Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือพิมพ์วิชาประกัน

หนังสือพิมพ์วิชาประกัน

Published by รัตนา อนันต์ชื่น, 2021-07-14 16:54:40

Description: หนังสือพิมพ์วิชาประกัน

Search

Read the Text Version

คณะศึกษาศาสตร์ มกช.ยะลา แนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั การจดั การประกันคุณภาพ การศกึ ษา [email protected] /Phone 07-1542-1966 อ่านตอ่ หน้า 14 กฎหมายที่เกยี่ ว อ่านตอ่ หน้า 14 ขอ้ งกับการประกัน คุณภาพการศึกษา อา่ นต่อหน้า 7 เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการ รปู แบบของการประกนั QA: Quality Assurance หมายถงึ การกระทาทมี่ กี ารวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ ประกันคุณภาพฯ คณุ ภาพการศึกษาตาม อยา่ งมรี ะบบ เพื่อใหเ้ กิดความมัน่ ใจได้ว่าผลิตภัณฑ์หรอื บริการจะมาสามารถ มาตรฐานการศึกษาแตล่ ะ ตอบสนองความต้องการทางด้านคณุ ภาพได้ตามตกลง ซ่งึ การประกนั คุณภาพ ระดับ นเี้ ปน็ สิง่ ทช่ี ่วยสรา้ งความม่ันใจให้กบั ลกู คา้ ว่าจะไดร้ บั สนิ ค้าและบริการทม่ี ี อา่ นตอ่ หนา้ 5 อา่ นต่อหน้า 8 คุณภาพเท่าน้นั ระบบและกระบวนการ ประกนั คุณภาพ พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาการศกึ ษา อ่านต่อหนา้ 6 แห่งชาติ พ.ศ. 2542หลักการจดั การ ประกันคณุ ภาพ คมุณาตภราฐพานทาแงกลาะกรศารกึ ปษราะกัน (มาตรา 47 - 51) หมวดที่ 6การศึกษา การจดั กิจกรรม อา่ นตอ่ หน้า 7 การเรยี นรู้ อา่ นต่อหน้า 2 การบรหิ ารงาน ไดแ้ ก่ Plan คณุ ภาพ ย่อมาจาก (วางแผน), PDCA Do (ปฏิบตั ิ), Check (ตรวจสอบ) อา่ นต่อหน้า 4 4 คา ซง่ึ สามารถ และ Act (การ แนวปฏบิ ตั กิ าร ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2561 และ ประยกุ ตใ์ ช้ได้กบั ดาเนินการให้ ดาเนนิ งาน แนวทางการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐาน เหมาะสม) พ.ศ.2561” ออ่าา่นนตตอ่ ่อหหนน้าา้ 24 ทุก ๆ เร่ือง การนาผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาไปใช้ เป็นการสรา้ งความมนั่ ใจใหผ้ รู้ บั บรกิ ารการศกึ ษา ทงั้ ยงั เป็นการป้องกนั การจดั อา่ นต่อหน้า 9 การตรวจสอบและการประเมนิ การ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา อ่านต่อหนา้ 2 การประกันคุณภาพการศึกษาจงึ เป็นการ การประเมนิ ภายใน (Internal Evaluation) บรหิ ารจัดการและการดาเนินกจิ กรรมตาม เปน็ ประบวนการประเมินผลการดาเนินงานของ ภารกจิ ปกตขิ องสถานศึกษาเพ่อื พัฒนา หน่วยงานท่กี ระทาโดยบุคลากรในหน่วยงาน หรือผู้ คุณภาพของผเู้ รียนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทีเ่ ก่ียวข้อง อยา่ งต่อเนื่อง

ต่อจากหนา้ 1 การพฒั นาและการปรบั ปรุงคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา โดย… 1. ปรับปรุง แกไ้ ขการปฏบิ ตั ิงานทพี่ บว่าไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน และมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา 2. ตดิ ตาม ตรวจสอบแก้ไขปรับปรุงการปฏิบตั ิงานทีไ่ มเ่ ป็นไปตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านและมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตามระยะเวลาที่เหมาะสมท่ีผูป้ ฏบิ ัติไดก้ าหนดไว้วา่ จะแกไ้ ขเสร็จ ท้ังน้ี เพ่อื ให้แน่ใจว่า ข้อบกพรอ่ งทพี่ บ ไดร้ ับการแก้ไขอย่างจริงจัง 3. สรปุ ผลการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยการจัดทารายงานผลการ ประเมนิ ตนเอง (SAR) 4. สาหรบั งานท่ีมคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานทก่ี าหนดไว้ ใหพ้ ฒั นาการปฏิบัติงานใหม้ ีประสิทธิภาพดี ยิง่ ๆ ข้ึนตอ่ ไป

  

ตอ่ จากหนา้ 1

ตอ่ จากหนา้ 1 การประเมนิ ภายในสถานศึกษา การประเมินภายใน (Internal Evaluation) เปน็ ประบวนการประเมินผลการดาเนินงาน ของหนว่ ยงานท่กี ระทาโดยบุคลากรใน หนว่ ยงาน หรอื ผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ ง อย่างตอ่ เนือ่ ง เพื่อให้ได้ขอ้ มลู มาใชใ้ นการปรับปรุง พฒั นาการดาเนนิ งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายท่ี กาหนดไว้ ซ่งึ การประเมินภายในน้ถี อื เป็น กระบวนการตรวจสอบการทางานของตนเอง (Self-evaluation) สถานศึกษา ควรกาหนดให้ การประเมนิ ภายใน เป็นกิจกรรมหน่งึ ทตี่ ้อง ปฏิบตั ิอย่างต่อเน่ืองของสถานศกึ ษา และถา้ โรงเรียนจัดทามาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านแล้ว ดงั นน้ั ในการประเมนิ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ของโรงเรียนควรดาเนนิ การประเมนิ 2 ลกั ษณะ ได้แก่ 1. ประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานตาม มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 2. ประเมินการปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐาน การปฏิบัติงานของทุกฝา่ ยในโรงเรียน เพื่อให้ โรงเรยี นมกี ารดาเนินงานมีคณุ ภาพอย่าง สมา่ เสมอ

ตอ่ จากหนา้ 1



ตอ่ จากหนา้ 1 ความสาคญั และความจาเปน็ ในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษา เป็นข้อกาหนดเกีย่ วกบั คุณลกั ษณะและคณุ ภาพท่พี ึงประสงค์ท่ี ต้องการใหเ้ กิดขน้ึ ในสถานศกึ ษาทุกแห่ง มาตรฐานถูกกาหนดขึ้นเพอ่ื ใช้เป็นหลกั เทยี บเคียงสาหรับการสง่ เสริมและกากับดแู ล การตรวจสอบ การประเมนิ ผลและการ ประกันคณุ ภาพการศึกษา (สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน, 2548) มาตรฐานในบรบิ ทนี้จงึ เป็นมาตรฐานทม่ี งุ่ เนน้ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโดยองค์ รวม การกาหนดให้มมี าตรฐานการศึกษาทาให้เกดิ โอกาสทเี่ ทา่ เทยี มกันในการพฒั นา คณุ ภาพเพราะสถานศึกษาทุก แห่งรู้ว่าเป้าหมายการพัฒนาท่ีแทจ้ ริงอย่ทู ่ีใด การ กาหนดใหม้ ีมาตรฐานการศึกษาจงึ เปน็ การใหค้ วามสาคญั กบั การจดั การศกึ ษา 2 ประการ ไดแ้ ก่ 1. สถานศึกษาทุกแหง่ มเี กณฑเ์ ปรยี บเทยี บกับมาตรฐานซงึ่ เปน็ มาตรฐาน เดยี วกัน 2. มาตรฐานทาให้สถานศกึ ษาเข้าใจชดั เจนวา่ จะพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาไปใน ทิศทางใด นอกจากนี้ การกาหนดมาตรฐานยงั เป็นการกาหนดความคาดหวงั ทช่ี ดั เจนให้กบั ครู ผูบ้ รหิ าร พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ชมุ ชนและ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทม่ี ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งในการจดั การศึกษา ซ่ึงเปน็ แนวทางหนง่ึ ในการรว่ มมือรวมพลงั เพ่ือใหเ้ กิดคณุ ภาพการศึกษา ตามเป้าหมายทกี่ าหนด มาตรฐานการศกึ ษาจึงเป็นจดุ เริ่มต้นของการพัฒนาทนุ มนุษย์ และ เปน็ เปา้ หมายสาคัญที่สดุ ท่ผี มู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งทกุ ฝ่าย ทุกคนตอ้ งรบั รู้และ ปฏบิ ัตงิ านในหน้าทีท่ ่ีรบั ผดิ ชอบให้ บรรลถุ งึ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาท่ี กาหนดและรว่ มรับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศกึ ษาที่เกิดขึน้ (accountability) มปี ระโยชนต์ อ่ บคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี 1. ผเู้ รยี น ทาให้เกิดการปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเองตามความคาดหวังของสังคมและ ประเทศชาตวิ ่า ตอ้ งการคนท่มี คี ุณลักษณะท่พี งึ ประสงคอ์ ยา่ งไร จะทาอยา่ งไรจึงจะ เปน็ ผ้มู คี ุณสมบัติตามทีม่ าตรฐานการศึกษา กาหนด 2. ครู ใช้มาตรฐานเปน็ กรอบแนวทางในการออกแบบการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี น เปน็ สาคญั และเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองตามคุณลกั ษณะและคณุ สมบตั ิตาม มาตรฐานท่กี าหนดเพื่อใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามท่มี าตรฐานกาหนดไว้ 3. ท้องถนิ่ และสถานศึกษา ใชม้ าตรฐานเปน็ แนวทางร่วมมือกนั ในการจัดการศึกษา ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามทต่ี ง้ั ไว้ 4. พ่อแมผ่ ้ปู กครอง ประชาชนและผนู้ าชมุ ชน ใชม้ าตรฐานเปน็ เครื่องมอื สอื่ สารให้ ประชาชนได้รับทราบกระบวนการจดั การศึกษา การจัดการเรยี นการสอนท่ีจะทาให้ คนไทยในท้องถ่นิ เข้าใจและเข้ามามสี ว่ นร่วมเพือ่ ใหก้ ารจดั การศึกษาชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพผู้เรียนใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานท่ีกาหนด 5. ประเทศชาติ ใช้มาตรฐานเปน็ เคร่อื งมือทที่ าให้ทกุ องค์กรประกอบของระบบ การศกึ ษาขบั เคลอ่ื น ไปพรอ้ ม ๆ กนั สู่เปา้ หมายเดียวกนั และทาใหเ้ กิดภาพการจดั การศกึ ษาที่มีความหมาย

จดั ทาสารสนเทศ หรอื ขอ้ มลู พนื้ ฐานสภาพปจั จบุ นั ของสถานศึกษา โดยนาผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาจัดทาขอ้ มูลพน้ื ฐานแสดงผลการ ปฏบิ ัตงิ านของสถานศกึ ษา โดยจดั กลุ่มของขอ้ มลู ตามมาตรฐานและตวั ช้ีวดั คณุ ภาพการศกึ ษาของ สถานศกึ ษา

ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การตรวจประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา การตรวจประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา จะประสบความสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงคข์ องการ ประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา หรือไม่ ขน้ึ อยกู่ บั ปัจจยั ตอ่ ไปนี้ 1. การใหก้ ารสนบั สนนุ ของฝ่ายบรหิ ารของสถานศกึ ษา ระหว่างทท่ี าการตรวจประเมนิ 2. ความพรอ้ มของบุคลากร และหลักฐานต่าง ๆ เพ่ือรบั การตรวจ ตลอดจนสงิ่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การตรวจประเมนิ 3. ความชดั เจนของอานาจหนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบ รวมทง้ั ความเปน็ อสิ ระของคณะผ้ตู รวจประเมิน 4. ความรว่ มมอื ของผรู้ ับการตรวจประเมิน 5. ความถูกตอ้ ง ชดั เจนของการรายงานผลการตรวจประเมิน ซึง่ ตอ้ งรายงานผลการตรวจประเมนิ ให้ ผู้บรหิ าร และผรู้ บั การตรวจประเมนิ ทราบ 6. การดแู ลของฝา่ ยบริหาร เพอื่ ใหม้ กี ารแก้ไขข้ ้อบกพรอ่ ง หรอื สง่ิ ท่ียังไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานทพ่ี บ ระหว่างการตรวจประเมนิ 7. มวี ธิ ีการตรวจสอบการแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งทีเ่ หมาะสม

การดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา มี ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. ทบทวนการประกนั คุณภาพการศึกษา โดย ทบทวนงานต่าง ๆ ทีส่ ถานศกึ ษาไดท้ าการ วางแผนไวใ้ ห้ทุกคนเขา้ ใจ และนาไปปฏบิ ตั ิ 2. ปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของ สถานศึกษา และตามแผนปฏิบตั ริ าชการของ สถานศึกษาโดยดาเนินการ ดังนี้ 2.1 ใหผ้ เู้ กีย่ วข้องและผ้รู บั ผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ าน ตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศึกษาท่ี รับผดิ ชอบ และปฏิบตั งิ านตามแผน/โครงการ ที่ รบั ผิดชอบใหเ้ ตม็ ความสามารถ พร้อมเกบ็ รวบรวมหลักฐานการปฏบิ ตั งิ านไว้อย่างเปน็ ระบบ ท่คี น้ หางา่ ย รวดเร็ว 2.2 ตดิ ตามการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานการ ปฏบิ ัตงิ าน และตดิ ตามการทางานตามโครงการ ท่ไี ด้รับมอบหมาย 2.3 แก้ไข ปรบั ปรงุ ข้อบกพรอ่ งทพ่ี บจากการ ติดตามการปฏบิ ตั งิ าน 3. นเิ ทศ กากับ ตดิ ตามผลการดาเนินงานตาม มาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ระหวา่ งที่ทุกฝ่ายของสถานศึกษาไดด้ าเนินงาน ไป ขณะเดียวกัน กช็ ่วยกันแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดขน้ึ ให้สาเรจ็ ลลุ ว่ งไป เพอ่ื ให้คณุ ภาพของ สถานศกึ ษาเข้าสูม่ าตรฐานทีก่ าหนดไว้เรว็ ข้ึน

มาตรฐานการศึกษามีประโยชน์ต่อบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ดงั นี้ 1. ผเู้ รียน ทาใหเ้ กดิ การปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเองตามความ คาดหวงั ของสงั คมและประเทศชาตวิ า่ ตอ้ งการคนทม่ี ี คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคอ์ ยา่ งไร จะทาอยา่ งไรจงึ จะเป็นผมู้ ี คณุ สมบตั ิตามท่ีมาตรฐานการศึกษากาหนด 2. ครู ใชม้ าตรฐานเป็นกรอบแนวทางในการออกแบบการเรียน การสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั และเป็นแนวทางในการ พฒั นาตนเองตามคณุ ลกั ษณะและคณุ สมบตั ติ ามมาตรฐานท่ี กาหนดเพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีคณุ ภาพ ตามที่มาตรฐานกาหนดไว้ 3. ท้องถิ่นและสถานศึกษา ใชม้ าตรฐานเป็นแนวทางร่วมมอื กนั ในการจดั การศึกษาให้บรรลเุ ป้าหมาย ตามทต่ี งั้ ไว้ 4. พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง ประชาชนและผนู้ าชมุ ชน ใชม้ าตรฐานเป็น เคร่อื งมอื ส่อื สารใหป้ ระชาชนไดร้ บั ทราบกระบวนการจดั การศกึ ษา การจดั การเรียนการสอนท่ีจะทาให้คนไทยใน ท้องถ่ินเข้าใจและเข้ามามสี ่วน รว่ มเพ่ือให้การจดั การศกึ ษาช่วยยกระดบั คณุ ภาพผเู้ รียนใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน ทก่ี าหนด 5. ประเทศชาติใช้มาตรฐานเป็นเครือ่ งมอื ที่ทาให้ทกุ องคก์ ร ประกอบของระบบการศึกษาขบั เคลื่อน ไปพรอ้ ม ๆ กนั สู่ เป้าหมายเดยี วกนั และทาใหเ้ กดิ ภาพการจดั การศกึ ษาทม่ี ี ความหมาย

การตัดสินคุณภาพของผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน สถานศึกษา จึงมีการพิจารณาตัดสนิ คุณภาพและ มาตรฐาน ใน 3 ระดับ คือ 1. การตดั สนิ คุณภาพ ระดับตวั บง่ ชี้ 2. การตัดสินคุณภาพ ระดบั มาตรฐาน 3. การตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั สถานศกึ ษา

ตอ่ จากหนา้ 1 อ่านตอ่ หนา้ 15

ต่อจากหนา้ 14 • • • •

มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั พ.ศ. 2561 มี จานวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการ จัดการ มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี น้นเดก็ เปน็ สาคัญ • • • •
















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook