Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

Published by jirawatnetsiri2557, 2020-01-08 00:50:52

Description: เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

Search

Read the Text Version

เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์ 1. เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ คอื วัสดุ อุปกรณ์ ในรูปแบบตา่ งๆ ที่นามาใชเ้ ป็นสอ่ื เพอ่ื การศึกษาการสารวจ การเก็บรวบรวม การบันทกึ การวเิ คราะห์ข้อมูล ตลอดจนใชเ้ ปน็ ส่ือในการเผยแพร่ข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ เครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์จาแนกตามหนา้ ทีห่ ลกั ของการใชง้ านได้ 2 ประเภท ดงั นี้ ประเภทท่ี 1 เครอ่ื งมือทที่ าหนา้ ท่ีเปน็ สือ่ ความรทู้ างภูมิศาสตร์ สื่อความรู้ทางภูมิศาสตร์ หมายถึง วัสดุ อปุ กรณ์ หรือเทคโนโลยตี ่างๆ ที่ทาหน้าท่ีเผยแพรใ่ ห้ความรู้ สาหรบั การศึกษาเรยี นรทู้ างภมู ิศาสตร์ อาจอย่ใู น รปู ของตวั หนงั สอื รปู ภาพ แผนภูมิ แบบจาลอง ส่อื ดจิ ทิ ลั เสยี ง และภาพเคลอื่ นไหวตา่ งๆ ตัวอย่างเคร่อื งมือ เหลา่ น้ี เช่น ตาราเรยี นภูมิศาสตร์ เว็บไซต์ทเี่ ผยแพร่ความรทู้ างภมู ิศาสตร์ แผนท่ปี ระเภทตา่ งๆ ลูกโลกจาลอง ภมู ิ ประเทศจาลอง รูปถา่ ยทางอากาศ ภาพจากจานดาวเทียม เปน็ ตน้ ประเภทที่ 2 เครื่องมือทีท่ าหน้าที่เป็นสือ่ เก็บรวบรวมขอ้ มูลทางภมู ิศาสตร์ ส่ือเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทาง ภมู ศิ าสตร์ หมายถงึ วสั ดุ อปุ กรณ์ หรือเทคโนโลยตี ่างๆ ทท่ี าหน้าทเ่ี พื่อสารวจ ตรวจวัด บนั ทกึ เก็บรวบรวม และ วเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์ ตวั อยา่ งเคร่ืองมือเหล่าน้ี เชน่ สมุดจดบันทกึ เข็มทิศ เทปวัดระยะทาง กล้องสาม มติ ิ (Stereoscope) เทอรโ์ มมเิ ตอร์ (Thermometer) ระบบกาหนดตาแหน่งบนพนื้ โลก หรือจพี ี เอส (Global Positioning System : GPS) ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ หรอื จไี อ เอส (Geographic Information System : GIS) ข้อมูลจากการรบั รรู้ ะยะไกล (Remote Sensing : RS) เปน็ ตน้

1.1 แผนท่ี เปน็ เครื่องมือทางภูมิศาสตรท์ ี่มีความสาคัญตอ่ การเรียนวิชาภมู ศิ าสตร์เป็นอย่างมากเนื่องจากการเรยี นวชิ าน้ีต้องกล่าวถึง สถานท่ีท่ีมีขนาดตา่ งกัน ทง้ั ที่เปน็ ธรรมชาติและส่ิงทมี่ นุ ษยส์ รา้ งขึ้น ตลอดจนปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นบน พน้ื ผวิ โลก และสง่ิ ที่จะสามารถนามาใช้อธิบายสภาพพ้ืนที่ สถานทไี่ ดด้ ที ี่สุด คือ แผนที่ 1.) ความหมายของแผนท่ี พจนานกุ รมศพั ทท์ างภูมศิ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถานไดใ้ ห้ความหมายของแผนท่ี ไวว้ า่ “แผนท่ี หมายถึง ส่ือรปู แบบหน่ึงทถี่ ่ายทอดข้อมูลของโลกในรูปกราฟกิ โดยการย่อส่วนใหเ้ ลก็ ลงด้วยมาตรา ส่วนขนาดตา่ งๆ และเสน้ โครงแผนทแี่ บบตา่ งๆ ใหเ้ ขา้ ใจตรงตามวัตถุประสงคด์ ว้ ยการใชส้ ญั ลักษณ์” ดงั นนั้ จึงกลา่ ว ไว้วา่ แผนทเ่ี ป็นส่งิ ที่มนษุ ยส์ ร้างขึ้นเพอื่ แสดงลักษณะของพื้นผวิ โลก และสงิ่ ที่ปรากฏอยู่บนพน้ื ผวิ โลก และส่งิ ทีป่ รากฏ อยูบ่ นพืน้ ผิวโลก ทั้งทเ่ี กดิ ขึน้ เองตามธรรมชาตแิ ละส่ิงทมี่ นษุ ย์สรา้ งขึน้ ดว้ ยการยอ่ สว่ นให้มีขนาดเล็กลงตามอัตราสว่ นท่ี ตอ้ งการและใช้สญั ลักษณแ์ ทนสงิ่ ตา่ งๆ ทมี่ ีอยูจ่ ริงบนผวิ โลก ท้ังนี้จะคงความเหมอื นจรงิ ทั้ง ขนาด รปู ร่าง ทศิ ทาง และตาแหน่งทต่ี งั้ ไว้ 2.) ชนดิ ของแผนที่ แผนท่ีสามารถแบ่งออกได้หลายชนดิ หลายลกั ษณะ ขึน้ อยกู่ บั วา่ ใช้อะไรเปน็ เกณฑใ์ นการ แบง่ ทั้งนโ้ี ดยทั่วไปนิยมแบง่ เป็น 2 ชนดิ คือ

2.1) แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map) เป็นแผนทแ่ี สดงข้อมลู รายละเอียดของผิวโลกท่เี กยี่ วกับภมู ลิ กั ษณ์ แบบตา่ งๆ ท้ังท่ีเกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ เชน่ ภเู ขา ท่ีราบสูง ทร่ี าบ แม่น้า ทะเล ทะเลสาบ เปน็ ตน้ และสงิ่ ท่ี มนษุ ยส์ รา้ งขึน้ เช่น เมือง หมบู่ า้ น พืน้ ที่เกษตรกรรม อา่ งเกบ็ นา้ ถนน ทางรถไฟ เปน็ ต้น แผนที่ภูมปิ ระเทศแสดงความสูงต่าของผิวโลกดว้ ยเสน้ ชั้นความสูง (contour line) และหมุด ระดบั (bench mark) จัดทาโดยกรมแผนทที่ หาร แผนท่ภี ูมปิ ระเทศทีใ่ ชก้ นั มากมี 2 มาตราสว่ น ได้แก่ แผนท่ี มาตราส่วนเล็ก คอื มาตราสว่ น 1 : 250,000 และแผนที่มาตราสว่ นใหญ่ คือ มาตราส่วน 1 : 50,000 เนื่องจาก แผนท่ภี ูมิประเทศทง้ั สองมาตราสว่ นจดั ทาข้ึนจากข้อมูลท่ีได้มาจากรูปถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทียม จึงได้ขอ้ มูล ทีป่ รากฏอยู่บนพื้นผิวโลกท่ถี ูกตอ้ งและทนั สมยั มจี ดุ พกิ ดั ภูมิศาสตร์อา้ งอิงได้ จงึ เป็นแผนทีท่ ี่มีความนิยมใชใ้ นงานสาขา อืน่ ๆ เชน่ การสรา้ งถนน การสรา้ งเขื่อน การสร้างเมอื งใหม่ การปอู งกนั อทุ กภัย เปน็ ตน้ 2.2) แผนท่ีเฉพาะเรอ่ื ง (Thematic Map) เป็นแผนทที่ ี่จดั ทาขึน้ เพ่อื แสดงข้อมูลหลกั เฉพาะเร่อื งใดเรอื่ ง หนึ่ง เชน่ แผนทป่ี ระชากร แผนท่อี ากาศ แผนทีป่ าุ ไม้ แผนที่ทอ่ งเทย่ี ว แผนทเี่ หลา่ น้ีจะมกี ารสารวจเพมิ่ เตมิ หรอื ปรับแก้ไขขอ้ มลู ใหท้ นั สมัยเปน็ ระยะๆ ไปมาตราส่วนของแผนที่เฉพาะเร่อื งมีความหลากหลายตามลักษณะขอ้ มลู ท่ี ตอ้ งการแสดง แตส่ ่วนมากจะเปน็ มาตราส่วนเลก็ เชน่ มาตราส่วนเล็กกว่า 1 : 1,000,000 1 : 500,000 หรอื 1 : 250,000 เปน็ ตน้ ส่วนแผนทเี่ ฉพาะเร่อื งที่มีลกั ษณะเชิงวชิ าการ เช่น แผนทช่ี ดุ ดนิ แผนที่การใชป้ ระโยชนท์ ี่ดิน แผน ทธ่ี รณีวทิ ยาและแหล่งแร่ อาจทาเปน็ แผนทม่ี าตราส่วน 1 : 100,000 หรอื 1 : 50,000 แต่พืน้ ทีเ่ ฉพาะเรอื่ งบางชนิด ทีต่ อ้ งการแสดงเฉพาะพืน้ ที่ขนาดเลก็ เชน่ ทรัพยากรธรรมชาตใิ นตาบลหรอื หมู่บา้ นอาจจะมีการจดั ทาแผนท่ีมาตรา สว่ นใหญ่ได้ เน่อื งจากแผนท่ีเฉพาะเรอื่ งมคี วามหลากหลายชนิดมาก จงึ ได้นาเสนอตัวอยา่ งเพยี งบางชนิด ดงั นี้ (1) แผนท่ที ่องเที่ยว มีการจัดทาทัง้ ในระดบั ประเทศ ระดบั ภาค และระดบั จงั หวดั โดยเนน้ ข้อมลู ด้านการ เดนิ ทาง ไดแ้ ก่ ถนน ทางรถไฟ ทีต่ ัง้ จังหวัด อาเภอ สถานท่ี ทอ่ งเทยี่ ว สถานท่ีพกั รา้ นอาหาร แผนท่ที อ่ งเที่ยวมี รปู แบบท่ีเข้าใจง่าย ดังนนั้ จึงมกั จดั พิมพม์ าตราส่วนเล็ก เชน่ 1 : 1,000,000 หรือ 1 : 2,000,000 หรือเลก็ กวา่ เปน็ ต้น (2) แผนทแี่ สดงเส้นทางคมนาคม แผนท่นี ้จี ดั ทาโดยกรมทางหลวง เพอื่ แสดงรายละเอียดของเสน้ ทาง คมนาคม ได้แก่ ถนน ทางรถไฟ สนามบิน เปน็ หลัก แผนท่ีแสดงเส้นทางคมนาคมมีประโยชน์เพอื่ ใช้กาหนด เส้นทาง ระยะทางโดยประมาณ และการหลกี เลี่ยงเสน้ ทางที่มีปัญหา เนอ่ื งจากมขี ้อมูลไมม่ ากนัก แผนทีท่ ีพ่ ิมพ์ออกมา

จงึ มีมาตราส่วนเล็ก เชน่ 1 : 1,000,000 หรอื เล็กกวา่ เปน็ ต้น (3) แผนท่ธี รณีวทิ ยา เปน็ แผนทที่ ีแ่ สดงอายขุ องหิน หน่วยหิน ชนดิ หนิ และโครงสรา้ งทาง ธรณีวทิ ยา นอกจากนีย้ งั แสดงขอ้ มูลประกอบอ่นื ๆ เชน่ ทางหลวงสายสาคัญ ทต่ี ง้ั ของจังหวัด เป็นตน้ โดยขอ้ มลู ประกอบจะแตกตา่ งกันไปตามมาตราสว่ น แผนทธี่ รณวี ิทยามาตราสว่ น 1 : 1,000,000 1 : 250,000 และ 1 : 50,000 จะมกี ารนามาใช้งานมาก ซึง่ แผนทนี่ ้จี ัดทาโดยกรมทรพั ยากรธรณี (4) แผนท่กี ารใช้ท่ีดนิ แผนทนี่ ี้แสดงการใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน โดยเฉพาะด้านการเกษตร มาตราส่วนท่ีจัดทา เช่น 1 : 1,000,000 และ 1 : 250,000 และ 1 : 50,000 และเนอื่ งจากการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ มีการเปลยี่ นแปลงมากและ รวดเรว็ แผนท่กี ารใชท้ ี่ดินจึงต้องมีการปรับปรุงใหท้ นั สมยั ตลอดเวลา ซ่ึงเป็นงานทล่ี ะเอียดและต้องใชเ้ วลามาก แตใ่ น ปจั จบุ นั มกี ารใชข้ อ้ มลู จากดาวเทียมเพอื่ จดั ทาแผนทีก่ ารใชท้ ี่ดนิ ทาใหก้ ารทางานรวดเร็วมากขนึ้ แผนท่นี ้จี ัดทาโดยกรม พัฒนาท่ีดินหรอื สารกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 3.) องค์ประกอบแผนที่ แผนที่โดยท่ัวไปมอี งค์ประกอบที่สาคัญ ดงั น้ี 4.) การอา่ นแผนท่ี แผนท่เี ปน็ เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตรท์ ีม่ ีความสาคญั ต่อการดาเนนิ ชวี ิตหลายประการ เชน่ ใช้ แผนท่ใี นการเดินทาง การวางแผนการท่องเที่ยว การศกึ ษาสภาพของพ้ืนที่เพอื่ การปอู งกันและแกป้ ัญหาภัยพิบัติ ต่างๆ เปน็ ต้น ดงั นัน้ ผูใ้ ช้หรือผู้ศกึ ษาแผนท่จี งึ ควรมีความรู้และความเข้าใจองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของแผนท่ี และฝกึ ฝน การอา่ นแผนที่อยเู่ สมอ จึงจะสามารถอา่ นแผนท่ีไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง รวดเรว็ และนาขอ้ มูลที่ตอ้ งการจากแผนท่ไี ปใช้ ประโยชน์ไดต้ ามวัตถุประสงค์ จากแผนที่ภูมิประเทศบรเิ วณเขาพนมรุง้ มาตราส่วนเดิม 1 : 50,000 ของกรมแผนทท่ี หาร มีขอ้ มูลและข่าวสารด้าน ภูมลิ กั ษณ์ ทั้งสงิ่ ที่เกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติและสง่ิ ท่ีมนุ ษย์สร้างขน้ึ แสดงด้วยสญั ลักษณ์แผนที่ ดังตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้ 5.) ประโยชน์ของแผนที่ แผนทเี่ ปน็ เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ทม่ี ีความจาเปน็ สาหรับการศึกษาสภาพแวดล้อมทาง ภมู ศิ าสตร์ และเปน็ ประโยชน์ในการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ของมนุษย์ ดงั นี้ 1. ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน เชน่ ใช้แสดงเส้นทางคมนาคมในการเดินทาง เปน็ ต้น 2. ใชใ้ นการสง่ เสริมการท่องเทยี่ ว แผนที่มปี ระโยชน์ในการเดนิ ทางไปยงั สถานทท่ี ่องเที่ยว การวางแผนการ ท่องเทย่ี ว รวมถึงการตดั สินใจเลือกสถานทท่ี อ่ งเทย่ี วของนกั ท่องเที่ยว 3. ใช้ในการรายงานปรากฏการณธ์ รรมชาติ เช่น แผนท่ีแสดงอุณหภมู ิ แผนทแ่ี สดงการเคล่ือนท่ีของพายุ ซึง่ ทา ให้เข้าใจไดง้ ่ายขึ้น เป็นต้น

4. ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลพ้ืนฐานในการวางแผนสร้างระบบสาธารณปู โภค เช่น วางแผนการตดั ถนน วางระบบ โทรคมนาคม วางสายไฟฟาู วางท่อประปา การสร้างเขือ่ น เป็นต้น 5. ใช้เปน็ ข้อมลู พ้นื ฐานในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คม เช่น แผนท่ีแสดงความหนาแน่นของประชากร แผนที่ แสดงแหลง่ ปลกู พชื เศรษฐกิจ ซ่งึ ชว่ ยทาให้ทราบขอ้ มลู พืน้ ฐานเพอื่ นาไปวางแผนการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม ต่อไป เปน็ ตน้ 6. ใชใ้ นกิจการทางทหาร โดยนาไปเปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนทางยุทธศาสตร์ เช่น การเลอื กต้งั ท่ีคา่ ย ทหาร การทิ้งระเบิดโจมตีทางอากาศ เปน็ ตน้ 7. ใชใ้ นด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เช่น ใชเ้ ป็นข้อมูลในการสารวจและปกั ปันเขตแดน เปน็ ตน้ 8. ใชศ้ ึกษาวจิ ัยเกีย่ วกบั พ้นื ท่ี เชน่ ศกึ ษาชนิด คณุ ภาพ และการกระจายดิน ธรณวี ทิ ยา ปาุ ไม้ เปน็ ต้น 1.2 ลกู โลกจาลอง ลูกโลกจาลอง เป็นสิ่งที่มนษุ ย์สรา้ งขนึ้ เพอ่ื จาลองลกั ษณะของโลกแสดงท่ตี ง้ั อาณาเขตพรมแดนของประเทศตา่ งๆ และ ลกู โลกจาลองยังสามารถใช้เปน็ สอื่ ในการเรยี นการสอนเกยี่ วกบั โลกไดเ้ ป็นอย่างดี ลูกโลกจาลองแสดงส่งิ ตอ่ ไปนี้ 1) รปู ทรงของโลก โลกมีรูปทรงกลมคลา้ ยผลสม้ คอื ตรงบริเวณขว้ั โลกท้งั สองยบุ ราบลงเล็กนอ้ ยและปอุ งตรงบริเวณ ศนู ยส์ ตู ร โลกมีเส้นผ่านศนู ย์กลางท่เี ส้นศูนย์สูตร ยาว 12,756 กิโลเมตร และมเี สน้ ผา่ นศนู ย์กลางจากขว้ั โลกเหนอื ถึง ขั้วโลกใตย้ าว 12,714 กิโลเมตร จงึ เหน็ ได้วา่ รปู ร่างของโลกไมเ่ ป็นทรงกลมอย่างแท้จริง บนผวิ โลกจะมอี งคป์ ระกอบ หลกั 2 สว่ น คือ สว่ นท่ีเปน็ พืน้ น้า ไดแ้ ก่ ทะเล มหาสมทุ รต่างๆ มีเนอื้ ทีร่ วมกนั 375 ล้านตารางกโิ ลเมตร และ

สว่ นที่เปน็ แผน่ ดนิ ได้แก่ ทวีปและเกาะต่างๆ มีเนือ้ ทรี่ วมกนั 150 ลา้ นตารางกโิ ลเมตร เม่ือรวมทัง้ พ้ืนนา้ และ แผ่นดนิ แลว้ โลกจะมีเน้ือท่รี วมประมาณ 525 ลา้ นตารางกโิ ลเมตร โดยคดิ สดั สว่ นบรเิ วณผวิ ของเปลือกโลกจะเปน็ พน้ื น้า 2 ใน 3 สว่ น และสว่ นทีเ่ ปน็ แผ่นดิน 1 ใน 3 สว่ น ดังนั้น การสรา้ งลกู โลกจาลองจงึ ต้องเป็นไปตามสัดส่วนของโลก แตเ่ นือ่ งจากเม่อื มกี ารย่อสว่ นเปน็ ลูกโลกจาลอง แล้ว จะพบว่าค่าความยาวของเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางทีเ่ สน้ ศนู ย์สตู ร และจากขว้ั โลกเหนือไปยงั ข้ัวโลกใต้ จะมีค่าไม่ต่างกัน มากนัก จงึ เห็นไดว้ า่ รูปโลกจาลองมีลักษณะทรงกลม เพราะมีความแตกต่างกันเพยี งเล็กนอ้ ย เม่อื เทียบกบั ขนาดจรงิ ของโลก 2) ข้อมลู ท่ีแสดงบนลูกโลกจาลอง ลูกโลกจาลองมีหลายแบบตามวัตถปุ ระสงคข์ องการแสดง ซ่งึ อาจแบง่ ได้ เป็น 2 แบบ ดังนี้ 2.1) ลูกโลกแสดงลักษณะผวิ โลก โดยแบง่ ผวิ โลกออกเปน็ 2 สว่ นอย่างชัดเจน คือ ส่วนทเ่ี ป็นพืน้ น้า ซึ่งไดแ้ ก่ น้า ทะเล มหาสมทุ รเป็นสว่ นใหญจ่ ะแสดงด้วยสีน้าเงนิ ออ่ น และสว่ นทเ่ี ปน็ แผน่ ดนิ ซ่ึงได้แก่ รายละเอียดของ ทวีป ประเทศ ทตี่ ง้ั ของเมอื งหลวงและเมอื งสาคัญ 2.2) สว่ นทส่ี มมติขนึ้ ลูกโลกจาลองจะแสดงเส้นเมริเดียนท่ีลากจากขวั้ โลกเหนอื สขู่ ั้วโลกใต้ และเส้นขนานท่ลี ากรอบ โลกขนานกับเสน้ ศนู ยส์ ตู ร เสน้ ท้งั สองมไี ว้เพื่อบอกพิกัดภมู ศิ าสตรเ์ ป็นค่าของละติจูด และลองจจิ ดู ของตาแหน่ง ตา่ งๆ ทีอ่ ยบู่ นพ้ืนผวิ โลก 1.3 รูปถ่ายทางอากาศ รปู ถา่ ยทางอากาศ คือ รูปที่ได้จากการถา่ ยทางอากาศ โดยผ่านเลนส์กล้องและฟลิ ม์ หรือข้อมูลเชิงเลข ซึง่ ถา่ ยด้วย กลอ้ งท่ีนาไปในอากาศยาน อนั ได้แก่ บลั ลูน เครอ่ื งบนิ เป็นตน้ ในสมยั ปจั จบุ ันมกี ารถา่ ยรูปทางอากาศจากยาน

อวกาศได้ด้วย ปกตกิ ารถา่ ยรปู ทางอากาศจะถ่ายจากเครอ่ื งบินที่มกี ารวางแผนการบิน และกาหนดมาตราสว่ นของแผน ท่มี าแลว้ เปน็ อยา่ งดี กลอ้ งถา่ ยรปู ทางอากาศคลา้ ยกับกลอ้ งถา่ ยรูปทั่วไปในอดีตแตม่ ีขนาดใหญ่กวา่ เลนสย์ าวกวา่ และ ใชฟ้ ิล์มขนาดใหญ่ ซึง่ ปกตจิ ะมขี นาดประมาณ 24 x 24 เซนติเมตร รูปถา่ ยทางอากาศจะให้ขอ้ มลู ท่ีค่อนข้าง ละเอยี ด นอกจากนี้ รูปถา่ ยทางอากาศมกี ารถา่ ยรปู ซอ้ นทับพ้ืนทบ่ี นรปู ทีต่ ่อเน่อื งกนั จงึ สามารถดูเป็นภาพสาม มิติ หรือทรวดทรงของผิวโลกได้ ซึ่งเปน็ ปัจจยั สาคญั ในดา้ นภมู ศิ าสตร์ 1) ประเภทของรปู ถ่ายทางอากาศ รูปถา่ ยทางอากาศ มี 2 ประเภทใหญๆ่ ตามลักษณะการถา่ ยรปู ดังนี้ 1.1) รูปถ่ายทางอากาศแนวด่งิ เป็นรปู ถ่ายทางอากาศทีถ่ ่ายรูปในแนวตง้ั ฉากกบั ผวิ โลกและไม่เห็นแนวขอบฟูา 1.2) รูปถา่ ยทางอากาศแนวเฉียง เป็นรปู ถ่ายที่เกิดจากการกาหนดแกนของกลอ้ งในลักษณะเฉยี ง แบ่ง ออกเปน็ 2 ชนิด คือ 1) รปู ถา่ ยทางอากาศแนวเฉยี งสงู ลักษณะรปู ถา่ ยจะเหน็ แนวขอบฟูาเปน็ แนวกว้างใหญ่ 2) รูปถา่ ยทางอากาศแนวเฉียงต่า เปน็ รปู ถ่ายทางอากาศทไี่ มป่ รากฏเส้นขอบฟูาในภาพรูปถา่ ยทางอากาศแนวเฉียงสูง และแนวเฉยี งตา่ ใชแ้ สดงภาพรวมของพ้นื ทแี่ ตม่ ีมาตราสว่ นบนรูปถา่ ยทางอากาศแตกตา่ งกนั รปู ถ่ายทางอากาศแนวดง่ิ มี มาตราส่วนในรปู ค่อนขา้ งคงท่ี จึงเปน็ ทีน่ ยิ มนามาใช้ทาแผนที่ 2) หลักการแปลความหมายจากรูปถ่ายทางอากาศ มหี ลักการ ดังนี้ 2.1) ความแตกตา่ งของความเขม้ ของสี วัตถุตา่ งชนดิ กันจะมีการสะทอ้ นคลืน่ แสงต่างกัน เช่น ดนิ แห้งท่ีไม่มตี น้ ไม้ ปกคลุมจะสะทอ้ นคล่ืนแสงมาก จึงมสี ีขาว นา้ ดูดซบั เคลอ่ื นแสงมากจะสะทอ้ นคลื่นแสงนอ้ ย จึงมีสีดา บ่อนา้ ต้นื หรือมี ตะกอนมากจะสะท้อนคล่นื แสงได้ดีกว่าบ่อนา้ ลึกหรอื เป็นนา้ ใส ปาุ ไม้หนาทึบจะสะท้อนคลนื่ แสงน้อยกว่าปาุ ไม้ถูก ทาลาย ดังนนั้ ปาุ ไมแ้ นน่ ทบึ จงึ มสี เี ขม้ กว่าปาุ ถกู ทาลาย เปน็ ต้น 2.2) ขนาดและรปู ร่าง เช่น สนามฟุตบอลรูปส่เี หลยี่ มผนื ผ้าขนาดใหญ่ เปน็ ต้น 2.3) เนือ้ ภาพและรูปแบบ เชน่ ปุาไมธ้ รรมชาตจิ ะมีเรือนยอดเปน็ จดุ เล็กบา้ งใหญ่บ้างมีระดบั สงู ตา่ และไมเ่ รยี งเป็น ระเบียบ ส่วนปุาปลกู จะมเี รือนยอดสงู ใกลเ้ คียงกนั ละเรียงเป็นระเบยี บ เป็นตน้ 2.4) ความสงู และเงา ในกรณที ่ีวตั ถุมคี วามสูง เช่น ต้นไม้สูง ตึกสูง เป็นต้น เมือ่ ถา่ ยรปู ทางอากาศในระดบั ไม่สงู

มาก และเป็นชว่ งเวลาเช้า หรือเวลาบา่ ยจะมีเงา ทาให้ช่วยในการแปลความหมายไดด้ ี 2.5) ตาแหนง่ และความสมั พนั ธ์ เชน่ เรือในแมน่ า้ เรือในทะเล รถยนต์บนถนน ตา่ งแสดงตาแหนง่ ความสมั พันธ์ซ่ึง กันและกัน เป็นต้น 2.6) ขอ้ มูลประกอบ เช่น ใช้แผนท่ีการใช้ทีด่ ิน แผนทป่ี ุาไมป้ ระกอบการแปลความหมายดา้ นการใช้ทด่ี นิ และปุา ไม้ เปน็ ตน้ 2.7) การตรวจสอบข้อมูล ผู้แปลจะตอ้ งมีความรทู้ ่จี ะนาองค์ประกอบมาผสมผสานกัน การตรวจสอบข้อมลู ภาคสนาม จะชว่ ยใหก้ ารแปลความหมายถกู ตอ้ งแม่นยา แตร่ ูปถา่ ยทางอากาศท่ีถา่ ยในชว่ งปที ีแ่ ตกตา่ งกนั จะชว่ ยทาให้เหน็ ลักษณะ การใช้ที่ดนิ ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งโดยกิจกรรมของมนษุ ยแ์ ละตามสภาพธรรมชาติ 3) ประโยชนข์ องรูปถ่ายทางอากาศ มีดงั นี้ 1. การสารวจและทาแผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ 2. การใช้ในกิจการทหารและความม่นั คงของประเทศ 3. การสารวจและติดตามการเปลย่ี นแปลงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. การสารวจและตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงพืน้ ทีก่ ารใชท้ ี่ดิน 5. การวางผงั เมอื งและการสารวจแหลง่ โบราณคดี 6. การสารวจและการตดิ ตามด้านยทุ ธศาสตรแ์ ละความมนั่ คงของชาติ 1.4 ภาพจากดาวเทียม

ดาวเทยี ม คอื วัตถุทมี่ นุษย์สร้างขน้ึ เลยี นแบบดาวบรวิ ารของดาวเคราะห์ เพอ่ื ใหโ้ คจรรอบโลกมีอุปกรณ์สาหรบั เก็บ รวบรวมข้อมลู เกี่ยวกบั อวกาศและถ่ายทอดข้อมูลน้ันมายงั โลก ดาวเทยี มทโี่ คจรรอบโลกใช้เปน็ อุปกรณโ์ ทรคมนาคม ด้วย เช่น ถา่ ยทอดคล่นื วทิ ยแุ ละโทรทศั นข์ ้ามทวีป หรอื ใชใ้ นการบนั ทกึ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งทีม่ นษุ ย์สรา้ งขึน้ บน แผ่นดินและผืนนา้ ขอ้ มูลจากดาวเทียม เปน็ สญั ญาณตัวเลขทีไ่ ดร้ ับ ณ สถานีรบั สัญญาณดาวเทยี มภาคพื้นดนิ ในประเทศไทยมีสถานีรับ สญั ญาณดาวเทยี มสารวจทรัพยากร ตัง้ อยู่ท่ีอาเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี และที่เขตลาดกระบัง กรงุ เทพมหานคร และมีสถานีรบั สญั ญาณของกรมอตุ นุ ิยมวทิ ยากระจายตามภูมภิ าคของประเทศ เม่อื สถานรี ับสญั ญาณ ภาคพื้นดินได้รบั ข้อมลู ตวั เลขท่สี ่งมาแล้ว จงึ แปลงตัวเลขออกเปน็ ภาพอกี คร้งั หนึ่ง ซึ่งเรียกวา่ ภาพจากดาวเทยี ม ที่ นาไปแปลความหมายตอ่ ไปไดใ้ นระบบคอมพวิ เตอรส์ ามารถนาข้อมูลตัวเลขมาวิเคราะห์เชงิ สถติ ิเพอื่ จัดกลมุ่ ข้อมูล ใหม่ ซึง่ เป็นการแปลความหมายอกี รปู แบบหน่งึ ได้ 1) ชนดิ ของดาวเทียม แบ่งออกได้ดงั น้ี 1.1) ดาวเทยี มอตุ นุ ยิ มวิทยา เป็นดาวเทยี มท่บี นั ทกึ ข้อมลู ด้านอุตุนยิ มวทิ ยาดาวเทียมบางดวงจะโคจรรอบโลกใน

อัตราเรว็ เทา่ กบั การหมนุ ของโลกและอยูใ่ นแนวตะวนั ออกตะวนั ตก เสมอ เชน่ ดาวเทยี ม GMS ดาวเทียม GOES เป็นตน้ ซ่งึ จะมีการบนั ทึกขอ้ มลู ภูมอิ ากาศเกอื บตลอดเวลา จึงเป็น ประโยชน์มากในการพยากรณอ์ ากาศและการเตือนภยั 1.2) ดาวเทียมสมทุ รศาสตร์ เปน็ ดาวเทียมที่บนั ทกึ ข้อมูลสมทุ รศาสตร์ เช่น ดาวเทียม SEASAT จะบนั ทึกข้อมูล ดา้ นสมทุ รศาสตร์ และดาวเทียม MOS (Marine Observation Satellite) นอกจากจะใชใ้ นการสารวจด้านสมทุ ร ศาสตรแ์ ล้ว ยงั นามาใชใ้ นการสารวจด้านสมทุ รศาสตรแ์ ลว้ ยังนามาใชใ้ นการสารวจบนแผ่นดนิ แตไ่ มเ่ ป็นท่ีนิยมมาก นัก เปน็ ตน้ 1.3) ดาวเทียมสารวจแผ่นดนิ เป็นดาวเทียมทีบ่ นั ทกึ ขอ้ มูลของผิวโลก จึงมีการนามาใชป้ ระโยชน์ มากมาย เชน่ ดาวเทยี มธีออส THEOS ดาวเทียมสารวจทรพั ยากรดวงแรกของไทย สว่ นดาวเทยี ม LANDSAT ของ สหรัฐอเมรกิ า ดาวเทียม SPOT ของประเทศฝรัง่ เศส ดาวเทยี ม ERS ของกลุ่มประเทศ ยุโรป ดาวเทียม RANDARSAT ของประเทศแคนาดา เปน็ ตน้ 1.4) ดาวเทยี มส่อื สาร เป็นดาวเทยี มเพอ่ื การติดต่อส่ือสารและโทรคมนาคม เช่น การรบั ส่งสญั ญาณ โทรศพั ท์ โทรสาร ขา่ วสาร ภาพโทรทัศน์ รายการวทิ ยุ ขอ้ มูลข่าวสาร คอมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น ดาวเทยี มสอ่ื สารเปน็ ดาวเทยี มคา้ งฟูาที่อยคู่ งทบี่ นฟูาของประเทศใดประเทศหน่งึ ตลอดเวลา โดยหลายประเทศจะมีดาวเทยี มสอ่ื สาร ภายในประเทศของตนเอง เชน่ ประเทศไทยมดี าวเทยี มไทยคม ประเทศญ่ปี นุ มดี าวเทียมซากรุ ะ ประเทศฝรง่ั เศสมี ดาวเทยี มยูริสหรัฐอเมรกิ ามดี าวเทียมเวสดาร์ แคนาดามีดาวเทยี มแอนคิ เปน็ ตน้ 1.5) ดาวเทยี มเพ่ือกาหนดตาแหน่งบนพ้ืนโลก เปน็ ดาวเทียมที่ใช้ในการสารวจหาตาแหน่งของวตั ถบุ นพืน้ โลก ซง่ึ สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้หลายดา้ น เช่น เป็นเคร่ืองมือนาร่องยานพาหนะต่างๆ จากทีห่ นง่ึ ไปสู่อีกทหี่ นง่ึ การ กาหนดตาแหน่งเพ่อื วางแผนก่อสร้างระบบสาธารณปู โภค การหาตาแหน่งของสถานท่ที ต่ี ้องการเดินทางไปโดยใช้ ระยะทางทส่ี ั้นทีส่ ดุ เปน็ ต้น 1.6) ดาวเทียมเพอ่ื กจิ การทหาร เป็นดาวเทียมท่ใี ชใ้ นภารกจิ ของทหาร การถา่ ยภาพจากกรรมความลบั ของ ข้าศกึ การศกึ ษาแนวพรมแดน การกาหนดเปาู โจมตีทางทหาร ดาวเทียมทหารมักจะเป็นความลับของทุก ประเทศ และดาวเทยี มท่ัวไปก็อาจมีการตดิ ต้ังอุปกรณพ์ เิ ศษเสริมเพื่อใชง้ านทางทหาร เชน่ การใชด้ าวเทียมสอื่ สารใน การติดตอ่ ระหว่างกองทัพกับฐานทัพ การใชด้ าวเทยี มอุตนุ ยิ มวทิ ยาในการสารวจอากาศท่ีเหมาะสมสาหรับการ ปฏบิ ัติการทางทหารต่างๆ เป็นต้น

2) การแปลความหมายภาพจากดาวเทยี ม สามารถทาได้ ดงั น้ี 2.1) ในกรณที ่ีพิมพ์ข้อมูลเป็นภาพพิมพ์ อาจจะเปน็ ภาพขาว – ดา หรอื ภาพสี จะแปลความหมายโดยใชว้ ิธีเดยี วกับ การแปลความหมายจากรูปถา่ ยทางอากาศ 2.2) ในกรณีทีเ่ ปน็ ข้อมูลตวั เลข ขอ้ มลู ตัวเลขทีไ่ ด้จากดาวเทยี มจะถกู แปลงเปน็ ภาพอีกครั้งหน่ึง โดยใช้เครอื่ ง คอมพิวเตอร์ที่มโี ปรแกรมเฉพาะในการแปลความหมาย อาจจะให้เคร่อื งคอมพิวเตอรแ์ ละโปรแกรมช่วยจัดกลุ่มข้อมลู ตามหลักสถิติ แล้วจงึ กาหนดกลุ่มข้อมูลตามวัตถุประสงค์ตอ่ ไป 3) ประโยชน์ของข้อมลู จากจานดาวเทียม ขอ้ มูลจากดาวเทยี มมีประโยชน์ ดงั น้ี 3.1) ดา้ นการจัดการทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม หลงั จากท่ีได้มกี ารศึกษาและวางแผนอย่างมรี ะบบ และไดม้ กี าร ดาเนนิ งานในพ้ืนที่แลว้ เช่น พื้นทท่ี ่คี วรคืนสภาพปุา พ้ืนที่ทีอ่ นญุ าตให้ตดั ไม้ จาเปน็ ต้องมวี ิธีการจดั การอย่าง ตอ่ เนือ่ ง เชน่ การเขา้ ไปสังเกตการณ์ การตรวจวดั หรือตรวจสอบ แต่ถา้ พืน้ ทนี่ ัน้ เป็นพืน้ ที่ท่มี ขี นาดใหญ่ การตดิ ตาม ตรวจสอบทาไดย้ ากและมคี ่าใชจ้ ่ายสงู จึงมีการนาข้อมูลจากดาวเทียมมาใช้ ตัวอย่างเช่น จากการสารวจพบว่าในปี พ.ศ. 2516 ไทยมีพ้ืนที่ปาุ ไม้รอ้ ยละ 43.21 ของพืน้ ทปี่ ระเทศ แต่ใน ปี พ.ศ. 2536 ลดลงเหลอื เพียงรอ้ ยละ 26.02 ของพนื้ ทปี่ ระเทศ จากข้อมูลนี้จงึ ทาใหม้ ีการรณรงค์เพื่อรักษาพ้ืนท่ปี ุา ไม้ให้มากขึน้ เปน็ ตน้ นอกจากนี้ขอ้ มลู จากดาวเทยี มยงั ใชใ้ นการศกึ ษาตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงพนื้ ท่ปี าุ ไม้ โดยเฉพาะ ปุาตน้ น้าลาธาร สารวจพ้ืนทป่ี าุ ทีอ่ ดุ มสมบรู ณแ์ ละปาุ เส่ือมโทรมทั่วประเทศ ศกึ ษาไฟปุา หาพนื้ ทที่ ี่เหมาะสาหรบั การ ปลูกสร้างสวนปุาแทนบริเวณท่ีถูกบกุ รุก 3.2) ด้านการทาแผนที่ ข้อมลู จากดาวเทียมสามารถนามาสร้างเปน็ แผนทเี่ ฉพาะเรอื่ ง เช่น แผนที่ธรณีวทิ ยา แผน ทดี่ นิ เป็นต้น ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงชา้ และข้อมลู บางชนิดทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงรวดเร็ว เชน่ การเคล่ือนยา้ ยของ สตั วป์ ุา การใชท้ ด่ี นิ เปน็ ต้น สาหรบั ในประเทศไทยยงั มกี ารใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู จากดาวเทยี มคอ่ นข้างจากดั สาหรบั การจดั ทาแผนทเ่ี ฉพาะเรื่อง บทบาทสาคัญของขอ้ มลู ดาวเทยี มจึงใชใ้ นการปรบั ปรงุ แผนทีเ่ ดิมท่ีมอี ยแู่ ลว้ เช่น การ ปรับปรุงแผนท่ภี มู ปิ ระเทศ การเปลีย่ นแปลงการใชท้ ่ีดนิ เปน็ ตน้ ข้อมูลสว่ นใหญไ่ ดจ้ ากดาวเทียมสารวจทรัพยากรท่ี สาคญั เชน่ ดาวเทียม LANDSAT ดาวเทียม SPOT และ MOS-1 เปน็ ต้น 3.3) ด้านอุตนุ ิยมวิทยา ขอ้ มูลจากดาวเทยี มสามารถนามาใชใ้ นการติดตามลกั ษณะอากาศในชว่ งเวลา ตลอด 24 ชวั่ โมง ทาให้การพยากรณอ์ ากาศมีความถกู ตอ้ งแมน่ ยาและทนั เหตุการณ์

ขอ้ มูลจากดาวเทียมมปี ระโยชนอ์ ยา่ งยิ่งในการปูองกนั และเตือนภัยพิบัติ ลดความสญู เสียท่เี กิดจากสภาพอากาศท่ี เปล่ียนแปลง เช่น การเกิดฝนฟูาคะนอง การเคลอ่ื นตัวของพายุ การเกิดนา้ ท่วม เปน็ ต้น ทาใหส้ ามารถวางแผนการ ช่วยเหลอื และฟน้ื ฟูได้อย่างเหมาะสม ในปจั จบุ นั ดาวเทยี มมบี ทบาทมากขึ้นในหลายด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านความบันเทิง ดา้ นการติดต่อส่อื สาร ดา้ น ธรณีวิทยา ดา้ นกรมอุตนุ ยิ มวิทยา หรือแม้แต่ดา้ นโทรคมนาคม และดาวเทียมก็ยงั ถกู พัฒนาต่อไปอย่างไมห่ ยดุ ยั้ง จน กา้ วไปสรู่ ะบบอุตสาหกรรมดาวเทียม บทที่ 1 เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook