Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ยาเสพติด

ใบความรู้ยาเสพติด

Published by jonggonnee2517, 2021-12-29 05:08:00

Description: ใบความรู้ยาเสพติด

Search

Read the Text Version

ความรเู้ รือ่ งยาเสพตดิ ๑. ความหมายของยาเสพติด ยาเสพตดิ หมายถึง สารใดก็ตามท่ีเกดิ ขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารทสี่ ังเคราะห์ขน้ึ เมีอ่ นาเขา้ สู้ ร่างกายไม่วา่ จะโดยวิธรี ับประทาน ดม สูบ ฉดี หรอื ด้วยวิธกี ารใด ๆ แล้ว ทาใหเ้ กดิ ผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนย้ี งั จะทาใหเ้ กิดการเสพตดิ ได้ หากใช้สารนนั้ เป็นประจาทุกวนั หรอื วันละหลาย ๆ คร้ัง ลักษณะสาคญั ของสารเสพติด จะทาให้เกิดอาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพดังน้ี ๑. เกิดอาการด้ือยา หรอื ตา้ นยา และเม่ือตดิ แล้ว ต้องการใชส้ ารนั้นในประมาณมากขน้ึ ๒. เกดิ อาการขาดยา ถอนยา หรืออยากยา เมือ่ ใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรอื หยดุ ใช้ ๓. มีความต้องการเสพท้ังทางรา่ งกายและจิตใจ อยา่ งรุนแรงตลอดเวลา ๔. สุขภาพรา่ งกายทรุดโทรมลง เกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผูอ้ ื่น ตลอดจนสงั คม และ ประเทศชาติ ๒. ประเภทของยาเสพตดิ ยาเสพตดิ แบ่งไดห้ ลายรปู แบบ ตามลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั นี้ ฝน่ิ เอก๊ ซ์ตาซี ๑. แบง่ ตามแหล่งทเ่ี กิด ซงึ่ จะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑.๑ ยาเสพตดิ ธรรมชาติ (Natural Drugs) คือยาเสพตดิ ท่ผี ลิตมาจากพืช เช่น ฝ่นิ กระท่อม กัญชา เปน็ ต้น เฮโรอนี ยาบ้า ๑.๒ ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คอื ยาเสพติดทผ่ี ลติ ข้ึนด้วยกรรมวิธีทาง เคมี เชน่ เฮโรอนี แอมเฟตามีน เปน็ ต้น ๒. แบง่ ตามพระราชบัญญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒ ซ่ึงจะแบง่ ออกเป็น ๕ ประเภท คือ ๒.๑ ยาเสพติดใหโ้ ทษ ประเภทที่ ๑ ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามนี หรือยาบา้ ยา อหี รอื ยาเลิฟ ๒.๒ ยาเสพติดใหโ้ ทษ ประเภทที่ ๒ ยาเสพติดประเภทนสี้ ามารถนามาใชเ้ พ่อื ประโยชน์ทาง การแพทย์ได้ แต่ต้องใชภ้ ายใต้การควบคุมของแพทย์ และใชเ้ ฉพาะกรณที ่จี าเป็นเท่าน้ัน ไดแ้ ก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรอื โคคาอีน โคเคอนี และเมทาโดน ๒.๓ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๓ ยาเสพติดประเภทนี้เป็นยาเสพติดใหโ้ ทษท่ีมยี าเสพติด ประเภทที่ ๒ ผสมอยู่ดว้ ย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนาไปใชเ้ พ่ือจุดประสงค์อ่นื หรอื เพื่อเสพติด จะมี บทลงโทษกากบั ไว้ ยาเสพตดิ ประเภทน้ี ได้แก่ ยาแกไ้ อ ที่มตี ัวยาโคเคอีน ยาแกท้ ้องเสีย ทมี่ ฝี ิ่นผสมอยู่ดว้ ย ยาฉดี ระงับปวดตา่ ง ๆ เช่น มอร์ฟนี เพทิ ดนี ซึ่งสกดั มาจากฝ่นิ ๒.๔ ยาเสพติดใหโ้ ทษ ประเภทท่ี ๔ คือสารเคมที ่ีใช้ในการผลิตยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทที่

๑ หรอื ประเภทท่ี ๒ ยาเสพตดิ ประเภทน้ไี ม่มีการนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการบาบดั โรคแต่อย่างใด และมี บทลงโทษกากบั ไวด้ ้วย ได้แก่น้ายาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซง่ึ ใชใ้ นการเปลยี่ นมอรฟ์ ีน เปน็ เฮโรอีน สารคลอซไู ดอีเฟครีน สามารถใช้ในการผลติ ยาบ้าได้ และวัตถอุ อกฤทธิต์ ่อจติ ประสาทอกี ๑๒ ชนดิ ทส่ี ามารถนามาผลิตยาอีและยาบ้าได้ ผสมผสาน เหด็ ข้คี วาย ๒.๕ ยาเสพตดิ ให้โทษประเภทท่ี ๕ เปน็ ยาเสพติดให้โทษทีม่ ิได้เข้าข่ายอยใู่ นยาเสพติด ประเภทท่ี ๑ ถึง ๔ ไดแ้ ก่ ทุกสว่ นของพชื กญั ชา ทกุ สว่ นของพชื กระท่อม เหด็ ข้คี วาย เปน็ ตน้ ๓. แบ่งตามการออกฤทธิต์ ่อจิตประสาท ซึ่งแบง่ ออกเปน็ ๔ ประเภท คือ ๓.๑ ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝ่นิ มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยา กลอ่ มประสาท ๓.๒ ยาเสพตดิ ประเภทกระต้นุ ประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอีน ๓.๓ ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดเี อ็มพี และ เหด็ ข้ีควาย ๓.๔ ยาเสพตดิ ประเภทออกฤทธ์ผิ สมผสาน กล่าวคอื อาจกดกระตนุ้ หรอื หลอนประสาท ไดพ้ ร้อม ๆ กัน ตัวอยา่ งเชน่ กัญชา ๔. แบ่งตามองคก์ ารอนามยั โลก ซึง่ แบ่งออกไดเ้ ป็น ๙ ประเภท คือ ๔.๑ ประเภทฝิ่น หรอื มอร์ฟนี รวมทั้งยาที่มีฤทธ์ิคล้ายมอร์ฟนี ไดแ้ ก่ ฝิ่น มอร์ฟนี เฮโรอนี เพทิดนี ๔.๒ ประเภทยาปิทูเรท รวมทงั้ ยาที่มีฤทธ์ิทานองเดยี วกนั ได้แก่ เซโคบารป์ ติ าล อะโมบาร์ ปิตาล พาราลดีไฮด์ เมโปรบาเมท ไดอาซีแพม เป็นต้น ๔.๓ ประเภทแอลกอฮอล ไดแ้ ก่ เหล้า เบยี ร์ วิสกี้ ๔.๔ ประเภทแอมเฟตามีน ไดแ้ ก่ แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามนี ๔.๕ ประเภทโคเคน ไดแ้ ก่ โคเคน ใบโคคา ๔.๖ ประเภทกัญชา ได้แก่ ใบกญั ชา ยางกญั ชา ๔.๗ ประเภทใบกระท่อม ๔.๘ ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอน็ ที เมสตาลนี เมลดั มอนิ่งกลอรี่ ตน้ ลาโพง เห็ดเมาบางชนิด ๔.๙ ประเภทอืน่ ๆ นอกเหนอื จาก ๘ ประเภทข้างต้น ไดแ้ ก่ สารระเหยตา่ ง ๆ เช่น ทิน เนอร์ เบนซนิ น้ายาล้างเลบ็ ยาแก้ปวด และบุหรี่ ๓. วิธกี ารเสพยาเสพติด กระทาไดห้ ลายวิธี ดงั นี้คอื ๓.๑ สอดใต้หนงั ตา ๓.๒ สูบ ๓.๓ ดม ๓.๔ รบั ประทานเข้าไป ๓.๕ อมไวใ้ ต้ลนิ้

๓.๖ ฉดี เข้าเหงือก ๓.๗ ฉดี เข้าเสน้ เลือด ๓.๘ ฉดี เขา้ กล้ามเน้อื ๓.๙ เหน็บทางทวารหนกั ๔. ยาเสพตดิ ท่ีแพรร่ ะบาดในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ๔.๑ ยาบา้ ๔.๒ ยาอี ยาเลฟิ หรือ เอ็กซ์ตาซี ๔.๓ ยาเค ๔.๔ โคเคน ๔.๕ เฮโรอีน ๔.๖ กัญชา ๔.๗ สารระเหย ๔.๘ แอลเอสดี ๔.๙ ฝ่ิน ๔.๑๐ มอร์ฟีน ๔.๑๑ กระท่อม ๔.๑๒ เหด็ ข้คี วาย ๕. สาเหตุของการติดยาเสพติด มีหลายประการ ดงั นค้ี ือ ๕.๑ อยากลอง อยากรู้ อยากเหน็ อยากสัมผัส ซ่งึ เปน็ สัญชาตญาณอย่างหนงึ่ ของ มนษุ ย์ โดยคิดว่า \"ไม่ตดิ \" แตเ่ ม่ือลองเสพเข้าไปแลว้ มกั จะตดิ ๕.๒ ถูกเพ่ือนชักชวน ส่วนใหญพ่ บในกลุ่มเยาวชน ทาตามเพื่อน เพราะตอ้ งการ การ ยอมรับจากเพื่อนฝูง หรือถูกชักจูงวา่ ใชแ้ ล้วทาใหส้ มองปลอดโปร่ง หรือใช้แลว้ ทาใหข้ ยันจึงเหมาะแก่การเรียน และการทางาน ๕.๓ ถูกหลอกลวง โดยอาศัยรปู แบบสสี นั สวยงาม ทาใหผ้ รู้ ับไม่อาจทราบได้ว่า ส่งิ ทีต่ น ไดร้ ับเป็นยาเสพตดิ ๕.๔ ใชเ้ พ่ือลดความเจ็บปวดทางกาย อันเน่อื งมาจากโรคภัยไข้เจบ็ จนเกดิ การติดยา เพราะใชเ้ ป็นประจา ๕.๕ เกดิ จากความคนอง และขาดสติยั้งคิด ทงั้ ๆ ที่รู้ว่าเปน็ ยาเสพตดิ แต่อยากแสดง ความ เกง่ กลา้ อวดเพ่ือน จงึ ชวนกันเสพจนตดิ ๕.๖ ภาวะสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั เอ้ืออานวยที่จะส่งเสรมิ และผลกั ดนั ให้หนั เขา้ หายาเสพติด เช่น ครอบครัวแตกแยก สมาชกิ ในครอบครัวขาดความเข้าใจซึง่ กันและกัน ภาวะเศรษฐกิจบีบบงั คบั ใหท้ าเพื่อ ความอยู่รอด อยากรวยเร็ว หรือพักอาศยั อยู่ ในแหลง่ ท่ีมีการเสพและค้ายาเสพติด ๖. โทษ/พิษภัย ของยาเสพติด การใชย้ าเสพติด มีโทษและพิษภัยรอบตวั นอกจากจะสง่ ผลกระทบในทางไมด่ ีโดยตรงตอ่ ตวั ผ้เู สพ แลว้ ทง้ั ทางรา่ งกายและจติ ใจ ยังสง่ ผลกระทบทางอ้อมไปยงั ครอบครัวผเู้ สพ ตลอดจนเศรษฐกจิ สังคม และ ประเทศชาติอีกด้วย ๗. วิธีสงั เกตุอาการผตู้ ิดยาเสพตดิ

จะสังเกตว่าผ้ใู ดใชห้ รือเสพยาเสพติด ใหส้ งั เกตจากอาการและการเปลีย่ นแปลงทั้งทางรา่ งกาย และจติ ใจดงั ต่อไปน้ี ๗.๑ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จะสงั เกตได้จาก ๗.๑.๑ สุขภาพรา่ งกายทรุดโทรม ซบู ผอม ไม่มีแรง อ่อนเพลีย ๗.๑.๒ ริมฝีปากเขียวคล้า แห้ง และแตก ๗.๑.๓ รา่ งกายสกปรก เหงือ่ ออกมาก กล่นิ ตวั แรงเพราะไมช่ อบอาบน้า ๗.๑.๔ ผวิ หนงั หยาบกร้าน เปน็ แผลพุพอง อาจมหี นองหรือน้าเหลือง คลา้ ยโรคผวิ หนงั ๗.๑.๕ มีรอยกรีดดว้ ยของมีคม เปน็ รอยแผลเปน็ ปรากฏทบ่ี รเิ วณแขน และ/หรือ ทอ้ งแขน ๗.๑.๖ ชอบใสเ่ สอ้ื แขนยาว กางเกงขายาว และสวมแวน่ ตาดาเพ่ือปิดบงั มา่ นตาท่ี ขยาย ๗.๒ การเปล่ียนแปลงทางจติ ใจ ความประพฤตแิ ละบุคลกิ ภาพ สงั เกตไุ ด้จาก ๗.๒.๑ เปน็ คนเจา้ อารมย์ หงุดหงดิ งา่ ย เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตผุ ล ๗.๒.๒ ขาดความรับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี ๗.๒.๓ ขาดความเชอ่ื ม่ันในตนเอง ๗.๒.๔ พดู จากร้าวรา้ ว แมแ้ ต่บิดามารดา ครู อาจารย์ ของตนเอง ๗.๒.๕ ชอบแยกตัวอย่คู นเดียว ไม่เข้าหน้าผอู้ ื่น ทาตัวลกึ ลับ ๗.๒.๖ ชอบเข้าห้องนา้ นาน ๆ ๗.๒.๔ ใช้เงนิ เปลอื งผดิ ปกติ ทรัพย์สินในบ้านสูญหายบ่อย ๗.๒.๕ พบอุปกรณเ์ ก่ยี วกับยาเสพติด เชน่ หลอดฉดี ยา เขม็ ฉีดยา กระดาษตะก่วั ๗.๒.๖ มว่ั สุมกบั คนที่มีพฤตกิ รรมเกย่ี วกบั ยาเสพติด ๗.๒.๗ ไม่สนใจความเปน็ อยูข่ องตนเอง แต่งกายสกปรก ไม่เรยี บรอ้ ย ไม่ค่อยอาบน้า ๗.๒.๘ ชอบออกนอกบ้านเสมอ ๆ และกลบั บ้านผิดเวลา ๗.๒.๙ ไมช่ อบทางาน เกยี จครา้ น ชอบนอนตน่ื สาย ๗.๒.๑๐ มีอาการวิตกกงั วล เศร้าซึม สีหนา้ หมองคล้า ๗.๓ การสังเกตุอาการขาดยา ดังตอ่ ไปนี้ ๗.๓.๑ นา้ มกู น้าตาไหล หาวบ่อย ๗.๓.๒ กระสบั กระส่าย กระวนกระวาย หายใจถ่ี ปวดท้อง คลนื่ ไส้ อาเจยี น เบื่อ อาหาร น้าหนักลด อาจมีอจุ าระเป็นเลอื ด ๗.๓.๓ ขนลุก เหงอื่ ออกมากผิดปกติ ๗.๓.๔ ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดเสียวในกระดูก ๗.๓.๕ มา่ นตาขยายโตขึ้น ตาพร่าไม่สู้แดด ๗.๓.๖ มีอาการส่นั ชัก เกร็ง ไขข้ นึ้ สูง ความดันโลหติ สงู ๗.๓.๗ เปน็ ตะครวิ ๗.๓.๘ นอนไมห่ ลับ ๗.๓.๙ เพอ้ คลมุ้ คลงั่ อาละวาด ควบคมุ ตนเองไมไ่ ด้ ๘. การตรวจพสิ จู น์หาสารเสพตดิ ในร่างกาย การตรวจหาสารเสพตดิ ในร่างกาย แบง่ ออกเป็น ๒ ข้นั ตอน

๘.๑ การตรวจขนั้ ต้น : ราคาถกู ได้ผลเร็ว มีชุดตรวจสาเร็จรปู ความแม่นยาในการตรวจ ปานกลาง สดวกในการนาไปตรวจนอกสถานที่ ๘.๒ การตรวจขนั้ ยืนยนั : เป็นการตรวจท่ใี หผ้ ลแม่นยา แต่ใชเ้ วลาตรวจนาน คา่ ใช้จ่ายสงู ๙. การบาบดั รักษาผตู้ ิดยาเสพตดิ การบาบัดรกั ษาผตู้ ิดยาเสพตดิ หมายถงึ การดาเนินงานเพ่ือแก้ไขสภาพร่างกาย และจติ ใจของผู้ติด ยาเสพติดให้เลิกจากการเสพ และสามารถกลบั ไปดารงชีวติ อยู่ในสงั คมได้อยา่ งปกติ การบาบัดรักษาผ้ตู ดิ ยา เสพติด แบง่ ออกเปน็ ๓ ระบบคอื ๙.๑ ระบบสมคั รใจ หมายถงึ ผูต้ ิดยาเสพตดิ สมัครใจเขา้ รับการบาบัดรกั ษาใน สถานพยาบาลตา่ ง ๆ ทง้ั ของภาครัฐและเอกชน ๙.๒ ระบบตอ้ งโทษ หมายถึง ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ ทก่ี ระทาความผิดและถูกคมุ ขงั จะได้รับการ บาบดั รักษา ในสถานพยาบาลทีก่ าหนดไดต้ ามกฎหมาย เชน่ ทัณฑสถานบาบัดพเิ ศษ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย, สานกั งานคมุ ประพฤติ กระทรวงยุติธรรมหรอื สถานพนิ จิ และคุ้มครองเด็ก กลาง กระทรวงยตุ ธิ รรม ๙.๓ ระบบบงั คับบาบดั หมายถึง ผ้ทู ีท่ างราชการตรวจพบวา่ มีสารเสพติดในร่างกาย จะตอ้ งถูกบังคับบาบัดตาม พ.ร.บ. ฟืน้ ฟสู มรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔ ในสถานพยาบาลทจ่ี ัดข้นึ ตาม พ.ร.บ. ดงั กลา่ ว เปน็ ระยะเวลา ๖ เดือน และขยายไดจ้ นถึงไมเ่ กนิ ๓ ปี ระบบน้ียงั ไมเ่ ปิดใชใ้ นขณะนี้ การบาบัดรกั ษา และฟนื้ ฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ มี ๔ ขน้ั ตอน คือ ๙.๑ ขัน้ เตรียมการก่อนบาบดั รักษา (Pre - admission) เพือ่ ศึกษาประวตั ิภูมิหลงั ของผู้ ติดยาเสพตดิ ท้ังจากผขู้ อรบั การรกั ษา และครอบครัว ๙.๒ ข้นั ถอนพษิ ยา (Detoxification) เปน็ การบาบัดรกั ษาอาการทางกายทเ่ี กิดจากการใช้ ยาเสพติด โดยผู้ขอรับการรักษา สามารถเลอื กใช้บรกิ ารแบบผปู้ ่วยนอก หรอื ผู้ปว่ ยใน ก็ไดต้ ามสดวก ๙.๓ ขน้ั การฟน้ื ฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation) เป็นการบาบัดรักษาเพอ่ื ปรบั เปลย่ี น ลักษณะนิสยั บุคลกิ ภาพ พฤติกรรม เพือ่ ให้รู้จักตนเอง และมีความเข้มแขง็ ในจิตใจ เพ่ือให้ผู้รบั การบาบดั มีความเช่ือมั่นในการกลบั ไปดาเนนิ ชีวิตในสังคมได้อยา่ งปกติ โดยไม่หวนกลบั ไปเสพซา้ อีก ๙.๔ ขน้ั ตดิ ตามดแู ล (After - case) เป็นการตดิ ตามดแู ลผู้เลิกยาเสพติดทไี่ ดผ้ ่านการ บาบดั ครบทง้ั ๓ ขน้ั ตอนข้างตน้ แลว้ เพื่อให้คาแนะนา แกไ้ ขปัญหาและให้กาลังใจผู้เลิกยาเสพตดิ ใหด้ าเนิน ชีวิตอย่างปกตสิ ุขในสงั คมไดย้ ิ่งขนิ้ ๑๐. สถานบาบดั รักษาผ้ตู ดิ ยาเสพติด ผูต้ ิดยาเสพติด หรือ ผูเ้ กย่ี วข้องกับยาเสพตดิ สามารถขอรบั การบาบัดรักษาได้ตามสถานพยาบาล ตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นหนว่ ยงานของรัฐบาล และเอกชน ทัง้ ในเขตกรุงเทพมหานคร และส่วนภูมภิ าค ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. ในเขตกรงุ เทพมหานคร สามารถใชบ้ รกิ ารได้ท่โี รงพยาบาล และคลีนกิ ยาเสพตดิ ใน ศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสุข สานักอนามยั กรงุ เทพมหานคร ไดแ้ ก่ โรงพยาบาล ๑.๑ โรงพยาบาลราชวถิ ี โทร. ๐ - ๒๒๔๖ - ๐๐๕๒ ต่อ ๔๓๐๒ ๑.๒ โรงพยาบาลพระมงกุฏเกลา้ โทร. ๐ - ๒๒๔๖ - ๑๔๐๐ ถึง ๑๔๒๘ ตอ่ ๓๑๘๗ ๑.๓ โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพฯ โทร. ๐ - ๒๔๑๑ - ๒๔๑๙๑ ๑.๔ โรงพยาบาลนิติจิตเวช โทร ๐ - ๒๔๔๑ - ๙๐๒๖ - ๙ ๑.๕ โรงพยาบาลตากสนิ โทร. ๐ - ๒๘๖๓ - ๑๓๗๑ ถึง ๒, ๐ - ๒๔๓๗ - ๐๑๒๓ ตอ่

๑๑๕๓,๑๒๔๘ คลนิ ิกยาเสพตดิ ในศูนยบ์ ริการสาธารณสุข สานกั อนามยั กทม. ๑.๖ คลนิ ิกยาเสพติด ๑ ลุมพนิ ี โทร. ๐ - ๒๒๕๐ - ๐๒๘๖ ๑.๗ คลนิ กิ ยาเสพตดิ ๒ สีพ่ ระยา โทร. ๐ - ๒๒๓๖ - ๔๑๗๔ ๑.๘ คลินิกยาเสพตดิ ๓ บางอ้อ โทร. ๐ - ๒๔๒๔-๖๙๓๓ ๑.๙ คลินกิ ยาเสพตดิ ๔ บางซื่อ โทร. ๐ - ๒๕๘๗ - ๐๘๗๓ ๑.๑๐ คลนิ ิกยาเสพติด ๕ ดินแดน โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๐๖๔๐ ๑.๑๑ คลินิกยาเสพตดิ ๖ วัดธาตทุ อง โทร. ๐ - ๒๓๙๑ - ๘๕๓๙ ๑.๑๒ คลนิ กิ ยาเสพตดิ ๗ สาธปุ ระดิษฐ์ โทร. ๐ - ๒๒๘๔ - ๓๒๔๔ ๑.๑๓ คลินิกยาเสพตดิ ๘ ซอยอ่อนนชุ โทร. ๐ - ๒๓๒๑ - ๒๕๖๖ ๑.๑๔ คลนิ กิ ยาเสพตดิ ๙ บางขุนเทียน โทร. ๐ - ๒๔๖๘ - ๒๕๗๐ ๑.๑๕ คลนิ กิ ยาเสพตดิ ๑๐ สโมสรวฒั นธรรม โทร. ๐ - ๒๒๘๑ - ๙๗๓๐ ๑.๑๖ คลินิกยาเสพตดิ ๑๑ ลาดพร้าว โทร. ๐ - ๒๕๑๓ - ๒๕๐๙ ๑.๑๗ คลนิ ิกยาเสพตดิ ๑๒ วงศ์สวา่ ง โทร. ๐ - ๒๕๘๕ - ๑๖๗๒ ๑.๑๘ คลินิกยาเสพติด ๑๓ ภาษีเจรญิ โทร. ๐ - ๒๔๑๓ - ๒๔๓๕ ๑.๑๙ คลนิ ิกยาเสพตดิ ๑๔ คลองเตย โทร. ๐ - ๒๒๔๙ - ๑๘๕๒ ๑.๒๐ คลินกิ ยาเสพติด ๑๕ วัดไผต่ นั โทร. ๐ - ๒๒๗๐ - ๑๙๘๕ ๒. ในสว่ นภมู ิภาค ไดแ้ ก่ โรงพยาบาล ๒.๑ โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์ สายด่วนปรกึ ษาปญั หายาเสพตดิ โทร. ๐๒ - ๑๑๖๕ และ โทร. ๐ - ๒๕๓๑ - ๐๐๘๐ ถึง ๘ ๒.๒ โรงพยาบาลประจาจังหวดั ทุกจังหวดั ศูนย์บาบดั รกั ษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ๒.๓ ศนู ย์บาบดั รักษาผู้ติดยาเสพติด ประจาภาคเหนือ อาเภอแมร่ ิม จงั หวัด เชยี งใหม่ โทร. (๐๕๓) ๒๙๗ - ๙๗๖ ถึง ๗ ๒.๔ ศูนย์บาบดั รักษาผูต้ ดิ ยาเสพตดิ ประจาภาคใต้ อาเภอเมือง จังหวดั สงขลา โทร. (๐๗๔) ๔๖๗ - ๔๕๓, (๐๗๔) ๔๖๗ - ๔๖๘ ๒.๕ ศนู ยบ์ าบัดรักษาผตู้ ิดยาเสพตดิ ประจาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ อาเภอเมือง จงั หวัด ขอนแกน่ โทร. (๐๔๓) ๒๔๕ - ๓๖๖ ๒.๖ ศูนย์บาบัดรักษาผตู้ ดิ ยาเสพติด จังหวดั แมฮ่ ่องสอน อาเภอเมือง จังหวัด แมฮ่ ่องสอน โทร. (๐๕๓) ๖๑๒ - ๖๐๗ ๒.๗ ศูนยบ์ าบดั รักษาผ้ตู ดิ ยาเสพติด จังหวดั ปัตตานี อาเภอเมอื ง จังหวดั ปตั ตานี โทร. (๐๗๓) ๓๓๓ - ๒๙๑ ๓. สถานพยาบาลทีด่ าเนินการฟนื้ ฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพตดิ ๓.๑ สถานฟนื้ ฟูสมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติด บ้านพชิ ติ ใจ แขวงประเวศ กทม. โทร. ๐ - ๒๓๒๙ - ๑๓๕๓, ๐ - ๒๓๒๙ - ๑๕๖๖ ๓.๒ ศูนยฟ์ นื้ ฟูสมรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพติด คอมมนู ิตา้ อนิ คอน - อาเภอลาลกู กา จงั หวัดปทุมธานี โทร. ๐ - ๒๕๖๓ - ๑๐๐๖ - ๗, ๐๑ - ๒๑๓๒๕๐๕ - อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก โทร. ๐๑ - ๙๓๗ - ๑๓๔๕ - อาเภอท่าแร่ จงั หวัดสกลนคร โทร.๐๑ - ๒๑๒๐๘๐๔

๓.๓ ศนู ยเ์ กิดใหม่ (ชาย) อาเภอจอมบึง จังหวดั ราชบุรี โทร. (๐๓๒) ๒๖๑๐๓๘ - ๔๐ ๓.๔ ศนู ยเ์ กดิ ใหม่ (หญิง) อาเภอบางคล้า จงั หวดั ฉะเชิงเทรา โทร. (๐๓๘) ๕๔๑๖๙๓ ๓.๕ บ้านสนั ติสขุ อาเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี โทร. ๐๑ - ๒๑๘๑๓๔๓ ๓.๖ บา้ นตะวนั ใหม่ อาเภอบางบ่อ จงั หวัดสมุทรปราการ โทร. ๐๑ - ๒๑๐๑๕๗๓ ๓.๗ บา้ นนมิ ติ ใหม่ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โทร. (๐๕๓) ๒๗๗๐๔๙, (๐๕๓) ๒๘๒๔๙๕ ๑๑. วิธกี ารแจ้งขา่ วสารยาเสพตดิ การให้ความร่วมมือกับเจา้ หน้าท่ใี นการแจ้งขอ้ มูลขา่ วสารยาเสพติด เพอื่ ปราบปรามแหลง่ ผลิต แหล่งค้า แหล่งจาหนา่ ย และแหล่งม่วั สมุ ยาเสพตดิ เพอ่ื จับกมุ ผูก้ ระทาความผิดมาดาเนินการตามกฎหมายนัน้ นบั เป็นการบาเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์อย่างย่งิ ต่อทางราชการและประเทศชาติ แต่ขณะเดียวกัน การกระทา ดงั กลา่ วควรปฏบิ ัตดิ ว้ ยความรอบคอบและระมดั ระวงั เพื่อมิให้ถูกคุกคามจากอทิ ธิพลของผถู้ กู จับกุมดว้ ย ฉะนนั้ เพื่อความปลอดภัย ผ้แู จง้ ขา่ วสารสามารถเลอื กปฏบิ ัติได้ ๒ วธิ คี ือ ๑. แจง้ ขา่ วสารโดยไม่เปิดเผยตนเอง กรณีน้ี ผ้แู จง้ สามารถแจง้ ข่าวสารตอ่ เจา้ หนา้ ทต่ี ารวจได้ ทุกสถานีทวั่ ประเทศ หรอื แจ้งต่อเจ้าหน้าท่ี ปปส. โดยทาเปน็ จดหมาย ไมต่ ้องระบชุ ่อื ผู้แจง้ แตต่ อ้ งให้ รายละเอียดทเ่ี ป็นประโยชนใ์ นการสบื สวน ตดิ ตาม กลา่ วคือ ข้อมูลท่ีใหต้ ้องครอบคลมุ คาถามวา่ ใคร ทา อะไร ท่ีไหน เมือ่ ไร อยา่ งชดั เจน ๒. แจง้ ขา่ วสารโดยแสดงตัวผูแ้ จ้ง โดยผ้แู จง้ ต้องมน่ั ใจได้ว่า ผรู้ บั แจ้งนน้ั ตอ้ งสามารถเกบ็ ความลบั ได้ และใหค้ วามคุ้มครองแกผ่ ู้แจง้ ได้ หากถกู คกุ คามจากอทิ ธิพลของผูถ้ ูกจบั กุม ทั้งน้ีเพ่ือขอความ คุ้มครอง และแจ้งรายละเอียดของผูท้ ่ีคกุ คาม ให้เจา้ หน้าท่ีตารวจดาเนนิ การตามกฏหมายตอ่ ไป ๑๒. สถานที่รับแจ้งขา่ วสารเกีย่ วกับยาเสพติด ผ้แู จง้ ข่าวสาร สามารถติดตอ่ แจง้ ขา่ วยาเสพตดิ ไดท้ ห่ี นว่ ยงานต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี ๑๒.๑ ศูนยร์ บั แจ้งขา่ วยาเสพติด โทร.สายดว่ น ๐๒ - ๑๖๘๘ ๑๒.๒ กองบญั ชาการตารวจปราบปรามยาเสพตดิ สานักงานตารวจแหง่ ชาติ โทร. ๐ - ๒๒๕๑ - ๒๗๒๖ และ ๐ - ๒๒๕๒ - ๗๙๖๒ ๑๒.๓ สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด ถนนดนิ แดง เขตพญา ไท กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๔๑๔, ๐ - ๒๒๔๗๐๙๐๑ - ๑๙ ตอ่ ๒๕๘ หรือโทรสาร ๐ - ๒๒๔๗ - ๗๒๑๗ ๑๒.๔ สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติดภาคกลาง ถนนดนิ แดง เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๙๕๒, ๐ - ๒๒๔๕ - ๓๙๗๒ หรอื โทรสาร ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๕๒ ๑๒.๕ ตู้ ป.ณ.๑๒๓ สามเสนใน กทม. ๑๐๔๐๐ ๑๒.๖ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ ภาคเหนอื บรเิ วณศูนย์ ราชการจังหวัดเชยี งใหม่ ถนนโชตนา อาเภอเมอื ง ฯ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๒๐๑๘๐ โทร. (๐๕๓) ๒๑๑๗๙๓, (๐๕๓) ๒๑๒๐๒๘ หรือ โทรสาร (๐๕๓) ๒๑๑๘๐๘ และ (๐๕๓) ๒๑๑๗๘๐ ๑๒.๗ สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติดภาคใต้ ๔๓๔ ถนนไทร บุรี อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา โทร. (๐๗๔) ๓๑๒๐๘๘, (๐๗๔) ๓๒๓๓๐๐ หรอื โทรสาร (๐๗๔) ๓๒๑๕๑๔ ๑๒.๘ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราบยาเสพตดิ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

ตรงข้ามท่ีทาการปา่ ไม้เขต ถนนหน้าศนู ยร์ าชการ อาเภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐ โทร. (๐๔๓) ๒๔๑๐๒๙, (๐๔๓) ๓๔๔๔๒๐ หรือ โทรสาร (๐๔๓) ๒๔๖ - ๗๙๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook