนีไปกบดานอยูท่ี อ.ปลวกแดง จ.ระยอง จึงเขาตรวจสอบกดดัน และพูดคุยกับปาของนายอภิรัก จนกระท่ังเม่ือวันที่ 20 ม.ค.ที่ผานมา ปาของนายอภริ ัก ไดพาเขา มอบตัวกบั เจา หนา ที่ สว นมลู เหตุนัน้ จากการสอบสวน พบวานายอภิรัก เกดิ ความหึงหวงภรรยาที่มีผูชายมาพัวพนั และระแวงวาจะไปมีชายอืน่ ประกอบกับภรรยาไมยอม ใหอ มุ ลกู วยั 2 เดือน จึงเกดิ ความโมโหและลงมอื กอเหตดุ งั กลาว อยางไรก็ตาม เจาหนาท่ีตํารวจได แสดงหมายจับ และทาํ การจับกมุ นายอภริ ัก และใหพ นกั งานสอบสวนดําเนนิ คดีตามกฎหมายตอ ไป (ท่ีมา : http://news.sanook.com/1935574/)

48 3. ขอมูลท่ีจําแนกท้ัง 3 ดาน ประกอบดวย ดานตนเอง ดานสังคมสิ่งแวดลอม และดาน วชิ าการ ขอ มลู ดานตนเอง ขอ มูลดานสงั คมสิ่งแวดลอ ม ขอ มูลดา นวชิ าการ …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………………………………. 4. ทางเลือกทีเ่ สนอเพ่ือพจิ ารณาตัดสินใจ 1) ................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3) ................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4).................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

49 5. ทางเลือกท่ีตดั สนิ ใจเลือกและเหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……..…………………………………………………………………..…………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………..…………………………………………………………………..………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………..………………………………………………… ………………..……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………..……………………… …………………………………………..………………………………………………………………………………………......

50 เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญการวจิ ัยอยางงาย กระบวนการและขั้นตอนของ การดาํ เนนิ งาน ความหมาย และความสาํ คญั การวิจัยอยางงาย 1. ความหมายของการวิจัย การวิจัยเปนกระบวนการแกปญหาโดยผานการวางแผน การรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบ การวเิ คราะหขอมลู และการตีความหมายขอมูล หรืออาจกลาว สรปุ ไดวา การวจิ ัยเปน การแสวงหาคําตอบของปญหา หรอื ขอ สงสัยตาง ๆ โดยใชกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ซึ่งวิธีการดังกลาว มีระบบ มีขั้นตอนในการดําเนินงานที่จะไดคําตอบท่ีถูกตองและ เชอื่ ถอื ได 2. การวิจัยอยางงาย เปนกระบวนการคนหาองคความรูหรือขอคนพบในการแกปญหา หรือแนวทางการพัฒนางานที่มีกระบวนการไมซับซอน ใชเวลาไมมาก ไมจําเปนตองมี เอกสารอางอิงมากมาย แตเปนปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนจริงและสะทอนความเปนเหตุเปนผล การเขียนรายงานวิจัยอาจเขยี นในลกั ษณะสน้ั ๆ ไมต องมีบทคดั ยอ 3. ความสาํ คัญการวิจัยอยางงา ย การวจิ ยั อยางงายมีความสาํ คญั ทั้งในสวนของครูผูสอน และผูเรยี น ดงั นี้ 3.1 ความสาํ คัญของการวจิ ยั อยางงา ยที่มตี อครู 1. ชวยใหครูเกิดการพฒั นาหลกั สูตรและปรับปรุงการเรียนการสอนใหมีมาตรฐาน มากยิ่งขนึ้ 2. ชว ยใหค รูเนนวธิ กี ารพัฒนาหรือปรับปรุงการเรยี นรูของผเู รียนดวยคําตอบที่พบ จากการวจิ ัย 3.2 ความสาํ คัญของการวิจยั อยางงายที่มีตอผูเ รยี น 1. ชวยใหเกิดแรงจูงใจใหผูเรียนเกิดความอยากรู อยากเห็น อยากเรียน และ พัฒนาพฤติกรรม 2. ผูเ รยี นไดร บั การชว ยเหลือและพัฒนาการเรียนรูอ ยา งเต็มศกั ยภาพ

51 3. เปนการเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และสรางบรรยากาศการเรียนรูของ ผูเรียน 4. กอ ใหเ กดิ กระบวนการทาํ งานเปนทีมของผเู รียนและครูผูสอน กระบวนการและขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน การวิจัย คือ กระบวนการแกปญหาที่มีขั้นตอนอยางเปนระบบ นาเช่ือถือและสามารถ สรางความรใู หมใหเกิดขน้ึ ในกระบวนการเรียนการสอน ขนั้ ตอนการทําวิจัยอยา งงา ย มีขนั้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนแรก มักจะเรมิ่ ตน จากผวู ิจยั อยากรอู ะไร มีปญ หาขอสงสัยอะไร เปนขน้ั ตอนการ กําหนด คําถามวิจยั / ปญ หาวจิ ัย ข้ันตอนที่สอง คือ การเขียนโครงการวิจัย ซ่ึงตองเขียนกอนการทําวิจัยจริง โดยเขียน ใหครอบคลุมวา จะทําวิจัยเร่ืองอะไร (ช่ือโครงการวิจัย) ทําไมจึงทําเร่ืองน้ี (ความเปนมาและ ความสําคัญ) อยากรูอะไรบางจากการวิจัย (วัตถุประสงคของการวิจัย) มีแนวทางข้ันตอนการ ดาํ เนินงานวจิ ัยอยางไร (วิธีดําเนินการวิจัย) ระยะเวลาการวิจัย และแผนการดําเนินงาน (ปฏิทิน ปฏิบัติงาน) การวจิ ยั นี้จะเปนประโยชนอ ยางไร (ประโยชนของการวิจัยหรือผลทีค่ าดวา จะไดร บั ) ขนั้ ตอนทีส่ าม คอื การดาํ เนนิ งานวจิ ยั ตามแผนทก่ี ําหนดไวใ นโครงการวจิ ัย ข้ันตอนที่ส่ี คือ การเขียนรายงานการวิจัย สวนใหญป ระกอบดว ยหัวขอ ดังนี้ 1. ชอ่ื เร่ือง 2. ชอ่ื ผวู ิจัย 3. ความเปนมาของการวิจยั 4. วตั ถุประสงคข องการวิจยั 5. วิธดี ําเนนิ การวิจัย 6. ผลการวิจยั 7. ขอเสนอแนะ 8. เอกสารอา งองิ (ถา ม)ี ข้ันตอนสุดทาย คือ การเผยแพรผลงานวิจัย เพ่ือใหบุคคลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ นาํ ผลงานวิจยั นั้นไปใชประโยชนต อ ไป

52 ผลที่ไดจากการทําวจิ ัย นอกจากจะไดรบั คาํ ตอบที่ตองการรูแลว ผูวิจัยเองก็ไดประโยชน จากการทําวิจัย คือ การเปนคนชางคิด ชางสังเกต ศึกษา คนควาหาความรู และเขียนเรียบเรียง อยา งเปนระบบ นอกจากนนั้ การวจิ ยั จะเกดิ ประโยชนในภาพรวม ดังน้ี 1. การวิจยั ทาํ ใหเ กิดความรูทางวิชาการใหม ๆ 2. การวจิ ัยชวยใหเ กดิ นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ แนวคิดใหม ๆ 3. การวิจยั ชวยตอบคาํ ถามทอ่ี ยากรูใหเ ขา ใจปญ หา และชว ยในการแกไขปญหา 4. การวจิ ยั ชว ยใหท ราบผลและขอ บกพรองจากการดาํ เนินงาน เร่ืองท่ี 2 สถิติงาย ๆ เพอ่ื การวิจัย ความหมายของสถิติ หมายถึง ขอเท็จจริงท่ีเปนตัวเลขท่ีเกิดจากการคํานวณ มาจาก ขอ มูล ทจี่ ดั เก็บจากสุมตัวอยา ง ไดแก คา ความถ่ี คารอยละ คา เฉลี่ย 1. คา ความถี่ (Frequency) ความถี่ (Frequency) คือ การแจงนับจํานวนของส่ิงท่ีเราตองการศึกษาวามีจํานวน เทา ใด เชน จํานวนผเู รยี นในหองเรียน จาํ นวนส่ิงของ จํานวนคนท่ีไปใชสิทธ์ิเลือกตั้ง ตัวอยาง เชน นักศึกษาในหองมีทั้งหมด 30 คน ตองการทราบวานักศึกษามีอาชีพ รับราชการ คาขาย เกษตรกรรม รบั จาง และอ่ืน ๆ กค่ี น เปนตน 2. คารอ ยละ (Percentage) รอยละ (Percentage) เปนสถิติท่ีใชกันมากในงานวิจัย เพราะคํานวณและทําความ เขาใจ ไดงาย นิยมเรียกวา เปอรเซ็น ใชสัญลักษณ % การใชสูตรในการคํานวณหาคารอยละ มีดังน้ี รอยละ = ตัวเลขทีต่ อ งการเปรยี บเทียบ x 100 จํานวนเตม็

53 3. คา เฉลย่ี (Mean) คาเฉลี่ย (Mean) เปนการนําคาของขอมูลทั้งหมดมารวมกัน แลวหารดวยจํานวน ขอมลู ทม่ี ีอยู การใชส ูตรในการคํานวณหาคาเฉล่ยี ไดดวยสตู ร ดงั นี้ คาเฉลย่ี = ผลรวมของขอมลู ทง้ั หมด จาํ นวนขอ มูลทม่ี อี ยู เร่ืองที่ 3 การสรา งเครือ่ งมอื การวิจยั ในการดําเนินงานวิจัยมีความจําเปนตองรวบรวมขอมูล เพ่ือนํามาวิเคราะหหาคําตอบ ตามวัตถุประสงคของการวิจัยที่กําหนด การสรางเคร่ืองมือการวิจัยเปนส่ิงท่ีสําคัญ ในการเก็บ รวบรวมขอมูลส่ิงท่ีตองการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมีหลายประเภท แตไมวาจะเปน เคร่ืองมือการวิจัยแบบใด ลวนมีจุดมุงหมายเดียวกัน คือ ตองการไดขอมูลที่ตรงตามขอเท็จจริง เพอ่ื ทาํ ใหผ ลงานวจิ ัยเชื่อถือไดแ ละเกิดประโยชนมากทีส่ ุด ประเภทของเครื่องมือการวิจัยที่นิยมใชกันมาก ไดแก แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และแบบสงั เกต แบบสอบถาม แบบสอบถามเปนเครอื่ งมอื การวิจยั ทีน่ ิยมนาํ มาใชร วบรวมขอมูลงานวิจัยเชงิ ปริมาณ เชน การวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยเชิงอธิบาย เปนตน แบบสอบถามมีท้ังแบบสอบถามปลายปด และ แบบสอบถามปลายเปด แบบสอบถามปลายปด เปนแบบสอบถามที่ระบุคําตอบไวแลวใหผูตอบเลือกตอบ หรืออาจใหเตมิ คําหรือขอ ความสน้ั ๆ เทา นั้น การสรา งแบบสอบถาม มีขัน้ ตอน ดงั นี้ 1. ศกึ ษาคน ควาขอ มลู ทเ่ี กีย่ วของกับเรือ่ งที่จะวจิ ัย และประชากรกลมุ ตวั อยางที่ศึกษา แลว ยกรา งแบบสอบถาม 2. นําไปใหผมู คี วามรูชว ยตรวจสอบ และใหข อเสนอแนะ 3. ปรับปรุงแกไ ขตามขอเสนอแนะ

54 4. นําไปทดลองใชกอนเพื่อความเช่ือม่ันวากลุมตัวอยาง (กลุมเล็ก ๆ ไมตองทุกคน) เขาใจคําถามและวิธีการตอบคําถาม แลวนําผลการทดลองมาปรับปรุงแกไขอีกครั้งกอนนําไปใช จริง 5. นําไปใชเ ปนเคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมลู กบั กลมุ ตวั อยา งทัง้ หมด แบบสอบถามปลายเปด เปนแบบสอบถามที่ไมไดกําหนดคําตอบไว โดยผูตอบเขียน คาํ ตอบไดอ ยา งอสิ ระตามความเปนจรงิ หรือตามความรคู วามเขา ใจของผูต อบ แบบสมั ภาษณ การสมั ภาษณ เปนการรวบรวมขอมูลในลักษณะเผชิญหนากันระหวางผูสัมภาษณและ ผูใหสัมภาษณ โดยผูสัมภาษณเปนผูซักถามและผูใหสัมภาษณเปนผูใหขอมูล หรือตอบคําถาม แบบสัมภาษณ แบง เปน 2 แบบ คือ 1. การสัมภาษณแ บบไมมีโครงสรา ง คือ ผูสัมภาษณใชคําถามปลายเปด เปนคําถาม กวา ง ๆปรับเปล่ยี นได และแสดงความคดิ เห็นไดอ ยา งอิสระ 2. การสัมภาษณแบบมีโครงสราง โดยที่ผูสัมภาษณกําหนดประเด็นคําถาม หรือ รายการคาํ ถามเรยี งลําดบั ไวแลว กอ นที่จะสมั ภาษณ แบบสังเกต แบบสังเกตแบงเปน 2 แบบ คือ 1. แบบสังเกตท่ีไมมีโครงรางการสังเกต ซ่ึงเปนแบบที่ไมไดกําหนดเหตุการณ พฤตกิ รรม หรอื สถานการณทจี่ ะสงั เกตไวชดั เจน 2. แบบสังเกตที่มโี ครงรางการสังเกต เปนแบบที่กําหนดไวลวงหนาแลววา จะสังเกต อะไร สงั เกตอยา งไร เมอ่ื ใด และจะบนั ทึกผลการสงั เกตอยางไร ตวั อยาง แบบสังเกต แบบมีโครงรางการสงั เกต เชน แบบสังเกตพฤติกรรมในการพบกลุม ของนกั ศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

55 คําชแี้ จง ใหผ สู งั เกตทาํ เครอื่ งหมาย / ใหต รงกับพฤติกรรมนกั ศกึ ษาท่พี บ พฤตกิ รรม พบ ไมพ บ 1. นอนหลบั 2. กินขนม 3. คยุ กัน 4. ตงั้ ใจฟงครูสอน 5. ซกั ถามปญ หา เรื่องท่ี 4 การเขยี นโครงการวจิ ยั อยางงา ย ความสําคญั ของโครงการวิจยั โครงการวิจยั คอื แผนการดําเนินการวิจัยท่ีเขียนข้ึนกอนการทําวิจัยจริง มีความสําคัญ คือ เปนแนวทางในการดําเนินการวิจัยสําหรับผูวิจัยเอง และผูเก่ียวของ เชน ครู อาจารย หรือ ผูใหทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อใหคําปรึกษาและติดตามความกาวหนาของการดําเนินงานวิจัย ถาจะเปรียบกับการสรางบานท่ีตองมีแปลนหรือพิมพเขียว ท่ีระบุรายละเอียดของการสรางบาน ทกุ ขัน้ ตอน สาํ หรบั เปนเครือ่ งมอื ในการควบคุม กํากับดูแลของเจาของบาน หรือผูรับเหมา เพื่อให การสรา งบานเปน ไปตามแบบทกี่ ําหนด โครงการวิจัยก็เปรียบเสมือนแปลนหรือพิมพเขียวเชนกัน คือ เปน แนวทางการดําเนินงานวจิ ัย ใหเ ปนไปตามแผนการวิจยั ทกี่ าํ หนด องคป ระกอบของโครงการวิจัย โดยทั่วไป โครงการวิจัย ประกอบดวยหัวขอ 14 หัวขอ ข้ึนอยูกับขอกําหนดของ สถานศึกษา แหลงทุน หรอื ความตอ งการของผูใหท ําโครงการวิจยั และอาจมจี ํานวนหวั ขอ มากกวา หรือนอยกวา กไ็ ด ดงั นี้ 1. ช่ือโครงการวจิ ัย 2. ความเปน มาและความสําคญั 3. วตั ถุประสงคของการวจิ ยั 4. ประโยชนทีค่ าดวาจะไดรับ

56 5. การศึกษาเอกสารท่เี กย่ี วขอ ง 6. สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั (ถาม)ี 7. ขอบเขตการวิจยั 8. วิธดี ําเนนิ การวจิ ยั 9. นิยามศพั ท 10. ระยะเวลาดําเนินการ 11. แผนการดําเนนิ การ 12. สถานท่ที ําการวจิ ยั 13. ทรพั ยากรและงบประมาณ 14. ประวัตผิ วู ิจยั /คณะวิจัย การเขยี นโครงการวิจัยอยา งงาย สําหรับผูที่เริ่มเขียนโครงการวิจัย อาจจะทดลองเขียนโครงการวิจัยอยางงาย ๆ ไมจ ําเปน ตองมหี วั ขอครบท้งั 14 หวั ขอ แตต องเขยี นใหค รอบคลุมองคป ระกอบ 7 ขอ ตอไปน้ี 1. ช่ือโครงการวิจัย ชื่อโครงการวิจัยควรกะทัดรัด ส่ือความหมายไดชัดเจน มีความ เฉพาะเจาะจงในสิง่ ที่ศึกษา 2. ชอื่ ผวู ิจยั บอกชอื่ ของผทู าํ วจิ ยั 3. ความเปนมาและความสาํ คญั เขยี นอธบิ ายใหเห็นความสําคัญของสิ่งที่ศึกษา เขียน ใหตรงประเด็น กระชบั เปน เหตเุ ปน ผล มีอา งองิ เอกสารที่ศึกษา (ถา ม)ี 4. วัตถปุ ระสงคของการวจิ ยั เขียนใหส อดคลองกับชื่อโครงการวิจัย ครอบคลุมเร่ืองท่ี ศกึ ษา เขียนใหช ัดเจน อาจมขี อเดียว หรอื หลายขอ ก็ได 5. วธิ ดี าํ เนินการวจิ ยั ระบถุ งึ วธิ กี ารดาํ เนนิ การวิจัย - ประชากรกลมุ ตัวอยาง สง่ิ ที่ศกึ ษาคืออะไร มีจํานวนเทาไร - วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ระบุวิธีการเก็บการบันทึกขอมูล ระยะเวลา หรือ ชวงเวลา สถานที่ - เคร่ืองมือวิจัย ระบุชนิด เคร่ืองมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล เชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบสาํ รวจ - การวิเคราะหข อ มูล ระบุวิธกี ารวเิ คราะหขอมลู สถติ ิทใ่ี ช

57 6. ปฏิทินปฏบิ ตั ิงาน เขยี นขั้นตอนการดําเนนิ การวิจัยโดยละเอียด และระยะเวลาการ ดาํ เนินการแตล ะขั้นตอน 7. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ เขียนเปนขอ ๆ ถึงประโยชน ที่คาดวาจะเกิดข้ึนจาก การทําวจิ ัย ตัวอยา งการเขยี นโครงการวจิ ยั อยา งงา ย 1. ช่อื โครงการวิจยั “การศึกษาคนควาดวยตนเองของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ศนู ยก ารเรียนชุมชนวดั แจง ” 2. ชอ่ื ผวู ิจยั นางสาวกนกนุช ใจดี 3. ความเปน มาและความสาํ คัญ เนื่องจากนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช.วัดแจง สวนใหญเปน ผูใหญ มีอาชีพและภารกิจตา ง ๆ มากมาย จึงมขี อจาํ กดั เรื่องเวลา ไมสามารถมาพบ กลุมหรอื เขา เรียนทกุ วันได สถานศกึ ษาจงึ จดั ใหนักศึกษามาพบกลุมเฉพาะวันเสารและวันอาทิตย เพื่อครจู ะไดสอนเสรมิ และใหน ักศกึ ษามกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู สอบถามปญ หาการเรยี น ตลอดจน มอบหมายใหนกั ศึกษาไปศึกษาคนควาในหวั ขอวชิ าท่ีเรยี น ทํารายงานหรือนาํ เสนอเพื่อแลกเปล่ียน เรยี นรูในการพบกลุม ครั้งตอ ไป การทคี่ รมู อบหมายใหน กั ศึกษาไปศึกษาคนควา เรยี นรดู ว ยตนเองเปนสว นใหญเชนน้ี จึงนาสนใจศึกษาวานักศึกษามีวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเองอยางไร และพบปญหาอุปสรรค อะไรบาง มีขอเสนอแนะอยางไร ขอคนพบจากการวิจัย คาดวาจะทําใหครูและสถานศึกษา สามารถนําไปเปนขอมูลในการพัฒนา ปรับปรุง และสนับสนุนการศึกษาคนควาดวยตนเองของ นกั ศกึ ษาใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพตอไป 4. วัตถุประสงคของการวจิ ัย เพอื่ การศึกษา 4.1 ขอมูลพ้ืนฐานของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช. วดั แจง 4.2 วิธีการศึกษาคนควาดวยตนเองของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ศรช.วดั แจง 4.3 ปญหาอุปสรรคในการศึกษาคนควาดวยตนเองของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ศรช.วดั แจง

58 4.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาคนควาดวยตนเองของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ศรช.วัดแจง 5. วิธดี าํ เนินการวิจัย 5.1 ประชากร ไดแก นักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปการศึกษา 2552 สงั กดั ศรช.วัดแจง จํานวน 200 คน 5.2 กลุมตัวอยาง สุมตัวอยางจากนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายปก ารศกึ ษา 2552 สงั กัด ศรช.วัดแจง จํานวน 50 คน 5.3 เครื่องมือวิจัย ใชแบบสอบถาม มี 4 ตอน คือ ขอมูลพื้นฐานนักศึกษา วิธีการศึกษา คนควา ดวยตนเองของนักศกึ ษา ปญหาอุปสรรคทพ่ี บ และขอ เสนอแนะ 5.4 วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ มูล เก็บรวบรวมแบบสอบถามดว ยตนเอง ในเดือนธนั วาคม 2552 5.5 การวเิ คราะหข อมูล ใชความถ่ี คา รอยละ คาเฉล่ยี 6. ปฏิทนิ ปฏิบตั งิ าน ข้ันตอนการวจิ ยั ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 1. เขยี นโครงการวจิ ัย / 2. ศกึ ษาเอกสารและกลุมตวั อยาง / 3. สรางแบบสอบถาม / 4. เก็บรวบรวมขอมลู // 5. วิเคราะหขอมูล/สรุป/เขียน // รายงาน 7. ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดร ับ 7.1 ครผู สู อนใชเปน แนวทางปรับการเรยี นการสอน เพ่ือชวยเหลือ สนับสนนุ การศึกษาคนควา เรียนรูดว ยตนเองของนักศึกษา 7.2 สถานศึกษาใชเปนแนวทางในการกําหนดกฎเกณฑ เพ่ือสงเสริม สนับสนุนการศึกษา คน ควาเรียนรูดวยตนเองของนกั ศกึ ษา

59 เรื่องที่ 5 ทกั ษะการวิจยั ในอาชพี การเขยี นรายงานการวิจยั อยางงาย และการ เผยแพรผ ลงานการวิจยั ทกั ษะการวิจยั ในอาชพี อาชีพในความหมายน้ี ไมจําเปนตองเปนอาชีพท่ีเกี่ยวของกับงานวิชาการ เชน ครู นกั วทิ ยาศาสตรเ ทา น้นั ทีจ่ ะตอ งทําวิจยั เพอื่ พัฒนางาน ทกุ อาชพี สามารถนําการวิจัยไปชวยในการ พัฒนางานได แมกระท่ังคนงานกวาดถนนของเทศบาล พนักงานขับรถเมล หรือแมแตพนักงาน เสริ ฟของภตั ตาคาร เปนตน กอนการตัดสินใจทําวิจัยในอาชีพ ผูวิจัยตองรูกอนวาการทํางานอาชีพของตนเอง มีปญหาอะไร ที่เปนประเด็นขอสงสัย และตองการคนหาคําตอบ โดยมักเขียนอยูในรูปประโยคที่ เปน คําถาม ท่ีมีความเฉพาะเจาะจง สามารถสงั เกต สํารวจ และศึกษาวจิ ัยได วิธกี ารทาํ ใหไดค าํ ถามวิจัยงานอาชพี ทดี่ ี การตง้ั คาํ ถามวิจัยท่ดี ีได ตอ งอาศยั ส่ิงตอไปนี้ 1. ฝกเปนคนชางสงั เกต 2. สรางนิสัยรักการอาน โดยเฉพาะการอานเน้ือหาสาระที่เก่ียวกับปญหางานอาชีพ และวิธกี ารแกไ ขปญ หา 3. ฝกต้งั ขอสงั เกตและตัง้ คําถามวิจัย ลองทดลองตง้ั คําถามและคาดเดาคําตอบ 4. หาเวลาสะทอนความคิดกับเพื่อนอยางสมํ่าเสมอ เพื่อตรวจสอบความคิดของ ตนเอง โดยเฉพาะความสมเหตุสมผลของคําถามวจิ ยั 5. การตั้งคําถามที่ดี ไมควรใชคําถาม ใช/ไมใช แตควรใชคําถาม “ทําไม อยางไร อะไร” 6. มีความนาสนใจ เหมาะสมกับเหตุผลที่ตองการทําวิจัย เพ่ือชวยในการแกปญหา หรอื พฒั นางาน 7. คําถามวิจัยน้ันสามารถจัดการใหอยูภายใตการควบคุมของผูวิจัยได และสามารถ ตดั สินใจทําอะไรกไ็ ดตามขอ คน พบ 8. คาํ ถามวิจยั นน้ั มีความเปนไปไดในการทํา เหมาะสมกับเวลา ทรัพยากร ในชวงแรก ควรคดิ ถึงการทําวิจยั ในประเด็นเล็ก ๆ (small scale) ซึ่งอยใู นวสิ ยั ทีส่ ามารถดําเนินการจนสาํ เร็จ 9. หลีกเล่ียงปญ หาวิจัยท่ีผูวิจัยและผูเก่ียวของไมสามารถทําอะไรได แมวาจะทราบ คาํ ตอบ

60 ตวั อยา งของประเดน็ วจิ ัยอาชีพ 1. ฉันตองการรูปญหาอุปสรรคท่ีแทจริงในการทําอาชีพคาขายของตนเอง จะรูได อยางไร 2. ฉนั ตอ งการลดรายจายจากการคาขายของฉนั จะสามารถทาํ ไดอยางไร 3. ฉันจะนาํ คอมพวิ เตอรม าชวยในการทําการคา ของฉันไดอยางไร และจะรูไดอยางไร วา วธิ ีดงั กลาวไดผ ลหรอื ไม 4. สาเหตอุ ะไรทม่ี ีผมู าใชบรกิ ารรานอาหารของเราลดนอ ยลง การวิจัยในงานอาชพี มใิ ชเปน เพียงการคน หาปญหา และคําตอบเพียงอยางเดียว หากแต เปนการวิจัยเพื่อพัฒนาไดดวย ผูวิจัยควรรูวา มีความจําเปนตองพัฒนางานอยางไร ทําไมตอง พัฒนา แตถาไมรูก็ควรวิจัยเพ่ือหาแนวทางการพัฒนา หรือรูแลวก็พัฒนาตามท่ีรู แลววิจัยเพ่ือ ประเมินผลการพัฒนาดวย การทําวิจัยในอาชีพของตนเอง ไมควรดําเนินการดวยตนเองเพียงคนเดียว ยกเวนถา อาชพี น้นั มผี ูทาํ วิจยั เพยี งคนเดียว ควรอยา งยง่ิ ที่จะตองทํางานเปนทีม และทีมวิจัยตองรับรูถึง สภาพปญหาหรอื ความตอ งการของงาน ในลกั ษณะของวตั ถปุ ระสงคของการวจิ ัยอยางชัดเจน เพ่ือ ขบั เคลอ่ื นการวิจยั ไดง าย องคป ระกอบในการเขยี นรายงานการวจิ ยั อยา งงาย สว นใหญเปน การนําเสนอในหัวขอ ตอไปนี้ 1. ช่อื เร่ือง 2. ช่ือผูวจิ ยั 3. ความเปน มาของการวจิ ัย 4. วตั ถปุ ระสงคข องการวิจยั 5. วธิ ีดาํ เนนิ การวจิ ยั 6. ผลการวจิ ัย 7. ขอ เสนอแนะ 8. เอกสารอา งอิง (ถาม)ี

61 การเขียนรายงานการวจิ ยั อยางงาย 1. ช่อื เร่ือง การเขยี นช่อื เร่อื งควรเขยี นใหก ะทดั รัด ตอบคําถามใหไดว า ใคร ทําอะไร กับใคร การ เขียนชื่อเรอื่ งท่สี ื่อความหมายชัดเจน จะทําใหเ หน็ ประเด็นท่ีจะศึกษาอยใู นชือ่ เรือ่ ง 2. ชอ่ื ผวู ิจัย ระบชุ ือ่ ผูเ รียนซง่ึ เปนผทู าํ การวิจัย พรอ มท้ังสถานศกึ ษาที่ผเู รยี นกาํ ลังศึกษาอยู 3. ความเปนมาของการวจิ ยั การเขียนความเปนมาของการวิจัย คือ การระบุใหผูอานไดทราบวาทําไมจึงตอง ทํางานวิจัยช้นิ น้ี มที ่ีมาท่ไี ปอยา งไร ดังน้ัน ผูวิจัยควรจะกลาวถึงสภาพปญหาหรือสภาพที่เปนอยู ในปจจุบัน ซ่ึงสภาพดังกลาวกอใหเกิดปญหาอะไรบาง หรือสภาพดังกลาวถาไดรับการปรับปรุง หรือพัฒนาใหดีข้ึนกวาท่ีเปนอยู จะกอใหเกิดประโยชนอะไรบาง และใครคือผูไดรับประโยชน ดังกลาว มีแนวคดิ อยางไรในการแกปญ หาหรอื แนวทางพัฒนาปรับปรุง และแนวคิดดังกลาวไดมา อยางไร (แนวคิดดังกลาวอาจไดม าจากการศึกษาเอกสาร หรือจากประสบการณตรงท่ีไดจากการ สงั เกต การสมั ภาษณ เปนตน) พรอมระบแุ หลง อา งอิง 4. วัตถุประสงคของการวิจยั การเขียนวัตถุประสงคของการวิจัย เปนการระบุใหผูอานไดทราบวา งานวิจัยคร้ังน้ี ผวู จิ ัยตองการทาํ อะไรกบั ใคร และจดุ หมายปลายทางหรอื ผลลพั ธสุดทา ยทีผ่ ูวจิ ยั ตอ งการคืออะไร 5. วธิ ดี ําเนินการวจิ ยั การเขยี นวธิ ดี ําเนนิ การวิจัย ควรครอบคลุมหัวขอ ดังตอไปน้ี 5.1 กลุม เปา หมายที่ตอ งการทาํ การวจิ ัย ควรระบใุ หชดั เจนวา คือใคร 5.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ควรระบุใหชัดเจนวาการวิจัยครั้งนี้ ใชเครื่องมือ อะไรบาง ในการเก็บรวบรวมขอมูลหรือแกไขปญหา เชน แบบสํารวจ การสัมภาษณ การสังเกต การจดบันทึก เปน ตน 5.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ควรระบุใหชัดเจนวาผูวิจัยดําเนินการวิจัยและรวบรวม ขอ มลู อยา งไร 5.4 การวเิ คราะหข อ มลู ควรระบใุ หชัดเจนวา ผูวิจยั วิเคราะหข อมลู อยางไร ซง่ึ อาจเปน การวเิ คราะหข อ มลู ในเชิงปรมิ าณหรือเชิงคุณภาพกไ็ ด

62 6. ผลการวจิ ยั การเขยี นผลการวิจยั ผูวจิ ัยตอ งสะทอ นใหเหน็ วากวาท่จี ะบรรลุเปาหมายของการวิจัย นั้น ผวู ิจัยตองดาํ เนนิ การท้งั หมดกรี่ อบ ในแตล ะรอบมกี ารปรับปรุงเปล่ียนแปลงอะไรบาง และผล ที่เกดิ ขึ้นเปน อยางไร 7. ขอ เสนอแนะ การเขียนขอเสนอแนะตองเปนขอเสนอแนะท่ีเปนผลสืบเนื่องจากขอคนพบของการวิจัย ในครั้งน้ี 8. เอกสารอางอิง เนื้อหาท่ีมีการนํามากลาวอางในรายงานการวิจัย ตองนํามาเขียนใหปรากฏอยูใน เอกสารอางอิง ตวั อยา งการเขยี นรายงานการวิจยั อยางงาย 1. ช่ือเรอ่ื ง การศกึ ษาผลการจัดทาํ บัญชีครัวเรือนของครอบครวั นายสมหมาย ขยันเรยี น 2. ชอ่ื ผูวิจยั นายสมหมาย ขยันเรียน นักศึกษา ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอจนุ จังหวัดพะเยา 3. ความเปน มาของการวจิ ัย ประชาชนในตําบลไมง าม สวนใหญมีหนี้สิน หลายครอบครัวมีฐานะยากจน มีรายจายที่ มากกวา รายได ทําใหม กี ารกูยืมเงินท้งั ในระบบและนอกระบบ ไมม ีเงนิ เก็บออมไวใชเมือ่ ยามจําเปน ประกอบกับชวงนี้เศรษฐกิจฝดเคือง ตนทุนทางการเกษตรสูง ผลผลิตไดราคาตํ่า คนในหมูบานมี การดื่มเหลา กนั มากทงั้ หญงิ และชาย ใชจา ยในสิ่งท่ีไมจ ําเปนตอ การดํารงชีวิต เชน ซือ้ หวย เลนการ พนนั ดม่ื เหลา สบู บุหรี่ หรือซ้ือโทรศัพทมือถือรุนใหม ๆ ใหกับลูกหลาน ผูวิจัยก็เปนบุคคลหนึ่งท่ี อยใู นตําบลไมง ามและครอบครวั มีหนีส้ ิน ไมร รู ายรับรายจา ยของตนเอง ไมรูวาการประกอบอาชีพ ทางการเกษตรกําลังขาดทุน ไมรูวาเงินท่ีหามาไดถูกนําไปใชแลกเปล่ียนกับอะไร ของที่ซ้ือมา บางคร้ังแยกไมออกวาอะไรจําเปนมาก อะไรจําเปนนอย หรืออะไรบางท่ีไมจําเปนเลย แตซื้อมา เพราะความอยากของคนในครอบครัว

63 ธนาคารชุมชน (www.cb.ktb.co.th/prod/commbank.nsf) กลาววา การบริหาร การเงิน ในครอบครัวใหมีระเบียบ จะทําใหทุกคนไดรับรูถึงท่ีมาท่ีไปของรายรับ-รายจายใน ครอบครวั และชว ยกนั บริหารเงนิ ในครอบครัวใหมีความพอดี เหลอื ไวพอใชและมีการเกบ็ ออม มีการนําขอมูลมาพิจารณาเพ่ือเพิ่มรายไดและลดรายจายที่ไมจําเปนลง เปนการวางแผนเพื่อ อนาคตท่ีดีของครอบครัว ดังพระราชดํารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงตรัสไวเรื่อง “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” การรับรูที่มาที่ไปของรายรับ-รายจายในครอบครัว ทําใหผูวิจัยเห็นวาการจัดทําบัญชี ครัวเรือนสามารถควบคุมการรับรู รายรับ-รายจายในครอบครัวท่ีใชไปในชีวิตประจําวันได โดย ผูวิจัยคิดวา เมื่อครอบครัวผูวิจัยไดจัดทําบัญชีครัวเรือนอยางตอเน่ืองทุกเดือนแลว จะทําให สามารถบริหารการเงินในครอบครัวไดอยางพอดี ทําใหผูวิจัยเห็นขอมูลที่เปนความจริง และ คาดหวงั ตอ ไปขางหนา วา จะลดหนใี้ นครอบครวั ลงได 4. วตั ถุประสงคของการวิจัย 4.1 เพ่ือจดั ทาํ บัญชีครัวเรือนและวเิ คราะหสภาพปญ หารายรบั -รายจายของครอบครัว 4.2 เพ่อื ลดรายจาย-เพมิ่ รายไดใ หก ับครอบครวั ได 5. วิธีดาํ เนินการวจิ ัย 5.1 กลุมเปาหมายในการวิจัย กลุมเปาหมายในการวิจัยครั้งน้ี คือ บุคคลในครอบครัว ของผูว ิจยั จํานวน 5 คน 5.2 เครื่องมือท่ีใชใ นการวิจัย เครื่องมอื ทใ่ี ชในการวจิ ยั ครัง้ น้ี ประกอบดวย 1) สมุดบัญชคี รัวเรือน 2) สมุดแยกประเภทรายไดแ ละคา ใชจ าย 3) บันทกึ ขอตกลงของครอบครัว 4) บันทกึ รายงานผลความกาวหนา การลดรายจายในแตล ะเดือน 5.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากการบันทึกในสมุด บัญชคี รัวเรอื นอยางตอ เน่อื งทกุ วนั ท่มี ีการรับ-จาย สรปุ ผลการรับ-จายเงินแยกเปนหมวดในแตละ เดอื น ต้ังแตเดือนท่ี 1 ถึงเดือนที่ 5 และบันทึกรายงานผลความกาวหนาการลดรายจายในแตละ เดอื น

64 5.4 การวเิ คราะหข อมลู 1) นาํ ผลท่ีไดจ ากการบันทึกบัญชีครัวเรือนมาพิจารณา โดยแยกเปนหมวด รายจาย ตาง ๆ ไดแก การเกษตร การศึกษา การรกั ษาพยาบาล อาหาร เครอ่ื งใชท ่จี าํ เปน และไมจ ําเปน อ่นื ๆ 2) นําผลท่ีไดจากการสรุปรายจายเปนหมวดตาง ๆ มาวิเคราะหเพื่อเปรียบเทียบ รายรับ-รายจา ย ในหมวดตาง ๆ เขียนที่มาของรายรับท่ีได และรายจายที่ไมจําเปน ซ่ึงจะใชเปน ขอมลู ในการจัดทําแผนการลดรายจา ย และขอตกลงในการปฏบิ ัตติ นรวมกันของคนในครอบครัว 3) นําผลท่ีไดจากการบันทึกบัญชีครัวเรือนมาประมวลผล เพ่ือพิจารณาถึง พัฒนาการหรือความกา วหนาในการลดรายจา ย เพ่ิมรายไดใ นแตล ะเดอื น และสรปุ ภาพรวมจากผล ที่ไดครั้งสุดทาย ในเดือนท่ี 5 วาไดบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวหรือไม ซ่ึงจะไดสรุปใน ผลการวจิ ยั ตอไป 6. ผลการวิจัย การวิจัยเรื่องการศึกษาผลการจัดทําบัญชีครัวเรือน ที่มีวัตถุประสงคเพ่ือจัดทําบัญชี ครวั เรือนและวเิ คราะหส ภาพปญ หารายรับ-รายจา ยของครอบครัว และเพื่อลดรายจาย-เพ่ิมรายได ใหกบั ครอบครัวของนายสมหมาย ขยันเรยี น ผลการวจิ ัยพบวา การจัดทําบัญชีในครัวเรือน ผูวิจัยไดจัดทําแบบบันทึกบัญชีครัวเรือนตามรูปแบบของ ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร มีการสรางความเขาใจใหกับครอบครัว เพ่ือเห็น ความสําคญั ของการทาํ บัญชีครัวเรือน ใหทุกคนมีสวนรวม โดยการบันทึกสมุดรายรับ-รายจายใน บัญชีครัวเรอื น ซึ่งบางครง้ั เมอื่ หาสมุดบัญชคี รวั เรอื นไมพบ ก็มีการบนั ทึกลงในปฏิทินท่ีติดไวขางฝา บาน และเม่อื หาสมดุ บัญชีครัวเรือนพบ ก็นําขอมลู มาใสไวใ หครบถวน และเพ่ือใหการบันทึกบัญชี เปน ไปอยา งตอเนื่องไมตกหลน ไดมีการพูดคุยกับครอบครัวทุกสัปดาห เพื่อคอยกระตุนใหทุกคน เห็นความสําคัญและเกิดความเคยชนิ กับการบนั ทกึ บัญชี เม่ือสิ้นเดือนไดนําขอมูลจากการบันทึก บัญชีมาวิเคราะห ทําใหเห็นขอมูลรายรับ-รายจายของครอบครัวที่ชัดเจนขึ้น โดยเฉพาะหมวด รายจายที่ไมจําเปน เชน การซื้อเหลา บุหรี่ หวย และสิ่งที่ตองจายเพ่ือการลงทุนทางการเกษตร ซงึ่ เปนคาใชจ า ยทส่ี ูง เมอ่ื วิเคราะหร ายรบั กบั รายจายแลว รายจายสูงกวารายรับ ขอมูลท่ีปรากฏ ในบัญชีครัวเรือนครั้งน้ี ทําใหบุคคลในครอบครัวเริ่มมองเห็นปญหาที่เกิดข้ึนจากรายจายท่ีไม จําเปน และรายจายท่ีกอใหเกิดปญหาหนี้สินจากการเปนลูกหน้ีเงินผอน ผูวิจัยกับครอบครัวจึง รวมกนั หาทางแกไ ขปญ หา โดยพจิ ารณาถึงการลดรายจายที่ไมจ ําเปน ในเดือนตอไป จากน้ันไดทํา ขอ ตกลงรวมกนั กบั คนในครอบครัวใหรว มมือกันประหยัด โดยพิจารณารายจายในแตละเร่ืองที่ไม จาํ เปน เชน ซอื้ เหลา บุหรี่ หวย ใหมีการจายนอยลง และบางอยางสามารถเพาะปลูกเพื่อบริโภค

65 ในครอบครัว โดยยึดหลักวา “ปลูกทุกอยางที่กิน และกินทุกอยางที่ปลูก” สวนเงินท่ีจายไปกับ ตน ทุนทางการเกษตรเพอื่ เปน คา ปุย ยาฆา แมลง ท่ีมีราคาแพง มีแผนคิดจะรวมกลุมกับชุมชนเพื่อ ผลิตปุยอินทรยี ทดลองใชใ นการเกษตร จากขอมูลการบันทึกบัญชีในเดือนท่ี 2 ครอบครัวผูวิจัยมีรายจายลดลงแตไมมากนัก เนื่องจากบุคคลในครอบครับยังลดคา เหลา บุหรี่ และอดไมไดกับการซื้อหวย คนในชุมชนยังมีการ ด่ืมเหลากันมาก ตางคนตางเล้ียงเหลาซึ่งกันและกัน ผูวิจัยเองบางคร้ังปฏิเสธไมไดเพราะเปน กรรมการกลุมตาง ๆ ในชุมชนจึงคอย ๆ ปรับตัวในการลดเหลา ลดบุหร่ี และลดตนทุนในการทํา การเกษตร ซึ่งขอมูลจากการทําบัญชีครัวเรือนในเดือนท่ี 3 เดือนที่ 4 และเดือนท่ี 5 ทําใหเห็น ความกา วหนา พัฒนาการของครอบครัววา มีการลดรายจา ยไดจริง 7. ขอ เสนอแนะ ผลการวิจัยครั้งน้ีทําใหเห็นวา การทําบัญชีครัวเรือนโดยความรวมมือ รวมใจของคนใน ครอบครวั ทําใหร ูสาเหตุจากปญหาซ่ึงเกดิ จากรายจา ยท้ังที่จําเปน และไมจําเปน จากความรวมมือ ของบคุ คลในครอบครวั ความมุงมนั่ จากขอ ตกลงรวมกัน ทําใหครอบครัวผูวิจัยสามารถลดรายจาย ที่ไมจําเปนในแตละเดือนลงได ครอบครัวมีรายไดเพ่ิมขึ้นเพียงพอกับคาใชจายในแตละเดือน แตก ารวิจยั ในระยะส้นั เพียง 5 เดือน ยังไมสงผลใหปญหาหนี้สินที่มีอยูลดลงได ควรมีการทําวิจัย อยางตอเนื่อง เพราะการที่จะแกไขเรื่องปญหาหน้ีสินตองใชระยะเวลา ซ่ึงถาทําการวิจัยอยาง ตอเน่ืองและจริงจัง ผูวิจัยเชื่อวาจะทําใหแกไขปญหาหนี้สินใหลดลงได สามารถดําเนินชีวิตตาม ครรลองของความพอเพียงไดอยา งแทจ ริง 8. เอกสารอา งองิ ธนาคารชุมชน. บมจ.ธนาคารกรุงไทย บัญชีครวั เรอื น (ออนไลน) www.cb.ktb.co.th/prod/commbank.nsf (วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2558) การเผยแพรผลงานวจิ ยั เมอื่ ผวู จิ ัยไดด าํ เนนิ การวจิ ัยเสรจ็ สนิ้ เรียบรอยแลว ผลการวจิ ยั ที่เกดิ ข้นึ ควรมีการเผยแพร เพอื่ ใหผ ูเกี่ยวของนําไปใชป ระโยชนไ ด การเผยแพรผ ลงานการวจิ ัยทําไดหลายวิธี เชน 1. นาํ เสนอในเวลาการพบกลุม หรือในท่ีประชมุ ตาง ๆ 2. เขยี นลงวารสารตาง ๆ 3. ตดิ บอรด ของสถานศึกษา บอรด นิทรรศการ 4. สงรายงานการวิจยั ใหห นวยงานตาง ๆ 5. นาํ รายงานการวิจยั ขน้ึ Website

66 กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเรียนแบงกลุม ศกึ ษาคน ควาและจัดทาํ รายงาน และนําเสนอในการพบกลมุ ในประเด็นดังตอไปนี้ ความหมายการวิจัย ประโยชนของการวิจัย ข้ันตอนการทําวิจัยอยางงาย ประเภทเครอ่ื งมอื ท่ใี ชในการวจิ ัย และวธิ ีการวเิ คราะหข อ มลู การวิจัย กจิ กรรมที่ 2 ใหผเู รยี นแบง กลุม ๆ ละไมเ กนิ 5 คน แตล ะกลุมปรึกษากันในเร่อื งที่สนใจจะทําวิจัยงาน อาชีพทใ่ี ชเวลาการวิจัย ไมเกนิ 1 เดอื น เสร็จแลว เขยี นโครงการวิจยั ตามหัวขอ ตอ ไปน้ี 1. ชอ่ื โครงการวิจัย 2. ช่ือคณะผวู จิ ยั 3. ความเปน มาและความสาํ คัญ 4. วัตถุประสงคข องการวิจัย 5. วิธดี ําเนินงานวจิ ัย 6. ปฏทิ นิ ปฏบิ ัติงาน 7. ประโยชนท ่คี าดวาจะไดรับ เมือ่ ผเู รียนเขยี นโครงการวจิ ยั ไดเ สรจ็ แลวใหแตละกลมุ นาํ เสนอผลการเขียนโครงการวิจัย ในการพบกลุม เพ่อื ใหครูและเพ่อื นผูเรยี นวิเคราะหค วามถูกตองใหคําแนะนําในการแกไขปรับปรุง โครงการวิจัยที่เสนอ จากน้ันครูใหผูเรียนแตละกลุมนําขอแกไขไปปรับปรุงใหถูกตอง แลว ดําเนนิ การวิจยั ตามโครงการวจิ ัยท่ีเสนอ เสร็จแลวเขียนรายงานการวิจัย และนําเสนอผลการวิจัย ในการพบกลมุ ตามหวั ขอตอไปนี้ 1. ชอ่ื เรอื่ ง 2. ชื่อคณะผวู จิ ยั 3. ความเปนมาของการวิจยั 4. วตั ถปุ ระสงคของการวจิ ัย 5. วธิ ดี าํ เนินการวจิ ยั 6. ผลการวิจัย 7. ขอ เสนอแนะ 8. เอกสารอา งองิ (ถามี)

67 ปจจุบันโลกมีการแขงขันในการประกอบอาชีพกันมากขึ้น ผูที่จะประสบความสําเร็จใน การประกอบอาชพี ตองมกี ารศกึ ษาคนควาหาความรูจากแหลงเรียนรูตา ง ๆ และมีทกั ษะพ้ืนฐานที่ จําเปน ตอ การประกอบอาชพี เชน ทกั ษะกระบวนการทาํ งาน ทกั ษะกระบวนการแกปญหา ทักษะ การทํางานรว มกนั ทกั ษะการแสวงหาความรู ทักษะการบริหารและการจัดการ ตามท่ีไดเรียนรู มาแลว ในบทท่ี 1 - 5 และในบทเรยี นนี้ ผูเ รียนจะไดเรยี นรูเพมิ่ เตมิ ในเร่ืองการมีทักษะการเรียนรู และศักยภาพหลักของพื้นท่ีในการพัฒนา ซ่ึงเปนอีกทักษะหนึ่งท่ีสําคัญในการตัดสินใจเลือก ประกอบอาชพี เรื่องที่ 1 ความสาํ คญั ของศกั ยภาพหลกั ของพนื้ ทใ่ี นการพฒั นาอาชพี การศกึ ษา เปน กลไกสําคัญของการพัฒนาทรัพยากรของชาติใหกาวทันการเปลี่ยนแปลง สามารถยืนหยัดไดอยางสงางามในประชาคมโลก การจัดการศึกษาจึงตองใหความสําคัญและเห็น คุณคา ของภมู สิ งั คม ภูมิรัฐศาสตร ศักยภาพทุกดานท่ีจะเปนตนทุนทางการศึกษา รวมทั้งตอยอด การศึกษาสูการพัฒนาประเทศในดานอื่น และเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันบนเวทีโลก เพ่ือยกระดับคุณภาพชวี ติ และสังคม มีการคนหาศักยภาพหลักของพื้นท่ีในทุกภาคสวนของสังคม ปจจัยภายนอกและปจ จยั ภายใน เพ่ือเปน เครื่องมอื ในการขับเคล่ือน การจัดการศกึ ษาอาชพี จงึ ตอง เนนพน้ื ทีเ่ ปน ฐานในการพฒั นา ภายใตศ ักยภาพ ทม่ี ีอยใู นดานตาง ๆ ของพ้ืนที่น้ันเปนสําคัญ จึง จะสามารถยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนใหม ีความเปน อยูที่ดี สรา งความม่งั คงั่ ทางเศรษฐกิจ และความมนั่ คงทางสังคม ประเทศไทยจึงตองเรง พฒั นาทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทรัพยากร มนษุ ยใ หมขี ดี ความสามารถสงู ข้นึ พรอ มทจ่ี ะเขาสสู งั คมการแขงขันในระดับโลกได การจัดการศกึ ษาดานอาชพี มคี วามสําคัญมาก เปนการพฒั นาประชากรของประเทศใหมี ความรูความสามารถและมที ักษะในการประกอบอาชีพ เปนการแกป ญ หาการวางงานและสงเสริม ความเขมแข็ง ใหแกเศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธิการจึงไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นท่ี ใน 5 กลุมอาชีพใหม ใหสามารถแขงขันไดใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก โดย กําหนดภารกิจการพฒั นา ยกระดับและจดั การศกึ ษาอาชีพในกลุม 5 อาชีพใหม ไดแก กลุมอาชีพ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และการบริหารจัดการและการ บริการ โดยคํานึงถึงหลักการพื้นฐาน ของศักยภาพของพื้นท่ีในการพัฒนาอาชีพทั้ง 5 ดาน ประกอบดวย 1) ศักยภาพของธรรมชาติในแตละพ้ืนท่ี 2) ศักยภาพของพ้ืนที่ตามลักษณะ ภูมิอากาศ 3) ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลที่ต้ังของแตละพื้นที่ 4) ศักยภาพของศิลปะ

68 วัฒนธรรม ประเพณี องคความรู ภูมิปญญาและวิถีชีวิตของแตละพ้ืนที่ และ 5) ศักยภาพของ ทรพั ยากรมนุษยในแตละพ้ืนท่ี เร่อื งท่ี 2 การวเิ คราะหศ กั ยภาพหลกั ของพน้ื ท่ใี นการพัฒนาอาชพี 1. ศักยภาพหลักของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพ้ืนที่ หมายถึง ส่ิงแวดลอมตาง ๆ ทีเ่ กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถนํามาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ และพลังงาน เปนตน การแยกแยะเพ่ือนําเอาศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นท่ี มาใชประโยชนในการประกอบอาชีพ ตองพิจารณาวา ทรัพยากรธรรมชาตทิ อ่ี ยูใ นพนื้ ทีน่ ั้น ๆ มอี ะไรบาง เพียงพอหรือไม ถาไมมี ก็ตองพิจารณาใหม วา จะประกอบอาชพี ที่ตดั สนิ ใจเลอื กไวห รอื ไม เชน ตองการผลิตนา้ํ แรธรรมชาติจําหนาย แตในพื้นท่ีไม มีตาน้ําไหลผาน และไมสามารถขุดน้ําบาดาลได ก็ตองพิจารณาตอไป ถาตองการอาชีพน้ี เพราะ เหน็ วา มีคนนิยมด่ืมน้ําแรมาก ประกอบกับตลาดยังมีความตองการเชนกัน ก็ตองพิจารณาอีกวา การลงทนุ หาทรพั ยากรน้ําและแรธ าตุ มาใชใ นการผลิตนํา้ แร จะเสียคาใชจ า ยคุม ทุนหรือไม 2. ศกั ยภาพของพ้ืนทต่ี ามลกั ษณะภมู ิอากาศ หมายถงึ ลักษณะของลม ฟา อากาศท่ีมี อยูป ระจําทองถิ่นใดทองถนิ่ หนึ่ง โดยพจิ ารณาจากคาเฉล่ียของอุณหภูมิประจําเดือน และปริมาณ น้าํ ฝนในชว งระยะเวลาตาง ๆ ในรอบป เชน ภาคเหนือของประเทศไทย มีอากาศหนาวเย็น หรือ รอนชื้นสลับกับฤดูแลง อาชีพทางการเกษตร ที่ทํารายไดใหประชากร ไดแก การทําสวน ทําไร ทาํ นาและเลย้ี งสัตว หรอื ภาคใตมีฝนตกตลอดท้ังป เหมาะแกก ารเพาะปลูกพืชเมืองรอ น ที่ตองการ ความชุมช้ืนสูง เชน ยางพารา ปาลมนํ้ามัน เปนตน เพราะฉะน้ันการประกอบอาชีพอะไรก็ตาม จําเปน ตองพจิ ารณาถงึ สภาพภูมิอากาศดว ย 3. ศักยภาพของภูมปิ ระเทศและทาํ เลท่ตี ้ังของแตละพื้นที่ หมายถึง ลักษณะพ้ืนท่ีและ ทาํ เลท่ีต้งั ในแตละจงั หวัด ซ่ึงมลี ักษณะแตกตางกัน เชน เปนภูเขา ท่รี าบสงู ท่ีราบลุม ท่ีราบชายฝง สิ่งท่คี วรศกึ ษา เชน ขนาดของพื้นที่ ความลาดชัน และความสูงของพื้นท่ี เปนตน รวมถึงการผลิต การจําหนา ย หรอื การใหบ รกิ าร ตองคํานงึ ถึงทาํ เลทีต่ งั้ ทีเ่ หมาะสม 4. ศกั ยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิตของแตล ะพื้นที่ ประเทศไทยมี สภาพภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติที่แตกตางกนั ออกไปในแตล ะภาค จึงมีความ แตกตางกัน ในการดาํ รงชีวิต ท้ังดานศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และการประกอบอาชีพ ถึงแมวา

69 คนไทยสวนใหญ มีวิถีชีวิตผูกพันกับการเกษตร ถึงรอยละ 80 แตก็ควรพิจารณาเลือกอาชีพท่ี เหมาะสมกับศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณใี หส อดคลอ งกับวถิ ีชวี ิตของแตละพ้ืนทด่ี ว ย 5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นท่ี หมายถึง การนําศักยภาพของแตละ บคุ คล ในแตละพน้ื ทม่ี าใชในการปฏิบัติงาน ใหเกิดประโยชนสูงสุด และสรางใหแตละบุคคลเกิด ทศั นคติท่ีดีตออาชีพ องคกร ตลอดจนเกิดความตระหนักในคุณคาของตนเอง และเพ่ือนรวมงาน ในประเทศไทยยังมีบุคคลอีกหลายกลุมท่ีสามารถปรับเปล่ียนวิถีชีวิต ความเปนอยู ตลอดจนการ พัฒนาอาชีพใหเหมาะสมกับยุคสมัย โดยเฉพาะอาชีพดานเกษตรกรรม ปจจุบันมีการทําเกษตร แบบผสมผสาน สามารถพลิกฟนคืนธรรมชาติใหอดุ มสมบรู ณแ ทนสภาพดนิ เดิม ทเี่ คยถูกทําลายไป ทรัพยากรมนุษยเปนเร่ืองที่สําคัญ ที่ตองพิจารณาดําเนินการประกอบอาชีพอยางเปนระบบ ให สอดคลองกับความตอ งการของบุคคลในแตล ะพ้นื ที่ จะเห็นไดวา การวิเคราะหศักยภาพตามหลักของพ้ืนที่ ท้ัง 5 ดาน ดังกลาวขางตน มีความสําคัญและจําเปนตอการประกอบอาชีพใหเขมแข็ง หากไดวิเคราะหศักยภาพของตนเอง อยา งรอบดาน รวมถงึ ปจ จัยภายในตวั ตน และภายนอกของผปู ระกอบอาชีพ ถาวิเคราะหขอมูลได มากและถูกตอง ก็มีโอกาสเขาสูการประกอบอาชีพ ไดม ากยง่ิ ขึ้น เร่ืองท่ี 3 ตวั อยา งอาชีพทีส่ อดคลองกับศกั ยภาพหลกั ของพน้ื ท่ี กลมุ อาชพี ใหมด า นเกษตรกรรม 1. กลุม การผลติ เชน การปลูกไมด อกเพอ่ื การคา การผลติ ปุย อนิ ทรีย ปยุ น้ําหมกั ชวี ภาพ 2. กลุมแปรรูป เชน การแปรรูปปลานิลแดดเดียว การแปรรูปทําไสกรอกจากปลาดุก การตากแหงและหมกั ดองผกั และผลไม 3. กลุมเศรษฐกิจพอเพียง เชน การเกษตรแบบย่ังยืน การเกษตรแบบผสมผสานตาม แนวเกษตรทฤษฎใี หม และแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ตวั อยา ง อาชพี การปลกู พืชผักโดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ ปจจุบัน การเพาะปลูกของประเทศไทย ประสบปญหาท่ีสําคัญคือ ดินขาดความอุดม สมบูรณ และปญ หาแมลงศัตรูรบกวน เกษตรกรใชวิธีแกปญหาโดยใชยาฆาแมลง ซึ่งเปนอันตราย

70 ตอ เกษตรกรผผู ลิตและผูบรโิ ภค อีกทั้งยงั เกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม รัฐบาลจึงสงเสริมใหเกษตรกร ปฏิบัตติ ามแนวทางการเกษตรธรรมชาติแบบยั่งยืน ตามแนวพระราชดําริ ซ่ึงเปนแนวทางที่จะทํา ใหด นิ มคี วามอดุ มสมบูรณ มีศักยภาพในการเพาะปลูก และใหผลผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษ ตาง ๆ ดังนั้น ผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจ และมีทักษะเก่ียวกับการดําเนินตามแนว พระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยตองศึกษา และเรียนรูในเรื่องหลักเกษตร ธรรมชาติ การปรับปรุงดิน โดยใชปุยอินทรีย และปุยชีวภาพ การปองกันและกําจัดศัตรูพืช โดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ การทําสมุนไพร เพ่อื ปองกันและกาํ จัดศตั รพู ชื ฝกปฏิบัตทิ ําปุยหมกั ปยุ นํ้า ชีวภาพและน้าํ สกดั ชีวภาพ ฝก ปฏบิ ตั กิ ารเพาะกลา การจัดดอกไม การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การวางแผนการปลกู พชื ผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ในอนาคต ฝก จนเกดิ ทกั ษะ จะไดอาชีพท่ีหลากหลาย จากแนวทางเกษตรธรรมชาติแบบยั่งยืน ตัวอยาง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพื้นทท่ี ีส่ อดคลอ งกบั อาชพี การปลกู พืชผกั โดยวิธเี กษตร ธรรมชาติ ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดา น รายละเอยี ดทีค่ วรพิจารณา 1 การวิเคราะหท รัพยากรธรรมชาติ - ดินมีความอุดมสมบูรณ ไมมแี มลงศัตรูพชื ในแตล ะพื้นที่ รบกวน - มีแหลง นาํ้ และลักษณะพ้นื ที่เปนท่ีราบลมุ อุดม สมบูรณ เหมาะสมในการทาํ การเกษตร 2 การวเิ คราะหพน้ื ท่ีตามลักษณะ - ฤดกู าล ภูมิอากาศเหมาะสมตอ การปลกู พืชผัก ภมู ิอากาศ เชน มีอากาศเย็น ไมรอ นจดั 3 การวเิ คราะหภูมิประเทศ และ - เปน ฐานการผลติ ทางการเกษตร มีแหลง ทาํ เลที่ตัง้ ของแตละพื้นท่ี ชลประทาน - ไมมีความเส่ียงจากภัยธรรมชาติ ทมี่ ีผลตอ ความ เสยี หายอยางรุนแรง - มพี ื้นทพี่ อเพยี งเหมาะสม มีการคมนาคมสะดวก

71 ท่ี ศักยภาพ 5 ดาน รายละเอียดท่คี วรพิจารณา 4 การวิเคราะห ศิลปะ วัฒนธรรม - มวี ิถีชวี ติ แบบเกษตรกรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ของแตละ - ประชาชนสนใจในวิถธี รรมชาติ พื้นท่ี 5 การวเิ คราะหท รพั ยากรมนษุ ย - มภี มู ปิ ญญา/ผูรู เกยี่ วกบั เกษตรธรรมชาติ ในแตล ะพ้ืนท่ี - ไดร ับการสนับสนุนจากหนว ยงานและชมุ ชน อยางมาก กลมุ อาชพี ใหมดา นอุตสาหกรรม 1. กลุมไฟฟาและอเิ ลก็ ทรอนิกส เชน ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ชา งเชอ่ื มโลหะดว ยไฟฟา และแกส ชางเช่อื มเหล็กดดั ประตู หนาตา ง ชา งเดินสายไฟฟา ภายในอาคาร ชา งเดินสายและติดต้ัง อุปกรณไ ฟฟา ชา งซอมแอร เปน ตน 2. กลุม ส่ิงทอและตกแตง ผา เชน การทาํ ซิลคสกรนี การทําผา มัดยอม การทาํ ผาบาติก การ ทอผา ดว ยกีก่ ระตกุ เปนตน 3. กลมุ เครอื่ งยนต เชน การซอ มรถยนต และรถจักรยานยนต ชางเครื่องยนต ชางเคาะ ตวั ถังและพน สีรถยนต เปนตน 4. กลุมศิลปประดิษฐ และอัญมณี เชน การแกะสลักวัสดุออนเบ้ืองตน การขึ้นรูป กระถางตน ไมด วยแปนหมุน การทาํ ของชาํ รวยดวยเซรามิก ผาทอ การประดิษฐของท่ีระลึกที่เปน เอกลกั ษณข องไทยจากผา หรือโลหะ เปน ตน 5. กลุมอตุ สาหกรรม เชน อุตสาหกรรมการทอ งเทย่ี ว ธรุ กิจโรงแรม รา นอาหาร การคมนาคมขนสง เปนตน ตัวอยาง อาชีพตัวแทนจําหนายท่ีพักและบริการทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวเชิง วัฒนธรรม ในกลมุ ประเทศภูมิภาคอาเซยี นโดยใชอ ินเทอรเนต็ ปจจุบัน ประชาคมโลกมีการติดตอสื่อสารกันมากข้ึนอยางรวดเร็ว คนในภูมิภาคกลุม ประเทศอาเซยี น จะติดตอไปมาหาสูกันมากขึ้น แตละประเทศตางมีความสนใจเก่ียวกับประเพณี วฒั นธรรมของชาติเพื่อนบาน มีความตอ งการเรียนรูและทอ งเทีย่ วกนั มากขึ้น จนเกิดเปนธุรกิจการ ทองเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการท่ีมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วท่ัวโลก กอใหเกิดรายไดเปน เงนิ ตราตางประเทศ เขาประเทศเปนจํานวนมาก เม่ือเทียบกับรายไดจากสินคาอื่น ๆ นอกจากน้ี

72 ยังทาํ ใหเกิดธรุ กิจโรงแรม รา นอาหาร การคมนาคมและขนสง ขยายตัวตามไปดวย การทองเท่ียว จึงถอื วาเปนกิจกรรมการกระจายรายได และความเจริญสูภูมิภาคตาง ๆ เกิดการสรางงาน สราง อาชีพ ใหแกชุมชนในทองถ่ิน และยังเปนตัวกระตุน ใหเกิดการผลิต และการนําเอา ทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ มาใชใหเกดิ ประโยชนอ ยางเหมาะสม โดยอยใู นรูปของสินคา และบริการ เก่ียวกับการทองเท่ียว ดังน้ัน การรวบรวมขอมูล นําเสนอ ใหบริการเก่ียวกับการทองเท่ียว โดย เปนตัวกลางระหวา งผูประกอบการ กับผใู ชบรกิ าร หรอื เรยี กงาย ๆ วาเปน ตัวแทนใหเชาท่ีพัก และ บริการทองเที่ยว ผเู รยี นจึงควรมคี วามรู ความเขาใจ มที ักษะในการสอ่ื สาร การเจรจาตอรอง มีทักษะการใชอินเทอรเน็ต สําหรับการเปนตัวแทนจําหนาย และเจตคติที่ดี เกี่ยวกับธุรกิจท่ีพัก และการใหบริการการทองเที่ยวเชิงวฒั นธรรม ในกลุมประเทศอาเซียน ตวั อยาง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพนื้ ทท่ี ่ีสอดคลอ งกบั อาชพี ตัวแทนจาํ หนายทพ่ี กั และบรกิ ารทอ งเท่ยี วฯ ท่ี ศักยภาพ 5 ดาน รายละเอียดท่คี วรพจิ ารณา 1 การวิเคราะหท รพั ยากรธรรมชาติ - ขอ มูลของแหลงทองเทย่ี ว ในแตละพ้ืนท่ี 2 การวิเคราะหพ ืน้ ทต่ี ามลักษณะ - มีบรรยากาศที่เหมาะสมเปน แหลง ทองเทีย่ ว ภมู อิ ากาศ 3 การวเิ คราะหภ ูมปิ ระเทศ และ - มที าํ เลท่ีต้งั อยูในชุมชน ทมี่ ีการเดนิ ทางได ทําเลทต่ี ัง้ ของแตละพ้นื ที่ สะดวก 4 การวิเคราะห ศิลปะ วฒั นธรรม - มีทุนทางสงั คมและวัฒนธรรม การบรโิ ภคของ ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ของแตละ ตลาดโลกมีแนวโนมกระแสความนิยมสนิ คา พ้ืนที่ ตะวันออกมากขึน้ - มีศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวิถชี วี ิตแบบ 5 การวเิ คราะหทรพั ยากรมนษุ ย ด้ังเดมิ และเปนเอกลักษณ ในแตละพน้ื ที่ - มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยีทางการ ส่ือสาร และสามารถสื่อสารภาษาตา งประเทศ และภาษาในกลมุ ประเทศเพื่อนบานอาเซียน - มีระบบประกนั สงั คม และการคมุ ครองแรงงาน

73 กลุมอาชพี ใหมดานพาณชิ ยกรรม 1. กลุมพัฒนาผลติ ภณั ฑ เชน การออกแบบและการบรรจภุ ัณฑชุมชน การพฒั นา ผลิตภัณฑเพอื่ ชุมชน การพัฒนาและออกแบบผลิตภณั ฑ 2. การขายสินคา ทางอินเทอรเ น็ต การสรา งรา นคา ทางอนิ เทอรเ น็ต 3. กลุมผูประกอบการ เชน การประกอบธุรกิจชุมชน รานคาปลีกกลุมแมบาน และ วิสาหกิจชมุ ชน ตวั อยา ง อาชพี การพฒั นากลมุ อาชพี ทอผา พน้ื เมือง ผาทอพ้ืนเมืองมีอยูท่ัวทุกภูมิภาคของไทย มีลักษณะแตกตางกัน ทั้งการออกแบบ สีสัน และวัสดุ ท่ีใช ข้ึนอยูกับทรัพยากรของพื้นที่นั้น ๆ เปนที่นิยมของคนท่ัวไป ท้ังคนไทยและ ตางประเทศ สําหรับใชเปนเครื่องนุงหมและของใชในชีวิตประจําวัน ปจจุบัน มีการผลิตผา พื้นเมือง ในลักษณะอุตสาหกรรมโรงงาน โดยมีบริษัทรับจางชางทอผา โดยกําหนดลวดลายให พรอ มทัง้ จัดเสนไหม เสน ดายที่ยอ มสแี ลว มาใหทอ เพ่ือเปนการควบคุมคุณภาพ และอีกลักษณะ หนึ่ง จะมีคนกลางมารบั ซอ้ื ผา จากชางทออิสระ ซง่ึ หาวัสดุทําเองต้งั แตก ารปนดาย ยอมสี ทอตาม ลวดลายที่ตองการ โดยทําท่ีบานของตนเอง แตคนกลางจะเปนผูกําหนดราคาตามคุณภาพ และ ลวดลายของผาที่ตลาดตองการ ในบางพ้ืนที่มีการรวมตัวกันเปนกลุมทําเปนอาชีพเสริม และ จาํ หนา ยในลักษณะสหกรณ เชน กลมุ ทอผา ของศูนยศิลปาชีพ หรือกลุมอื่น ๆ ในพ้ืนท่ี การทอผา พ้ืนเมือง สวนใหญจ ะออกแบบลวดลายเปน สัญลักษณ หรอื เอกลักษณด้ังเดมิ โดยเฉพาะชุมชน ท่ีมเี ช้อื สายชาติพันธุบางกลุม ท่ีกระจายตัวกันอยูในภาคตาง ๆ ของประเทศไทย จนถึงปจจุบันน้ี มีเอกลักษณการออกแบบของตนเอง ถึงแมวา จะมีการพฒั นาปรับเปล่ียนสีสนั ลวดลาย ตามรสนยิ ม ของตลาด แตกย็ งั มีบางสว นทีค่ งเอกลกั ษณของตนเองไว เพื่อแสดงความชดั เจน ถึงชาติพันธุในแตละภูมิภาค ผูบริโภคสามารถเลือกซื้อไดอยางหลากหลาย การแขงขันในดาน การตลาดก็ยอมจะสูงขึ้น ดังนั้น ผูเรียนควรมีความรู ความสามารถ ทักษะและเจตคติตออาชีพ และคาํ นงึ ถึงการวเิ คราะหสภาพกลมุ อาชีพและธุรกิจอาชพี ทอผา พืน้ เมอื ง

74 ตัวอยาง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพน้ื ทท่ี ส่ี อดคลอ งกบั อาชพี ทอผาพน้ื เมอื ง ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดาน รายละเอยี ดทคี่ วรพิจารณา 1 การวิเคราะหท รพั ยากรธรรมชาติ - มที รพั ยากรธรรมชาติ ทีพ่ อเพียง สามารถนํามา เปนวตั ถุดิบได ในแตละพน้ื ท่ี - มีภูมิอากาศทีเ่ หมาะสม 2 การวเิ คราะหพืน้ ทต่ี ามลักษณะ - มีขอมูลของภูมอิ ากาศอยเู สมอ - เปน ศนู ยก ลางหตั ถอุตสาหกรรม ภมู ิอากาศ - มพี น้ื ท่ี ท่ีเอ้ือตอการบรกิ ารดา นการคา การ 3 การวเิ คราะหภูมิประเทศ และ ลงทุน และการทอ งเทยี่ ว เช่ือมโยงกบั ประเทศ เพ่ือนบาน สามารถติดตอ การคาได ทาํ เลทต่ี งั้ ของแตละพน้ื ที่ - มพี ้ืนท่ชี ายแดน ติดตอ กบั ประเทศเพื่อนบาน 4 การวเิ คราะห ศลิ ปะ วฒั นธรรม - มแี หลงอุตสาหกรรมทเ่ี กี่ยวของ ทนุ ทางสังคม ประเพณี และวิถีชวี ิตของแตละ และวัฒนธรรม พนื้ ท่ี 5 การวิเคราะหท รัพยากรมนษุ ย - มีภูมปิ ญญาและทกั ษะฝมอื แรงงาน ในแตล ะพ้นื ท่ี กลมุ อาชพี ใหมด า นความคดิ สรางสรรค 1. คอมพิวเตอรและธรุ การ ไดแ ก โปรแกรมตา ง ๆ ที่ใชกบั เครอ่ื งคอมพิวเตอร 2. กลุมออกแบบ เชน โปรแกรม Auto Cad เพ่ืองานออกแบบกอสราง ออกแบบ ชน้ิ สวน ทางอตุ สาหกรรม โปรแกรม Solid Work เพ่ือใชเ ขียนแบบเครอื่ งกล 3. กลุมงานในสํานักงาน เชน Office and Multimedia การจัดทําระบบขอมูลทาง การเงินและบัญชีดวยโปรแกรม Excel และโปรแกรมบัญชีสําเร็จรูป เพ่ือใชในการทํางานทางธุรกิจ การใชคอมพิวเตอร ในสํานักงานดวยโปรแกรม Microsoft Office โปรแกรม Microsoft Access เปน โปรแกรม สาํ หรบั การบันทกึ ฐานขอ มูล เชน งานบคุ ลากร รายการหนังสือในหอ งสมุด 4. กลุมชา งคอมพิวเตอร เชน ชา งซอ ม ชา งประกอบชา งติดต้ังระบบและบาํ รุงรักษา คอมพวิ เตอร

75 ตวั อยาง อาชพี การสรางภาพเคล่อื นไหว (Animation) เพอ่ื ธุรกจิ ในยุคปจจุบัน คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของมนุษยมากข้ึน ธุรกิจ อุตสาหกรรม Animation เปนงานเก่ียวกับการสรางภาพเคลื่อนไหว ที่ใหความบันเทิง และงาน สรา งสรรคการออกแบบโดยการใชค อมพิวเตอร เปนอาชพี หนง่ึ ทส่ี ามารถทํารายไดดี ท้ังในปจจุบัน และอนาคต ผูเรียนท่ีสนใจ ควรมีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติเกี่ยวกับความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของความคิดสรา งสรรค เทคนิคการคดิ แบบสรา งสรรค การกําจัดสิ่งกีด กั้นความคิดเชิงสรางสรรค ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) เพื่อ ธรุ กิจ การออกแบบชิน้ งาน (Animation Workshop) ประโยชนและโทษของการใชคอมพิวเตอร จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ กฎหมายท่ีเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ ซึ่งผูประกอบอาชีพ ทางดานความคิดสรางสรรค ควรหม่ันฝกฝนและพัฒนาความคิดอยางตอเนื่อง เพื่อสรางสรรค ผลงานทดี่ ี และมีศักยภาพดา นทักษะสูงขน้ึ จนสามารถสงผลงานเขาประกวดแขงขันได ตัวอยาง การวิเคราะหศ กั ยภาพของพ้ืนทที่ ี่สอดคลอ งกบั อาชพี การสรา งภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) เพอ่ื ธรุ กิจ ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดาน รายละเอยี ดท่คี วรพิจารณา 1 การวเิ คราะหท รัพยากรธรรมชาติ - ในแตล ะพ้นื ที่ 2 การวิเคราะหพ ้นื ทตี่ ามลกั ษณะ - ภมู อิ ากาศ 3 การวิเคราะหภูมิประเทศ และ - ทาํ เลท่ีต้ังของแตล ะพ้ืนที่ 4 การวิเคราะหศ ลิ ปะ วฒั นธรรม - มีขอมลู เกย่ี วกับศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี ท่ี ประเพณี และวิถชี วี ิตของแตละ ผสม ผสานของหลากหลายพื้นท่ี พืน้ ที่ 5 การวเิ คราะหทรัพยากรมนุษย - มแี รงงานทมี่ ที ักษะฝมอื ความรู ความสามารถ ในแตละพน้ื ที่ ในการใชเ ทคโนโลยี - มีการสงเสริมโอกาสทางการศึกษาอยา งตอเน่ือง

76 หมายเหตุ บางอาชพี เมื่อวเิ คราะหศ กั ยภาพแลว อาจไมมรี ายละเอยี ดการพิจารณาครบทัง้ 5 ดาน กลมุ อาชพี ใหมดา นบริหารจดั การและการบรกิ าร 1. กลุมการทองเท่ียว เชน มัคคุเทศก พนักงานบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม พนักงาน ผสมเครือ่ งด่มื การทาํ อาหารวา งนานาชาติ การบรกิ ารที่พักในรปู แบบโฮมสเตย เปน ตน 2. กลุมสุขภาพ เชน การนวดแผนไทย นวดดวยลูกประคบ สปาเพ่ือสุขภาพ การดูแล เดก็ และผสู ูงอายุ เปนตน 3. กลุมการซอมแซมและบํารุงรักษา เชน การซอมเคร่ืองปรับอากาศ การซอม เครื่องยนตดีเซล ซอมเครื่องยนตเบนซิน การซอมเคร่ืองยนตเล็กเพ่ือการเกษตร การซอมจักร อุตสาหกรรม การซอ มเครอ่ื งใช ไฟฟา เปนตน 4. กลมุ คมนาคมและการขนสง ไดแ ก อาชพี ดาน Logistics หรือการขนสงสินคาทางบก ทางอากาศและทางเรือ 5. กลุม ชา งกอสรา ง เชน ชางปูกระเบ้ือง ชางไม ชางปูน ชางทาสี ชางเชอื่ มโลหะ 6. กลุมผลิตวสั ดกุ อ สราง เชน การทําบลอ็ กคอนกรีต เสาคอนกรตี เปน ตน ตัวอยาง อาชพี การบรกิ ารทพ่ี กั ในรปู แบบโฮมสเตย การบริการท่ีพักในรูปแบบโฮมสเตย เปนการประกอบอาชีพธุรกิจในชุมชน โดยนําเอา ตน ทนุ ทางสงั คม คอื ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม มาบริหารจัดการ ไดแก ทุนทรัพยากร บุคคล ทุนภูมิปญญาและแหลงเรียนรู ทุนทางวัฒนธรรม ทุนงบประมาณของรัฐ และทุนทาง ความรู มาใชจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยมีเครอื ขายเขา มามีสวนรว ม และใชชมุ ชนเปนฐาน ควบคู กบั การสรางองคความรู เพ่ือเพ่ิมมูลคา จูงใจใหนักทองเท่ียว มาสัมผัสกับการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ในรปู แบบโฮมสเตย ดงั นัน้ ผูเรียนจึงตองเรยี นรู ในหลักการจัดโฮมสเตยใหเขาใจ ศึกษาหาความรู ในเร่ืองที่เก่ียวของกับสถานการณการทองเที่ยว นโยบายการทองเท่ียวของประเทศไทย ความรู พ้นื ฐานและมาตรฐานการจดั โฮมสเตย การจดั กิจกรรมนําเทย่ี ว การตอ นรับนกั ทองเท่ียว การบริการ และการเปนมคั คเุ ทศก วิธกี ารสรางเครือขา ยการทอ งเท่ียว การประกอบอาหาร การปฐมพยาบาล เบ้ืองตน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การทองเที่ยวและการบริหารจัดการ องคความรู

77 ทหี่ ลากหลายน้ี จะสามารถพัฒนาตนเอง และกลุมไปสกู ารบริหารจัดการท่ีมีมาตรฐานเปนไปตาม หลักการ ของอาชีพการบรกิ ารที่พกั สําหรบั นักทองเที่ยว ในรูปแบบโฮมสเตย ตัวอยา ง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพน้ื ทที่ ี่สอดคลอ งกบั อาชพี การบริการทพี่ ักในรปู แบบ โฮมสเตย ที่ ศกั ยภาพ 5 ดาน รายละเอียดท่ีควรพจิ ารณา 1 การวเิ คราะหทรพั ยากรธรรมชาติ - มีแหลงทอ งเทย่ี วที่เปนจดุ สนใจ มีความแปลก ในแตละพื้นที่ ชวนใหผ ูคนมาเที่ยวพกั ผอน และพักคางคืน - มเี สนทางศกึ ษาธรรมชาตทิ ่ีนาสนใจ - ใกลแหลง น้าํ นํ้าตก ทะเล มีทิวทัศนท ี่สวยงาม - ไมถ กู รบกวนจากแมลง และสตั วอน่ื ๆ 2 การวิเคราะหพ ้นื ทีต่ ามลกั ษณะ - ภมู ิอากาศไมแปรปรวนบอ ยมากนกั ภูมิอากาศ 3 การวเิ คราะหภ มู ิประเทศ และ - มที าํ เลทตี่ ้งั อยไู มไกลเกนิ ไป เดินทางไดส ะดวก ทาํ เลท่ตี ง้ั ของแตละพ้นื ที่ - ขอมูลแตละพืน้ ที่ทเ่ี ลอื ก อยใู กลจุดทองเท่ยี ว หรือไม มีความปลอดภยั เพยี งใด และมคี แู ขง ที่ สําคัญหรอื ไม 4 การวิเคราะห ศิลปะ วฒั นธรรม - เปนแหลงทอ งเท่ียวทางวฒั นธรรม ที่เปน ประเพณี และวถิ ชี ีวติ ของแตล ะ ธรรมชาติ อยใู นพ้นื ท่ี พ้ืนที่ 5 การวิเคราะหทรพั ยากรมนุษย - มีผปู ระกอบการ และแรงงานทม่ี ีความรู ในแตล ะพ้ืนท่ี ความสามารถ - มคี วามรว มมือจากชุมชนในดานการเปนมติ รกับ นักทอ งเทีย่ วท่ีมาใชบ รกิ ารทีพ่ ัก

78 กจิ กรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นรวมกลุมและรวมกันสํารวจศักยภาพของพื้นท่ีในชุมชน แลวนําขอมูลที่ได มาวิเคราะห แยกแยะตามศักยภาพหลักของพื้นท่ี และใหสรุปวาควรจะประกอบอาชีพใดจึงจะ เหมาะสมสอดคลองกบั ลกั ษณะ หรือศกั ยภาพของพื้นทใ่ี นชุมชนและมคี วามเปนไปไดในการพัฒนา อาชีพในพื้นทช่ี ุมชนของตนเอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………….……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………..…………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… กิจกรรมท่ี 2 จากกิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนยกตัวอยางกลุมอาชีพที่ตัดสินใจเลือกอาชีพในกลุมใด กลมุ หนงึ่ ทีส่ ามารถเขาแขง ขันมา 1 อาชพี โดยเขียนรายละเอยี ดของอาชพี นั้น ๆ ประกอบดว ย ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………….……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………..…………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………

79 บรรณานกุ รม สมนึก โทณผลิน. (2554). หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู ทร 31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย. กรงุ เทพฯ : เอกพมิ พไท. สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2553). หนังสือเรียนสาระ ทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู ทร 31001 ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย. เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 40/2553. _________. (2555). หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู ทร 31001 ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย. เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี 34/2555.

80 คณะผูจัดทาํ ที่ปรึกษา นายสุรพงษ จาํ จด เลขาธิการ กศน. นายประเสรฐิ หอมดี รองเลขาธิการ กศน. นางตรนี ุช สุขสุเดช ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย นายจําเริญ มูลฟอง ผอู ํานวยการสถาบนั กศน.ภาคเหนือ นายสมชาย เด็ดขาด รองผอู ํานวยการสถาบัน กศน.ภาคเหนอื ผูส รปุ เน้ือหา นางดวงทพิ ย แกวประเสรฐิ ครชู ํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางพิมพรรณ ยอดคาํ ครูชํานาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื นายนิพนธ ณ จันตา ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นายสมโภช จันทรคาํ ภู ครูชาํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางบษุ บา มาลินีกุล ครูชาํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางอรวรรณ ฟงเพราะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางรสาพร หมอศรีใจ ครูชาํ นาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ นางวราพรรณ พลู สวสั ดิ์ ครูชํานาญการ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ ผูบรรณาธกิ าร นายจรณชัย วรรณทอง ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอหางฉัตร จงั หวัดลําปาง นางอมรา เหลาวิชยา ศึกษานิเทศก ชาํ นาญการพเิ ศษ สํานกั งาน กศน. จังหวัดพจิ ิตร ผูพิสจู นอ กั ษร นางดวงทพิ ย แกวประเสริฐ ครชู ํานาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื นางสาวกมลธรรม ชืน่ พันธุ ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื นางณชิ ากร เมตาภรณ ครูชํานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ นางแกว ตา ธรี ะกุลพศิ ุทธ์ิ ครชู าํ นาญการ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ ผูออกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

81


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook