Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้

Description: 301

Keywords: ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้

Search

Read the Text Version

´Ã.¡Í‹ §¡Ò¹´ÒªÂÒÁĵ â¤áú§º¡ºÒÃÙú³ÃÒËÔ¡ÒÒÃèѴྡÍè×Òá¤ÒÃÇÍÒÁ¹ËØÃÑ¡ÅÉҡᏠËÅÅоÒ²ѷ¹Ò§Ò¡ªÒÇÕÃÀãÒª¾»Œ ´ÃҌ й⻪҆ ¹äÁÍጠÂŋҧÐÊÂè§ÑµÑÂÇ×¹» ҆ ¡ÃÁÍ·ØÂÒ¹áˋ§ªÒµÔʵÑǏ»†ÒáÅо¹Ñ¸Ø¾×ª

คำนำ หนังสือ “ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้” ที่จัดทำขึ้นนี้ อยู่ภายใต้โครงการบริหาร จัดการความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้และสัตว์ป่า แบบบูรณาการเพื่อการอนุรักษ์ และพัฒนาการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ผู้ที่จะดำเนินการด้าน ความหลากหลายทางชีวภาพด้านพืช ได้ใช้ประโยชน์ในการจำแนกพืช เรียบเรียงโดย ดร.ก่องกานดา ชยามฤต ผู้ปฏิบัติงานด้านอนุกรมวิธานพืชของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ขึ้น โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนองค์ความรู้ที่จำเป็นในการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งประเทศไทยจัดได้ว่าเป็นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงประเทศหนึ่งโดยเฉพาะ ทรัพยากรพืช หนังสือเล่มนี้จะทำให้ผู้ที่สนใจศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพืชได้ใช้ในการจำแนกพืช ได้ในระดับหนึ่ง เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้จะบรรยายลักษณะที่สำคัญประจำวงศ์พรรณไม้ เลือกเฉพาะวงศ์ที่พบในประเทศไทย เป็นจำนวนทั้งสิ้น 55 วงศ์ มีภาพสีตัวอย่างของ พรรณไมใ้ นแตล่ ะวงศ์ เพอ่ื เพม่ิ ความชดั เจนแกผ่ อู้ า่ น ประกอบดว้ ยคำบรรยายงา่ ย ๆ ทค่ี นทว่ั ไป ก็สามารถเข้าใจได้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงหวังว่าหนังสือ “ลักษณะประจำวงศ์ พรรณไม้” นี้ จะได้ก่อประโยชน์ในการจำแนกพรรณไม้ และใช้ในงานภาคสนามได้เป็นอย่างดี ในโอกาสน้ี ขอขอบคณุ ดร. กอ่ งกานดา ชยามฤต และคณะ ทไ่ี ดร้ ว่ มกนั จดั ทำหนงั สอื เลม่ นข้ี น้ึ (นายสวุ ชั สงิ หพนั ธ)์ุ อธบิ ดกี รมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื

คำนำของผเู้ ขยี น หนังสือเล่มนี้อาจนับได้ว่าเป็นตอนต่อจากหนังสือคู่มือจำแนกพรรณไม้ ที่ผู้เขียน ได้จัดทำขึ้นในปี 2542 เนื่องจากเป็นหนังสือที่จะใช้ในการจำแนกพรรณไม้ได้อีกเล่มหนึ่ง หนังสือเล่มนี้ได้บรรยายถึงลักษณะประจำวงศ์ของพรรณไม้ และลักษณะเด่นที่เห็นได้ชัด ของพืชแต่ละวงศ์ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงพืชวงศ์ใกล้เคียงที่มีลักษณะคล้ายกัน แต่มี ลักษณะใดที่แตกต่างกันออกไป หนังสือเล่มนี้พยายามใช้คำบรรยายง่าย ๆ ให้ผู้ที่มีความรู้ด้านพฤกษศาสตร์ เพียงเล็กน้อยก็สามารถเข้าใจได้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นสื่อ ให้ผู้คนหันมาสนใจกับธรรมชาติรอบตัว และมีความรู้สึกอยากเรียนรู้ทำความรู้จักกับพรรณไม้ ใหม้ ากขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรกั ความผกู พนั กบั ธรรมชาติ มจี ติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษพ์ รรณพชื ตอ่ ไป (ดร.ก่องกานดา ชยามฤต) กมุ ภาพนั ธ์ 2548

วงศ์กระแจะ สารบญั หนา้ วงศ์กระดูกไก่ วงศ์กระทงลอย ชอ่ื วงศภ์ าษาไทย 78 วงศ์กระทืบยอด 54 วงศ์ก่วม 68 วงศ์พุทรา 90 วงศ์กะตังใบ 41 วงศ์โพกริ่ง 92 วงศ์กำยาน 48 วงศ์มณเฑียรทอง 38 วงศ์กุ่ม 72 วงศ์มะกอกพราน 42 วงศ์กุหลาบป่า 14 วงศ์มะดูก 16 วงศ์ไก่ฟ้า 60 วงศ์มะพอก 98 วงศ์เข็ม 94 วงศ์มะม่วง 64 วงศ์คางคาก 34 วงศ์มะยมหิน 50 วงศ์ค่าหด 52 วงศ์มะรุม 84 วงศ์คำแสด 22 วงศ์มุ่นดอย 61 วงศ์แคหางค่าง 80 วงศ์ละมุด 20 วงศ์โคลงเคลง 67 วงศ์ลินิน 86 วงศ์จิก 55 วงศ์เล็บครุฑ 82 วงศ์ชะคราม 25 วงศ์สนุ่น 49 วงศ์ต่างไก่ป่า 28 วงศ์ส้ม 44 วงศ์ตีนเป็ด 62 วงศ์สมพง 36 วงศ์ทานตะวัน 58 วงศ์สมอ 73 วงศ์เทียนน้ำ 40 วงศ์สายน้ำผึ้ง 32 วงศ์น้ำใจใคร่ 74 วงศ์สุมต้น 12 วงศ์นุ่น 18 วงศ์หญ้างวงช้าง 96 วงศ์เน่าใน 46 วงศ์เหงือกปลาหมอ 76 วงศ์บานเย็น 26 วงศ์เหมือด 56 วงศ์ใบพาย 70 วงศ์เหมือดคน 88 วงศ์ผักหวาน 30 วงศ์อบเชย 65 วงศ์ฝ้ายคำ 24 วงศ์อัสดง 100 66 วงศ์เอี้ยบ๊วย 113 99 ภาคผนวก 69 บรรณานกุ รม 43

Acanthaceae สารบญั หน้า Aceraceae Anacardiaceae ชอ่ื วงศภ์ าษาองั กฤษ 58 Apocynaceae 60 Aquifoliaceae 12 Lecythidaceae 61 Araliaceae 14 Leeaceae 62 Aristolochiaceae 16 Linaceae 64 Balsaminaceae 18 Melastomataceae 65 Bignoniaceae 24 Moringaceae 66 Bixaceae 20 Myricaceae 67 Bombacaceae 22 Nyctaginaceae 68 Boraginaceae 26 Nyssaceae 70 Capparaceae 28 Ochnaceae 69 Caprifoliaceae 25 Olacaceae 72 Celastraceae 30 Opiliaceae 73 Chenopodiaceae 32 Oxalidaceae 74 Chloranthaceae 34 Pittosporaceae 76 Chrysobalanaceae 36 Polygalaceae 78 Cochlospermaceae 38 Proteaceae 80 Combretaceae 40 Rhamnaceae 82 Compositae 41 Rubiaceae 98 Crypteroniaceae 42 Rutaceae 86 Datiscaceae 43 Sabiaceae 84 Elaeocarpaceae 44 Salicaceae 88 Ericaceae 46 Sapotaceae 90 Hernandiaceae 48 Saxifragaceae 92 Juglandaceae 49 Scrophulariaceae 94 Lauraceae 50 Staphyleaceae 96 52 Styracaceae 99 54 Symplocaceae 55 Violaceae 56

สารบญั ภาพ หน้า กระจบั นก Euonymous cochinchinensis Pierre 39 กระเชา้ ถงุ ทอง Aristolochia pothieri Pierre ex Lecomte 23 กระเชา้ ผมี ด Aristolochia tagala Cham. 23 กระเชา้ ภเู กต็ Aristolochia curtisii King 23 กระดมุ ทอง Melampodium divaricatum (Pers.) DC. 47 กระโดน Careya sphaerica Roxb. 59 กระทงลอย Crypteronia paniculata Blume 48 กระทบื ยอด Biophytum sensitivum (L.) DC. 72 กระทมุ่ นา Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil. 81 กว่ มขาว Acer laurinum Hassk. 15 กว่ มแดง Acer calcaratum Gagnep. 15 กว่ มภคู า Acer wilsonii Rehder 15 กะตงั ใบ Leea indica (Burm.f.) Merr. 60 กะตงั ใบแดง Leea rubra Blume ex Spreng. 60 กะอวม Acronychia pedunculata (L.) Miq. 83 กำแพงเจด็ ชน้ั Salacia chinensis L. 39 กำยาน Styrax benzoides Craib 95 กมุ่ บก Crateva adansonii DC. subsp. trifoliata (Roxb.) Jacobs 35 กหุ ลาบแดง Rhododendron simsii Planch. 53 กหุ ลาบพนั ปี Rhododendron arboreum Sm. subsp. delavayi (Franch.) Champ. 53 ไขข่ าง Senecio craibianus Hosseus 47 คดสงั Combretum trifolium Vent. 45 คอรเ์ ดยี Cordia sebestina L. 33 คนั ทรง Colubrina asiatica L. ex Brongn. 79 คางคาก Nyssa javanica (Blume) Wangerin 67 คา่ หด Engelhardtia spicata Blume var. spicata 55 คำเตย้ี Polygala chinensis L. 75 คำปา่ Reinwardtia indica Dumort. 61 คำแสด Bixa orellana L. 25 คยุ Willughbeia edulis Roxb. 19 แคชาญชยั Radermachera glandulosa (Blume) Miq. 29 แคทราย Stereospermum neuranthum Kurz 29 แคสนั ตสิ ขุ Santisukia kerrii (Barnett & Sandwith) Brummitt 29

สารบญั ภาพ หน้า แคแสด Spathodea campanulata P. Beauv. 29 แคหวั หมู Markhamia stipulata Seem var. stipulata 29 โคลงเคลงยวน Melastoma saigonense (Kuntze) Merr. 63 งวงชา้ งทะเล Argusia argentea (L.f.) Heine 33 งา้ ว Bombax anceps Pierre 31 งว้ิ Bombax cieba L. 31 งว้ิ (ดอกเหลอื ง) Bombax cieba L. 31 เงาะปา่ Sloanea sigun (Blume) K. Schum. 51 จกิ เขา Barringtonia pendula (Griff.) Kurz 59 จกิ นมยาน Barringtonia macrocarpa Hassk. 59 จกิ นา Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. 59 ชมพเู ชยี งดาว Pedicularis siamensis Tsoong 91 ชะคราม Suaeda maritima (L.) Dumort. 40 ชนั รจู ี Parishia insignis Hook.f. 17 ชา้ งนา้ ว Ochna integerrima (Lour.) Merr. 68 ชงิ ช่ี Capparis micracantha DC. 35 ดอกสามสี Rhododendron lyi H. L v ตะลงิ ปลงิ Averrhoa bilimbi L. 53 ตา่ งไกป่ า่ Polygala arillata Buch.-Ham. ex D. Don 72 ตา้ งหลวง Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis. 75 ตง่ิ ตง่ั Calycopteris floribunda (Roxb.) Lam. 21 ตนี เปด็ แคระ Alstonia curtisii King 45 ตนี เปด็ ทราย Cerbera manghas L. 19 ทานตะวนั Helianthus annuus L. 19 เทยี นดอก Impatiens balsamina L. 47 เทยี นดอย Impatiens violaeflora Hook.f. 27 เทยี นทงุ่ Impatiens masoni Hook.f. 27 เทยี นสวา่ ง Impatiens cardiophylla Hook.f. 27 นกกระจบิ Aristolochia harmandiana Pierre ex Lecomte 27 นำ้ ใจใคร่ Olax psittacorum (Willd.) Vahl 23 นนุ่ Ceiba pentandra (L.) Gaertn. 71 เนา่ ใน Ilex umbellulata Loes. 31 เนยี มนกเขา Salomonia cantoniensis Lour. 24 75

สารบญั ภาพ หน้า บานเยน็ Mirabilis jalapa L. 66 ประทดั ดอย Agapetes megacarpa W. W. Sm. 53 ปแู ล Gyrocarpus americanus Jacq. 54 เปอ๋ื ย Terminalia pedicellata Nanakorn. 45 ผลของพชื วงศผ์ กั หวาน 69 ผกั นมหนิ Cyrtandromoea grandiflora C. B. Clarke 91 ผกั ไผต่ น้ Pittosporum nepaulense (DC.) Rehd. & Wilson 73 ผกั เสย้ี นฝรง่ั Cleome spinosa Jacq. 35 ผกั หวานเมา Urobotrya siamensis Hiepko 69 ผเี สอ้ื Viola tricolor L. 99 พวงไขม่ กุ Sambucus simpsonii Rehder 37 พพี า่ ย Elaeocarpus lanceifolius Roxb. 51 พดุ ดง Kopsia arborea Blume 19 พทุ รา Ziziphus mauritiana Lam. 79 เพชรหงึ ตกั กาด Spirolobium cambodianum Baill. 19 เพย้ี กระทงิ Euodia meliaefolia Benth. 83 โพกรง่ิ Hernandia nymphaeifolia (C. Presl.) Kubitzki 54 มะกอกพราน Turpinia pomifera (Roxb.) DC. 93 มะกกั Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman 17 มะดกู Siphonodon celastrineus Griff. 39 มะเดาะ Glyptopetalum sclerocarpum M. A. Lawson 39 มะพอก Parinari anamense Hance 42 มะมว่ งปา่ Mangifera caloneura Kurz 17 มะยมหนิ Meliosma pinnataWalp. 98 มะรมุ Moringa oleifera Lam. 64 มงั เครช่ า้ ง Melastoma sanguineum Sims. 63 มกิ กเ้ี มา้ ส์ Ochna kirkii Oliv. 68 โมกแดง Wrightia dubia Spreng. 19 โมกราชนิ ี Wrightia sirikitiae D. J. Middleton & Santisuk 19 ยอยา่ น Morinda umbellata L. 81 ระฆงั ทอง Pauldopia ghorta (G. Don) Steenis 29 รกั ปา่ Semecarpus curtisii King 17 รกั เร่ Dahlia pinnata Cav. 47

สารบญั ภาพ หน้า ละมดุ เขมร Xantolis burmanica (Collett & Hemsl.) P. Royen 85 ละมดุ สดี า Madhuca esculenta H. R. Fletcher 85 เลบ็ มอื นาง Quisqualis indica L. 45 เลบ็ เหยย่ี ว Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia 79 วาสกุ รี Viola pilosa Blume แววมยรุ า Torenia fournieri Lindl. ex E. Fourn. 99 สกลุ Aristolochia 91 สกลุ Actinodaphne 23 สกลุ Boerhavia 57 สกลุ Chassalia 66 สกลุ Chloranthus 81 สกลุ Dehaasia 41 สกลุ Glycosmis 57 สกลุ Ixora 83 สกลุ Pavetta 81 สกลุ Persea 81 สกลุ Schefflera 57 สกลุ Sonerila 21 สกลุ Thunbergia 63 สกลุ Ziziphus 13 สนอนิ เดยี Grevillea robusta Cunn. ex R. Br. 78 สนนุ่ Salix tetrasperma Roxb. 77 สม้ เขยี วหวาน Citrus reticulata Blanco 87 สม้ แปะ Lyonia foliasa (Fletcher) Sleumer 83 สมพง Tetrameles nudiflora R. Br. 53 สม้ มอื Citrus medica L. var. sarcodactylis Swing. 49 สม้ สา Myrica exculenta Buch.-Ham. 83 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica(Gaertn.) Roxb. 65 สรอ้ ยอนิ ทนลิ Thunbergia grandiflora (Roxb. ex Rottler) Roxb. 45 สะทอ้ นรอก Elaeocarpus robustus Roxb. 13 สะพา้ นกน๊ Sambucus javanica Reinw. ex Blume 51 สายนำ้ ผง้ึ Lonicera japonica Thunb. 37 สาลห่ี นมุ่ Capparis viburnifolia Gagnep. 37 35

สารบญั ภาพ หน้า สสี ม Clausena excavata Burm.f. 83 สพุ รรณกิ าร์ Cochlospermum regium (L.) Alston 43 โสม Panax ginseng C. A. Mey. 21 หญา้ งวงชา้ ง Heliotropium indicum L. 32 หญา้ รกั นา Ludwigia octovalvis (Jacp.) P. H. Raven 13 หนวดปลาหมกึ เขา Schefflera bengalensis Gamble 21 หนาดดำ Vernonia squarrosa (D. Don) Less. 47 หนามโมนา Capparis montana Jacobs 35 หมกั หมอ้ Rothmannia wittii (Craib) Bremek. 81 หมเี หมน็ Litsea glutinosa (Lour.) C. B. Rob. 57 หลวิ Salix babylonica L. 87 หอ้ มชา้ ง Phlogacanthus curviflorus Nees 13 หสั คณุ Micromelum minutum (G. Forst.) Wight & Arn. 83 หหู มี Thottea parviflora Ridl. 23 เหงอื กปลาหมอ Acanthus ebracteatus Vahl 13 เหมอื ดคนตวั ผู้ Helicia nilagiricaBedd. 77 เหมอื ดยอดเกลย้ี ง Symplocos hookeri C. B. Clarke 97 เหมอื ดหอม Symplocos racemosa Roxb. 97 อบเชย Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet 57 อวดเชอื ก Combretum latifolium Blume 45 องั กาบ Barleria cristata L. 13 อสั ดง Astilbe rivularis Buch.-Ham. 89 เอน็ อา้ ขน Osbeckia stellata Buch.-Ham. ex Ker Gawl. 63 เอนอา้ ขาว Styrax rugosus Kurz 95 เอน็ อา้ นำ้ Osbeckia nepalensis Hook.f. 63 แอสเตอร์ Callistephus chinensis (L.) Nees 47 Impatiens clavigera Hook.f. 27 Impatiens walleiana Hook.f. 27 Lonicera hildebrandiana Coll. & Hemsl. 37 Macadamia ternifolia F. Muell. 77 Phoebe calthia (D. Don) Kosterm. 57 Polygala umbonata Craib 75 Saxifraga gemmipara Pers. 89 Vaccinium eberhardtii Dop. var. pubescens H. R. Fletcher 53

12 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศเ์ หงอื กปลาหมอ ACANTHACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไม้ต้นขนาดเล็ก หรือไมเ้ ลื้อย ไม่มีหูใบ ใบ เดี่ยว ติดตรงข้าม ขอบเรียบ เส้นใบออกจากสองข้างของเส้นกลางใบแบบขนนก ดอก ออกตามง่ามใบ หรือปลายยอด เป็นช่อ หรือดอกเดี่ยว มักมีใบประดับคล้ายใบหุ้มท่อกลีบดอก ดอกสมมาตรดา้ นขา้ ง หรอื สมมาตรตามรศั มี ดอกสมบรู ณเ์ พศ กลบี เลย้ี งเชอ่ื มตดิ กนั ปลายแยกเปน็ 4 แฉก กลบี ดอกโคนเชอ่ื มตดิ กนั ปลายมี 5 แฉก มกั แยกเปน็ 2 ปาก เกสรเพศผมู้ ี 4 อนั สน้ั สอง ยาวสอง หรอื มเี พยี ง 2 อนั ตดิ บนทอ่ กลบี ดอก รงั ไขม่ ี 2 ชอ่ ง มไี ขอ่ อ่ น 2-10 หนว่ ยใน 1 ชอ่ ง ผล เปน็ แบบผลแหง้ แตก เมลด็ มี 2 ถงึ หลายเมลด็ ติดบนก้านคล้ายตะขอ ลักษณะเด่นของวงศ์ ใบเดย่ี ว ขอบเรยี บ ตดิ ตรงขา้ ม ดอกสมบรู ณเ์ พศ กลบี ดอกโคนเชอ่ื มตดิ กนั ปลายมี 5 แฉก มกั แยกเปน็ 2 ปาก เกสรเพศผมู้ ี 4 อนั สน้ั สอง ยาวสอง ตดิ บนทอ่ กลบี ดอก ผลแห้งแตก เมล็ดติดบนก้านคล้ายตะขอ วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Labiatae – ลำต้นเป็นเหลี่ยม มีต่อมกลิ่น กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นท่อ ผลเป็นผลแข็งเล็ก อยู่ในท่อกลีบเลี้ยง Gesneriaceae – ลำต้นเป็นกอ ใบติดตรงข้าม ใบที่ติดคู่กันมักมีขนาดไม่ เท่ากัน อบั เรณเู ปน็ คู่ รังไข่ตดิ เหนือวงกลีบ หรือติดใตว้ งกลบี รังไข่ยาว Scrophulariaceae – ใบติดตรงข้าม หรือติดสลับ ผลแห้งมีเมล็ดจำนวนมาก ผลมักยาวกว่ากลีบเลี้ยง การกระจายพันธุ์ พบทว่ั โลก ในประเทศไทยมี 40 สกลุ เชน่ • สกลุ Acanthus ไมพ้ มุ่ ขนาดเลก็ พบตามนำ้ กรอ่ ย ไดแ้ ก่ เหงอื กปลาหมอ Acanthus ebracteatus Vahl • สกลุ Phlogacanthus ไมพ้ มุ่ ดอกสสี ม้ ออกเปน็ ชอ่ ทป่ี ลายยอด ดอกโคง้ พบตามปา่ ดบิ ไดแ้ ก่ หอ้ มชา้ ง Phlogacanthus curviflorus Nees • สกลุ Thunbergia ไมเ้ ลอ้ื ย พบตามปา่ ดบิ เชน่ สรอ้ ยอนิ ทนลิ Thunbergia grandiflora (Roxb. ex Rottler) Roxb.

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 13 องั กาบ Barleria cristata L. ห้อมช้าง Phlogacanthus curviflorus Nees สร้อยอินทนิล เหงือกปลาหมอ Thunbergia grandiflora (Roxb. ex Rottler) Roxb. Acanthus ebracteatus Vahl หญ้ารักนา สกุล Thunbergia Ludwigia octovalvis (Jacq.) P. H. Raven

14 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศก์ ว่ ม ACERACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ต้น ใบ เดี่ยว ติดตรงข้ามสลับตั้งฉาก ขอบเรียบ เส้นใบออกจากโคนใบ 3-5 เสน้ บางครง้ั พบออกจากสองขา้ งของเสน้ กลางใบแบบขนนก ไมม่ หี ใู บ ดอก แยกเพศ สมมาตรตามรศั มี กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมี 4 หรอื 5 กลบี แยกจากกนั เกสรเพศผมู้ ี 8 อนั ไมม่ จี านฐานดอก รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลบี มี 2 ชอ่ ง ไขอ่ อ่ นมี 2 หนว่ ยตอ่ หนง่ึ ชอ่ ง ผล มปี กี ลักษณะเด่นของวงศ์ ขอบใบมักจักเป็นพู เส้นใบออกจากโคนใบ ด้านใต้ใบมักมีนวล ผลมีปีก 2 ปีก แตล่ ะปกี มี 1 เมลด็ การกระจายพันธุ์ เขตซีกโลกเหนอื ในประเทศไทยมสี กลุ เดียว คือ Acer ส่วนมากพบในป่าดิบเขา • กว่ มแดง Acer calcaratum Gagnep. พบบนภกู ระดงึ จ. เลย • กว่ มเชยี งดาว Acer chiangdaoense Santisuk พบบนดอยเชยี งดาว จ. เชยี งใหม่ • กว่ มขาว Acer laurinum Hassk. พบในภาคเหนอื ดอยอนิ ทนนท์ จ. เชยี งใหม่ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 15 กว่ มแดง Acer calcaratum Gagnep. ก่วมขาว ก่วมภูคา Acer laurinum Hassk. Acer wilsonii Rehder

16 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศม์ ะมว่ ง ANACARDIACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ต้น เนื้อแข็ง มีกลิ่น เปลือกเมื่อตัดขวางจะมีแถบจางของเนื้อเยื่อท่อลำเลียง เปน็ คลน่ื ใบ เดย่ี ว หรอื ใบประกอบ ตดิ เวยี นสลบั ขอบเรยี บ เสน้ ใบออกจากสองขา้ ง ของเส้นกลางใบแบบขนนก มีน้ำยางใสเมื่อถูกอากาศกลายเป็นสีดำ หรือสีน้ำตาล ไม่มีหูใบ ดอก ออกเป็นช่อแตกแขนงที่ปลายยอด ดอกมีขนาดเล็ก มีกลีบเลี้ยง กลีบดอกและเกสรเพศผู้อย่างละ 5 แยกจากกัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบก้านเกสร เพศเมยี ตดิ เยอ้ื งจากกง่ึ กลางของรงั ไข่ มจี านฐานดอก มไี ขอ่ อ่ น 1 หนว่ ยตอ่ 1 ชอ่ งรงั ไข่ ผล เมลด็ เดีย่ วแขง็ หรอื ผลมปี กี ลักษณะเด่นของวงศ์ ไม้ต้น มีน้ำยางใสเมื่อถูกอากาศเป็นสีดำ ดอกมีขนาดเล็ก ออกเป็นช่อแตก แขนงที่ปลายยอด วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Burseraceae – โดยทั่วไปแล้วไม่มียางสีดำ ดอกจะมีส่วนต่าง ๆ อย่างละ 3 รงั ไขจ่ ะมไี ขอ่ อ่ น 2 หนว่ ยตอ่ 1 ชอ่ ง การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ นทว่ั ไป สว่ นมากพบในปา่ ดบิ ชน้ื ทต่ี ำ่ ในประเทศไทยมี 18 สกลุ เชน่ • สกลุ Anacardium ไดแ้ ก่ มะมว่ งหมิ พานต์ Anacardium occidentale L. ผลมีฐานผลบวมเป็นเนื้อ • สกลุ Bouea ไดแ้ ก่ มะยง Bouea oppositifolia (Roxb.) Meisn. มะปราง Bouea macrophylla Griff. ใบตดิ ตรงขา้ ม • สกลุ Drimycarpus สกลุ Melanochyla รงั ไขต่ ดิ ใตว้ งกลบี สว่ นมากพบในปา่ พรุ • สกลุ Campnosperma ไดแ้ ก่ ขห้ี นอนพรุ Campnosperma coriaceum (Jack) Hall.f. ex Steenis ผลเปน็ รปู เลนส์ เมลด็ เดยี วแขง็ พบในปา่ พรทุ างภาคใต้ • สกุล Gluta บางชนดิ สกลุ Parishia สกลุ Swintonia ผลมปี กี พบในปา่ ดบิ แลง้ และป่าพรุ • สกลุ Mangifera เชน่ มะมว่ ง Mangifera indica L. ผลมเี นอ้ื เมลด็ เดยี วแขง็ ส่วนมากพบในป่าดิบชื้นที่ต่ำ • สกลุ Semecarpus เชน่ รกั ปา่ Semecarpus curtisii King. ผลมฐี านผลบวม เปน็ เนอ้ื สว่ นมากพบในปา่ ดบิ ชน้ื ทต่ี ำ่ ปา่ พรุ

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 17 ประโยชน์ พืชวงศ์นี้บางชนิดผลกินได้ ได้แก่ มะม่วงหิมพานต์ (Anacardium occidentale L.) มะยง (Bouea oppositifolia (Roxb.) Meisn.) มะมว่ ง (Mangifera indica L.) มะกอก (Spondias pinnata (L.f.) Kurz ผลของพชื วงศน์ ห้ี ลายชนดิ เปน็ อาหารของ สัตว์ เช่น ค้างคาว หมู และลิง บางชนิดมีน้ำยางที่ทำให้เกิดอาการระคายเคืองที่ผิว หนงั เชน่ รกั Semecarpus spp. บางชนดิ นำ้ ยางใชท้ ำเครอ่ื งเขนิ ไดแ้ ก่ รกั ใหญ่ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou รักป่า Semecarpus curtisii King มะกัก Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman มะม่วงป่า ชันรูจี Mangifera caloneura Kurz Parishia insignis Hook.f.

18 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศต์ นี เปด็ APOCYNACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมต้ น้ ไมพ้ มุ่ หรอื ไมเ้ ลอ้ื ย มยี างสขี าว ใบ เดย่ี ว ตดิ ตรงขา้ ม หรอื ตดิ เปน็ วงรอบขอ้ ดอก ออกเปน็ ชอ่ ตามงา่ มใบ หรอื ตามปลายยอด ดอกสมบรู ณเ์ พศ สมมาตรตามรศั มี กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปแจกัน รูปทรงกระบอก รูปกรวย รูปคนโท หรือรูปวงล้อ ปลายกลีบซ้อนกัน เกสรเพศผู้มี 5 อันติดบนท่อกลีบดอก รังไข่ติดเหนือวงกลีบ มีเกสรเพศเมีย 2 อัน เชื่อมติดกัน ยอดเกสรเพศเมยี มอี นั เดยี ว รงั ไขภ่ ายในมี 2 ชอ่ งหรอื มชี อ่ งเดยี ว ผล นมุ่ มเี มลด็ เดย่ี ว แข็ง หรือหลายเมล็ด หรือผลเป็นฝักคู่ เมื่อแก่แตก หรือผลแตกตามแนวเดียว เมล็ดมีขนเป็นกระจุกที่ปลาย ลักษณะเด่นของวงศ์ มยี างสขี าว ใบเดย่ี ว ตดิ ตรงขา้ ม หรอื ตดิ เปน็ วงรอบขอ้ ขอบเรยี บ เสน้ แขนงใบเปน็ รา่ งแห กลบี ดอกเชอ่ื มตดิ กนั เกสรเพศผมู้ ี 5 อนั ตดิ บนทอ่ กลบี ดอก มเี กสรเพศเมยี 2 อันเชื่อมติดกัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบ รังไข่มี 2 ช่อง ผลเป็นฝักคู่ หรือเดี่ยว แตกตามแนวเดียว เมล็ดมีขนเป็นกระจุกที่ปลาย วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Asclepiadaceae – กลีบดอกแยกกันเป็นรูปวงล้อ ก้านเกสรเพศผู้สั้น หรือไม่มี เลย รังไข่ติดเหนือวงกลีบ หรือติดค่อนข้างใต้วงกลีบ ผลมักมีปุยขนที่ปลาย ด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว Rubiaceae – มีหูใบร่วมระหว่างโคนก้านใบ รังไข่ติดใต้วงกลีบ บางครั้งพบ ติดอยู่เหนือวงกลีบ Loganiaceae – ไมม่ หี ใู บ บางทพ่ี บวา่ มรี งั ไขต่ ดิ อยเู่ หนอื วงกลบี หรอื บางครง้ั พบ ติดอยู่เกือบใต้วงกลีบ การกระจายพันธุ์ ในเขตร้อน ในประเทศไทยมีอยู่หลายสกุล เช่น • สกลุ Alstonia ผลเปน็ ฝกั คู่ ขน้ึ ในปา่ ดบิ ทต่ี ำ่ ไดแ้ ก่ ตนี เปด็ หรอื พญาสตั บรรณ Alstonia scholaris (L.) R. Br. • สกลุ Cerbera ไมต้ น้ ขน้ึ ตามปา่ ชายเลนและปา่ ชายหาด ไดแ้ ก่ ตนี เปด็ ทราย Cerbera manghas L. ผลมเี นอ้ื เมลด็ แขง็ • สกลุ Dyera ไมต้ น้ ขน้ึ ตามปา่ ชายหาด ไดแ้ ก่ ตนี เปด็ แดง Dyera costulata (Miq.) Hook.f. ผลเปน็ ฝกั คู่ เมลด็ รแี บนมปี กี

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 19 • สกลุ Willughbeia ไมเ้ ลอ้ื ย ผลนมุ่ กลม สเี หลอื งหรอื สม้ ไดแ้ ก่ คยุ Willughbeia edulis Roxb. โมกราชินี โมกแดง Wrightia sirikitiae D. J. Middleton & Santisuk Wrightia dubia Spreng. เพชรหงึ ตกั กาด พดุ ดง Spirolobium cambodianum Baill. Kopsia arborea Blume ตนี เปด็ แคระ ตีนเป็ดทราย Alstonia curtisii King Cerbera manghas L. คยุ คยุ Willughbeia edulis Roxb. Willughbeia edulis Roxb.

20 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศเ์ ลบ็ ครฑุ ARALIACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมล้ ม้ ลกุ ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ หใู บมกั เปน็ ลน้ิ บาง ๆ อยทู่ โ่ี คนกา้ นใบ ใบ เดย่ี ว ขอบจกั คล้ายขนนก หรือใบประกอบแบบนิ้วมือ ติดเวียนสลับ ดอก ออกเป็นช่อแบบซี่ร่ม ทอ่ กลบี เลย้ี งเชอ่ื มตดิ กบั รงั ไข่ ปลายทอ่ เปน็ ซเ่ี ลก็ ๆ กลบี ดอกแยกจากกนั หลดุ รว่ งงา่ ย มีจานฐานดอกขนาดใหญ่ รังไข่ติดใต้วงกลีบ ผล มีเนื้อหลายเมล็ด หรือเมล็ดแข็ง เมล็ดเดียว ลักษณะเด่นของวงศ์ ช่อดอกมักออกเป็นช่อแบบซี่ร่มที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ ก้านเกสรเพศเมียมีจำนวนเท่ากับช่องในรังไข่ แยกจากกันหรือเชื่อมติดกัน แตล่ ะชอ่ งมไี ขอ่ อ่ น 1 หนว่ ย การกระจายพันธุ์ ในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ในประเทศไทยมีประมาณ 17 สกุล ส่วนมากอยู่ใน ปา่ ดบิ เขา และปา่ ดบิ ชน้ื เชน่ • สกุล Aralia ใบประกอบแบบขนนก 2-3 ชั้น ก้านเกสรเพศเมียเด่นชัด เช่น คนั หามเสอื Aralia montana Blume • สกุล Brassaiopsis ใบมีขนาดใหญ่ จักลึกแบบนิ้วมือ เช่น ผักหนามช้าง Brassaiopsis hainla (Buch.-Ham. ex D. Don) Seem. • สกุล Eleutherococcus ไม้ต้นกึ่งไม้พุ่ม มีหนาม มี 1 ชนิด คือ ผักแปม Eleutherococcus trifoliatus (L.) S. Y. Hu พบทภ่ี าคเหนอื • สกลุ Polyscias ไมต้ น้ ไมพ้ มุ่ ใบประกอบแบบขนนก เปน็ พชื มาจากตา่ งประเทศ (exotic plant) เชน่ เลบ็ ครฑุ Polyscias fruticosa (L.) Harms • สกลุ Schefflera ไมต้ น้ ไมพ้ มุ่ ไมอ้ งิ อาศยั ใบประกอบแบบนว้ิ มอื มใี บยอ่ ย 5-7 ใบ เนื้อใบหนามัน ปลายใบมนหรือกลม พบในป่าที่ต่ำ และป่าดิบเขาชื้น มที ง้ั ในแถบเขตรอ้ นและเขตอบอนุ่ เชน่ นว้ิ มอื พระนารายณ์ Schefflera heptaphylla (L.) Frodin • สกุล Trevesia ใบมีขนาดใหญ่ จักลึกแบบนิ้วมือที่โคนแต่ละพูมีเนื้อใบเชื่อม ตดิ กนั เปน็ พดื เชน่ ตา้ งหลวง Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis. ประโยชน์ พืชในวงศ์นี้ที่ใบกินได้ ได้แก่ พวกเล็บครุฑ Polyscias ที่เป็นไม้ประดับ ได้แก่ Polyscias บางชนดิ และ Schefflera ทเ่ี ปน็ พชื สมนุ ไพร ไดแ้ ก่ พวกโสม Panax (Gin- seng)

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 21 หนวดปลาหมึกเขา สกุล Schefflera Schefflera bengalensis Gamble ตา้ งหลวง โสม Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis. Panax ginseng C. A. Mey.

22 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศไ์ กฟ่ า้ ARISTOLOCHIACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้เลื้อยเนื้อแข็ง เป็นพืชกินแมลง มีรสขม หรือรสพริกไทย มีน้ำยางใส ใบ เดี่ยว มีเส้นใบออกจากจุดโคนใบ และออก จากสองข้างของเส้นกลางใบแบบขนนก โคนใบรูปหัวใจ ดอก สมมาตรด้านข้าง กลีบรวมเชื่อมติดกัน ที่โคนเป็นกระเปาะ มีรูปร่างแตกต่างกัน รูปร่างคล้ายไก่ฟ้า มีกลิ่นเหม็น สีสะดุดตา ก้านเกสรเพศเมีย และเกสรเพศผู้มักเชื่อมกันเป็นเส้าเกสร รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ มี 6 ช่อง บางชนิด จะบิดเป็นเกลียวขณะที่เจริญขึ้น ผล เป็นแบบผลแห้งแตก แตกตามรอยตะเข็บ มีรูปร่างคล้ายกระเช้า ลักษณะเด่นของวงศ์ ไมเ้ ลอ้ื ย ใบเดย่ี ว มเี สน้ ใบออกจากจดุ โคนใบ ดอกทโ่ี คนเปน็ กระเปาะรปู รา่ งคลา้ ย ไก่ฟ้า ผลมีรูปร่างคล้ายกระเช้า การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ น ในประเทศไทยมี 2 สกลุ • สกลุ ไกฟ่ า้ Aristolochia เปน็ ไมเ้ ลอ้ื ย ชนดิ ทพ่ี บทว่ั ไป คอื กระเชา้ ผมี ด Aristolochia tagala Cham. กระเชา้ ถงุ ทอง Aristolochia pothieri Pierre ex Lecomte • สกลุ หหู มี Thottea เปน็ ไมล้ ม้ ลกุ ชนดิ ทพ่ี บทว่ั ไป คอื Thottea tomentosa (Blume) Ding Hou ประโยชน์ สกลุ Aristolochia บางชนดิ เปน็ พชื สมนุ ไพร โดยใชร้ าก หวั ใตด้ นิ และลำตน้

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 23 หูหมี กระเช้าถุงทอง Thottea parviflora Ridl. Aristolochia pothieri Pierre ex Lecomte กระเช้าผีมด สกุล Aristolochia Aristolochia tagala Cham. นกกระจิบ กระเช้าภูเก็ต Aristolochia harmandiana Pierre ex Lecomte Aristolochia curtisii King

24 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศเ์ นา่ ใน AQUIFOLIACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ต้น หรือไม้พุ่ม ไม่มีหูใบ ใบ เดี่ยว ติดเวียนสลับ เส้นใบออกจากสองข้างของ เส้นกลางใบแบบขนนก ดอก แยกเพศ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-9 แยกจากกัน เรียงซ้อนทับกัน เกสรเพศผู้มีลักษณะเหมือนกัน ติดตรงข้าม กับกลีบเลี้ยง ไม่มีจานฐานดอก รังไข่ติดเหนือวงกลีบ ยอดเกสรเพศเมียกว้าง ไมม่ กี า้ น ผล เมลด็ แขง็ มี 3-หลายเมลด็ ลักษณะเด่นของวงศ์ ขอบใบจกั ซฟ่ี นั เมอ่ื แหง้ สอี อกดำ ดา้ นลา่ งมตี อ่ มสดี ำ วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Celastraceae – ใบมกั ออกตรงขา้ ม Icacinaceae – กลีบดอกเรียงจรดกัน ผลมักมีเมล็ดเดียว Rhamnaceae – มหี ใู บ มจี านฐานดอก เกสรเพศผตู้ ดิ ตรงขา้ มกบั กลบี ดอก การกระจายพันธุ์ ทว่ั โลก มกั อยใู่ นแถบซกี โลกเหนอื ในประเทศไทยมี 1 สกลุ • Ilex เป็นไม้พุ่ม หรือไม้ต้นขนาดเล็ก ได้แก่ เน่าใน Ilex umbellulata Loes. พบในป่าดิบเขา ประโยชน์ ในทวปี อเมรกิ าใตม้ ี Ilex ชนดิ หนง่ึ คอื Ilex paraquariensis A. St.-Hilaire ใชท้ ำชา ในยโุ รปใช้ Ilex aquifolium L.เปน็ ไมป้ ระดบั เน่าใน Ilex umbellulata Loes.

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 25 วงศค์ ำแสด BIXACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ต้นขนาดเล็ก หูใบขนาดเล็ก หลุดร่วงง่าย ใบ เดี่ยว ออกเวียนสลับ ขอบเรียบ เส้นใบออกจากจุดเดียวกันที่โคนใบ มีจุดสีแดง ดอก มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก อยา่ งละ 5 กลบี กลบี ดอกแยกจากกนั เกสรเพศผมู้ จี ำนวนมาก รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลบี มี 1 ชอ่ ง ไขอ่ อ่ นมจี ำนวนมาก ผล เปน็ แบบผลแหง้ แตก มหี นาม ลักษณะเด่นของวงศ์ ไม้ต้น ใบเดี่ยว เส้นใบออกจากจุดเดียวกันที่โคนใบ ใบมีจุดสีแดง เกสรเพศผู้ จำนวนมาก ผลเปน็ แบบผลแหง้ แตก มหี นาม วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Flacourtiaceae – ใบไมม่ จี ดุ สแี ดง ผลไมม่ หี นาม Tiliaceae – มกั มขี นรปู ดาว รงั ไขม่ ี 2-5 ชอ่ ง การกระจายพันธุ์ พชื พน้ื เมอื งในเขตรอ้ นโลกใหม่ ปจั จบุ นั ปลกู ในเขตรอ้ นทว่ั ไป ในประเทศไทยมี 1 ชนิด • คำแสด Bixa orellana L. ประโยชน์ สีแดงจากเมล็ดใช้ย้อมผ้า คำแสด คำแสด Bixa orellana L. Bixa orellana L.

26 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศเ์ ทยี นนำ้ BALSAMINACEAE ลักษณะประจำวงศ์ พชื ลม้ ลกุ อวบนำ้ ใบ เดย่ี ว ตดิ เวยี นสลบั ตรงขา้ ม หรอื ตดิ ทข่ี อ้ เดยี วกนั ไมม่ หี ใู บ ดอก สมบรู ณเ์ พศ สมมาตรดา้ นขา้ ง ออกเดย่ี ว หรอื หลายดอกตามงา่ มใบ ดอกมจี งอย สั้นหรือยาว โค้งหรือตรง กลีบเลี้ยงมี 3 หรือ 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 กลีบ มีหลายสี เกสรเพศผู้มี 5 อัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบ อับเรณูเป็นหมวกคลุมยอดเกสรเพศเมีย รงั ไขม่ ี 5 ชอ่ ง ในหนง่ึ ชอ่ งมไี ขอ่ อ่ น 5 ถงึ จำนวนมาก ยอดเกสรเพศเมยี มี 1-5 อนั ผล เป็นแบบผลแห้งแตก ลักษณะเด่นของวงศ์ ดอกมีจงอยที่งอกออกมาจากวงกลีบเลี้ยง การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ นทวปี เอเชยี และแอฟรกิ า ทว่ั โลกมี 2 สกลุ ในประเทศไทยพบ 1 สกลุ • สกลุ Impatiens พบตามทช่ี น้ื เชน่ เทยี นบา้ น Impatiens balsamina L. เน่าใน Ilex umbellulata Loes.

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 27 Impatiens clavigera Hook.f. เทียนดอก Impatiens balsamina L. เทียนทุ่ง เทียนสว่าง Impatiens masoni Hook.f. Impatiens cardiophylla Hook.f. เทียนดอย Impatiens walleriana Hook.f. Impatiens violaeflora Hook.f.

28 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศแ์ คหางคา่ ง BIGNONIACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้เลื้อย หรือไม้ต้น เป็นไม้เนื้อแข็ง ใบ เดี่ยว หรือใบประกอบ มีเส้นใบออกจาก สองขา้ งของเสน้ กลางใบแบบขนนก ดอก ใหญ่ และบานเดน่ ชดั กลบี เลย้ี งเชอ่ื มตดิ กนั กลบี ดอกเชอ่ื มตดิ กนั เกสรเพศผมู้ ี 4 อนั สน้ั 2 ยาว 2 รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลบี มี 2 ชอ่ ง มไี ขอ่ อ่ นหลายหนว่ ยตอ่ 1 ชอ่ ง ผล เปน็ แบบผลแหง้ แตก แขง็ ผวิ เรยี บ เมลด็ มปี กี ลักษณะเด่นของวงศ์ ใบเดี่ยว ติดเป็นวงรอบข้อ หรือใบประกอบ ติดตรงข้ามแต่ละคู่ตั้งฉากกัน ใบ ดา้ นลา่ งมตี อ่ ม ดอกใหญบ่ านเดน่ ชดั เกสรเพศผมู้ ี 4 อนั สน้ั 2 ยาว 2 มเี กสรเพศผู้ ทเ่ี ปน็ หมนั 1 อนั ผลแหง้ แตก แขง็ ผวิ เรยี บ เมลด็ มปี กี และมจี ำนวนมาก วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Gesneriaceae และ Scrophulariaceae – โดยทั้งสองวงศ์นี้พบน้อยที่เป็น ไมเ้ นอ้ื แขง็ และไมพ่ บเปน็ ไมเ้ ลอ้ื ย ใบของทง้ั สองวงศน์ เ้ี ปน็ ใบเดย่ี ว เมลด็ ไมม่ ปี กี Verbenaceae – ไขอ่ อ่ นมจี ำนวนนอ้ ย เมลด็ ไมม่ ปี กี การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ น มบี างชนดิ เทา่ นน้ั ทก่ี ระจายไปในเขตอบอนุ่ ในประเทศไทย มี 14 สกลุ เช่น • สกุล Millingtonia ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ได้แก่ ปีบ Millingtonia hortensis L.f. • สกลุ Oroxylum ไมต้ น้ พบในปา่ ดบิ ชน้ื ไดแ้ ก่ เพกา Oroxylum indicum (L.) Kurz • สกลุ Radermachera ไมต้ น้ พบในปา่ ดบิ ชน้ื เชน่ แคชาญชยั Radermachera glandulosa (Blume) Miq. • สกลุ Stereospermum ไมต้ น้ พบในปา่ ดบิ ชน้ื ไดแ้ ก่ แคทราย Stereospermum neuranthum Kurz ประโยชน์ เป็นพืชประดับ ได้แก่ น้ำเต้าต้น Crescentia cujete L. ศรีตรัง Jacaranda filicifolia (Anderson) D. Don ไสก้ รอกแอฟรกิ า Kigelia africana (Lam.) Benth. แคแสด Spathodea campanulata P. Beauv. ชมพูพันธุ์ทิพย์ Tabebuia rosea (Bertol.) DC. ทองอไุ ร Tecoma stans (L.) Kunth ดอกจะมนี ก คา้ งคาว มาดดู นำ้ หวาน เมล็ดมีปีก แพร่พันธุ์โดยลม

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 29 ระฆงั ทอง แคชาญชัย Pauldopia ghorta (G. Don) Steenis Radermachera glandulosa (Blume) Miq. แคแสด แคสนั ตสิ ขุ Spathodea campanulata P. Beauv. Santisukia kerrii (Barnett & Sandwith) Brummitt แคหัวหมู แคทราย Markhamia stipulata Seem var. stipulata Stereospermum neuranthum Kurz

30 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศน์ นุ่ BOMBACACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมต้ น้ เนอ้ื แขง็ มหี ใู บ ใบ เดย่ี ว จกั เปน็ รปู นว้ิ มอื ตดิ เวยี นสลบั ขอบเรยี บ กลบี เลย้ี ง เชอ่ื มตดิ กนั กลบี ดอกแยก เกสรเพศผมู้ จี ำนวนมาก กา้ นเกสรเพศผเู้ ชอ่ื มตดิ กนั ทโ่ี คน รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลบี มี 2-5 ชอ่ ง ผล เปน็ แบบผลแหง้ แตก ลักษณะเด่นของวงศ์ ไมต้ น้ ลำตน้ มหี นาม ใบเดย่ี ว จกั เปน็ รปู นว้ิ มอื ใบมเี กลด็ หรอื ขนรปู ดาว เกสรเพศผู้ เชอ่ื มตดิ กนั เปน็ มดั หลายมดั ผลมหี นามหรอื เรยี บ เมลด็ มเี น้อื หรอื ลอ้ มรอบดว้ ยขน วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Cochlospermaceae – ไม่มีขนรูปดาว ก้านเกสรเพศผู้แยกจากกัน Malvaceae – ใบมกั จะมเี สน้ ใบออกจากจดุ เดยี วกนั ทโ่ี คนใบ ผลมขี น Sterculiaceae – ใบมักจะมีเส้นใบออกจากจุดเดียวกันที่โคนใบ มักจะมีก้านชู เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ นทว่ั ไป ในประเทศไทยมี 3 สกลุ สว่ นมากเปน็ พชื ในปา่ ดบิ ชน้ื ทต่ี ำ่ • สกลุ Bombax เมลด็ ลอ้ มรอบดว้ ยขน เชน่ งว้ิ Bombax ceiba L. • สกลุ Durio ผลมหี นาม เชน่ ทเุ รยี น Durio zibethinus Merr. • สกลุ Neesia ผลมหี นาม เชน่ ชา้ งแหก Neesia altissima (Blume) Blume ประโยชน์ พชื วงศน์ ผ้ี ลกนิ ได้ ใชเ้ นอ้ื ไม้ ไดแ้ ก่ ทเุ รยี น Durio ผลมปี ยุ ขน (kapok) ไดแ้ ก่ นนุ่ Bombax การถ่ายละอองเรณูโดยค้างคาว เมล็ดของพืชหลายชนิดในวงศ์นี้ เป็นอาหารของสัตว์

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 31 นุ่น นุ่น Ceiba pentandra (L.) Gaertn. Ceiba pentandra (L.) Gaertn. ง้าว งิ้ว (ดอกเหลือง) Bombax anceps Pierre Bombax cieba L. งว้ิ งว้ิ Bombax cieba L. Bombax cieba L.

32 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศห์ ญา้ งวงชา้ ง BORAGINACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมล้ ม้ ลกุ ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ พบนอ้ ยทเ่ี ปน็ ไมเ้ ลอ้ื ย ใบ เดย่ี ว ตดิ เวยี นสลบั บางครง้ั อาจพบติดกึ่งตรงข้าม ดอก ออกเป็นช่อม้วนแบบก้นหอย มีกลีบเลี้ยงและ กลบี ดอกอยา่ งละ 5 กลบี กลบี เลย้ี งตดิ แนน่ กลบี ดอกเชอ่ื มตดิ กนั ปลายจกั เปน็ 5 พู เกสรเพศผมู้ ี 5 อนั รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลบี มี 2 ชอ่ ง หรอื 4 ชอ่ ง โดยมผี นงั กน้ั ไมช่ ดั เจน แตล่ ะชอ่ งมไี ขอ่ อ่ น 1 หนว่ ย ผล แยกยอ่ ยเปน็ 4 มเี มลด็ แขง็ ลักษณะเด่นของวงศ์ ใบสาก เนอ่ื งจากมขี นแขง็ ชอ่ ดอกมว้ น วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Gesneriaceae – ใบติดตรงข้ามแต่ละคู่ตั้งฉากกัน เมล็ดมีจำนวนมาก Labiatae – ใบมกั ตดิ ตรงขา้ มสลบั ตง้ั ฉาก รงั ไขม่ ี 4 ชอ่ ง การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ นทว่ั ไป ในประเทศไทยมปี ระมาณ 15 สกลุ เชน่ • สกลุ Cordia ไมต้ น้ ไมพ้ มุ่ ในปา่ ทร่ี าบตำ่ และป่าดิบชื้นชายฝั่ง ที่ปลูกเป็นไม้ประดับ ได้แก่ คอร์เดีย Cordia sebestina L. พบในป่าชายหาด ได้แก่ หมันทะเล Cordia subcordata Lam. • สกุล Ehretia ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น พบในป่าที่ราบต่ำ และป่าดิบชื้น ได้แก่ ก้อม Ehretia laevis Roxb. • สกุล Heliotropium มี 1 ชนิด คือ หญ้างวงช้าง Heliotropium indicum L. เปน็ วชั พชื ทว่ั ไป ในเขตรอ้ น • สกุล Tournefortia เป็นไม้พุ่มตาม ชายหาด ได้แก่ เหลียง Tournefortia ovata หญ้างวงช้าง Wall. ex G. Don Heliotropium indicum L.

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 33 คอรเ์ ดยี Cordia sebestina L. งวงชา้ งทะเล Argusia argentea (L.f.) Heine

34 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศก์ มุ่ CAPPARACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมล้ ม้ ลกุ ไมพ้ มุ่ ไมต้ น้ หรอื ไมเ้ ลอ้ื ย มกั มหี นาม บางทพี บกลมุ่ ของเกลด็ แหลม ๆ ที่โคน ของกิ่ง ใบ เดี่ยว หรือใบประกอบแบบมีใบย่อย 3-7 ใบ ติดเวียนสลับ ดอก สมมาตรด้านข้าง รังไข่ติดบนก้านสั้นยาวต่างกัน ดอกมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก อยา่ งละ 4-6 กลบี กลบี ดอกแยกจากกนั มกี า้ นกลบี เกสรเพศผมู้ จี ำนวนมาก รงั ไขม่ ี 1-3 ชอ่ ง ผล มเี นอ้ื หลายเมลด็ หรอื ผลแหง้ แตก ลักษณะเด่นของวงศ์ ดอกสามาตรด้านข้าง รังไข่ติดบนก้านสั้นยาวต่างกัน เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Cruciferae – ไมล้ ม้ ลกุ รงั ไขม่ ี 2 ชอ่ ง ดอกสมมาตรตามรศั มี การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ นและกง่ึ เขตรอ้ นทว่ั ไป ในประเทศไทยมี 5 สกลุ 35 ชนดิ เชน่ • สกลุ Capparis ไมเ้ ลอ้ื ย หรอื ไมพ้ มุ่ หใู บเปลย่ี นเปน็ หนาม เชน่ ชงิ ช่ี Capparis micracantha DC. • สกุล Cleome ไม้ล้มลุก เป็นวัชพืชในที่โล่งแจ้ง ชนิดที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เป็นพืชพื้นเมืองของอเมริกาเขตร้อน ได้แก่ ผักเสี้ยนฝรั่ง Cleome spinosa Jacq. มีดอกใหญ่ สีชมพู รังไข่มีก้านชูยาว • สกลุ Crateva ไมต้ น้ มใี บประกอบ 3 ใบ ผลกลม เชน่ กมุ่ บก Crateva adansonii DC. subsp. trifoliata (Roxb.) Jacobs • สกลุ Maerua ไมต้ น้ ใบประกอบแบบนว้ิ มอื ไมม่ กี ลบี ดอก มเี พยี งชนดิ เดยี วคอื แจง Maerua siamensis (Kurz) Pax • สกลุ Stixis กลบี เลย้ี งมี 6 กลบี ไมม่ กี ลบี ดอก รงั ไขม่ ี 3 ชอ่ ง ไดแ้ ก่ ขางนำ้ ขา้ ว Stixis suaveolens (Roxb.) Pierre

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 35 หนามโมนา Capparis monantha Jacobs สาลี่หนุ่ม ชงิ ช่ี Capparis viburnifolia Gagnep. Capparis micracantha DC. กุ่มบก Crateva adansonii DC. subsp. trifoliata (Roxb.) Jacobs กุ่มบก Crateva adansonii DC. subsp. ผกั เสย้ี นฝรั่ง trifoliata (Roxb.) Jacobs Cleome spinosa Jacq.

36 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศส์ ายนำ้ ผง้ึ CAPRIFOLIACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมพ้ มุ่ บางครง้ั พบเปน็ ไมเ้ ลอ้ื ย มกั ไมม่ หี ใู บ ใบ เดย่ี ว ตดิ ตรงขา้ ม แตล่ ะคตู่ ง้ั ฉากกนั เส้นใบออกจากสองข้างของเส้นกลางใบแบบขนนก ดอก ออกเป็นช่อแบบกระจุก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกัน เกสรเพศผู้มี 5 อัน รังไข่ติดใต้วงกลีบ มี 2-5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียมี 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียมี จำนวนเทา่ กบั ชอ่ งในรงั ไข่ รงั ไขแ่ ตล่ ะชอ่ งมไี ขอ่ อ่ น 1 หนว่ ย ผล แบบมเี นอ้ื เมลด็ มหี นง่ึ ถึงหลายเมล็ด หรือเมล็ดแข็งเมล็ดเดียว ลักษณะเด่นของวงศ์ ใบเดี่ยว ติดตรงข้ามแต่ละคู่ตั้งฉากกัน กลีบดอกเชื่อมติดกัน ยอดเกสรเพศเมีย มีจำนวนเท่ากับช่องในรังไข่ วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Rubiaceae – มีหูใบร่วมอยู่ระหว่างโคนก้านใบที่ออกตรงข้ามกัน มีผลึกรูปเข็ม (raphides) ขอบใบไมจ่ กั ซฟ่ี นั การกระจายพันธุ์ พบทั่วโลก โดยเฉพาะในซีกโลกเหนือ ในประเทศไทยมี 3 สกุล • สกุล Lonicera ไม้เลื้อย ใบเดี่ยว ดอกออกเป็นคู่ แต่ละคู่มีใบประดับ 2 ใบ และใบประดบั ยอ่ ย 4 ใบ ผลมเี นอ้ื หลายเมลด็ พบในปา่ ดบิ เขา เชน่ สายนำ้ ผง้ึ หลวง Lonicera hildebrandiana Collet & Hemsl. • สกุล Viburnum ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น หูใบลดรูปเป็นต่อมน้ำหวาน ใบเดี่ยว ผลมีเมล็ดเดียวแข็ง ส่วนมากพบในป่าดิบเขา ได้แก่ อูน Viburnum sambucinum Blume var. tomentosum Hallier f. • สกลุ Sambucus ใบประกอบแบบขนนก ขอบใบจกั ซฟ่ี นั มหี ใู บ ไดแ้ ก่ สะพา้ นกน๊ Sambucus javanica Reinw. ex Blume พวงไขม่ กุ Sambucus simpsonii Rehder

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 37 สะพ้านก๊น สะพ้านก๊น Sambucus javanica Reinw. ex Blume Sambucus javanica Reinw. ex Blume สายน้ำผึ้งหลวง พวงไขม่ กุ Lonicera hildebrandiana Collet & Hemsl. Sambucus simpsonii Rehder สายน้ำผึ้ง Lonicera japonica Thunb.

38 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศม์ ะดกู CELASTRACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ต้น หรือไม้พุ่ม หูใบเล็ก หลุดร่วงง่าย ใบ เดี่ยว ติดเวียนสลับ หรือตรงข้าม ขอบใบจักซี่ฟัน ดอก สมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ กลีบดอกแยกจากกัน มีจานฐานดอกชัดเจน เกสรเพศผู้มี 4-5 อัน ติดตรงข้าม กลีบเลี้ยง รังไข่ติดเหนือวงกลีบ รังไข่มี 2-5 ช่อง พลาเซนตารอบแกนร่วม ผล เปน็ แบบผลแหง้ แตก เมลด็ มเี นอ้ื ลักษณะเด่นของวงศ์ ใบแห้งมีสีเขียวอมเทาจาง ๆ ขอบใบจักซี่ฟัน ดอกเล็กสีออกเขียว ผลแห้งแตก เมล็ดมี เนื้อสีแดงหรือสีส้มสด วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Aquifoliaceae – ไม่มีจานฐานดอก ยอดเกสรเพศเมียกว้าง ไม่มีก้านเกสร ผลมเี นอ้ื มเี มลด็ แขง็ 3 เมลด็ หรอื มากกวา่ Flacourtiaceae – ใบตดิ เวยี นสลบั รงั ไขม่ ี 1 ชอ่ ง พลาเซนตาตามแนวตะเขบ็ Rhamnaceae – ใบพบน้อยที่ติดตรงข้าม เกสรเพศผู้ติดตรงข้ามกับกลีบดอก การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ นทว่ั ไป บางชนดิ กระจายไปถงึ เขตอบอนุ่ ในประเทศไทยมี 12 สกลุ • สกลุ Bhesa โคนกา้ นใบคลา้ ยนวม เสน้ ใบยอ่ ยเปน็ แบบขน้ั บนั ได ไดแ้ ก่ หยู าน Bhesa indica (Bedd.) Ding Hou • สกุล Celastrus ไม้พุ่มรอเลื้อย ใบติดสลับ ผลแห้งแตก มักมีสีออกเหลือง เมอ่ื แกแ่ ตกออกเปน็ 3-5 เสย่ี ง ไดแ้ ก่ กระทงลาย Celastrus monospermoides Loes. • สกุล Euonymous ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ ใบตดิ ตรงขา้ ม ผลแกแ่ ตกเปน็ 3-5 เสย่ี ง มีกระจายทั่วไป พบตามที่ราบหรือป่าดิบเขาชื้น ได้แก่ กระจับนก Euonymous cochinchinensis Pierre • สกุล Lophopetalum ไม้ต้นในป่าพรุ มีรากหายใจ เมล็ดมีปีก ได้แก่ สองสลึง Lophopetalum duperreanum Pierre • สกุล Mayteneus ไมพ้ มุ่ ตง้ั ตรง ใบตดิ สลบั ดอกออกตามงา่ มใบ รงั ไขม่ ี 3-4 ชอ่ ง ไดแ้ ก่ หนามแดง Mayteneus marcanii Ding Hou • สกลุ Siphonodon ไมต้ น้ รงั ไขม่ หี ลายชอ่ ง ไดแ้ ก่ มะดกู Siphonodon celastrineus Griff.

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 39 ประโยชน์ ผลและเมล็ดของพืชวงศ์นี้หลายชนิด เป็นอาหารของนกและสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมหลายชนิด กระจับนก กระจับนก Euonymous cochinchinensis Pierre Euonymous cochinchinensis Pierre กำแพงเจด็ ชน้ั กำแพงเจ็ดชั้น Salacia chinensis L. Salacia chinensis L. มะเดาะ มะดูก Glyptopetalum sclerocarpum M. A. Lawson Siphonodon celastrineus Griff.

40 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศช์ ะคราม CHENOPODIACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมล้ ม้ ลกุ อายปุ เี ดยี ว หรอื หลายปี หรอื ไมพ้ มุ่ มกั อวบนำ้ ใบ เดย่ี ว เรยี งเวยี นสลบั หรือตรงข้าม ดอก ออกเป็นช่อ ดอกขนาดเล็ก แยกเพศหรือสมบูรณ์เพศ พบน้อยที่ เป็นเพศเดียว สมมาตรตามรัศมี มีวงกลีบรวม 5 กลีบ หรือไม่มีเลย เกสรเพศผู้ ติดตรงข้ามกับกลีบรวม จำนวนเท่ากับกลีบรวมหรือน้อยกว่าก้าน เกสรเพศผู้ แยกจากกนั รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลบี มชี อ่ งเดยี ว ผล แหง้ แกไ่ มแ่ ตก เมลด็ รปู ไต ลักษณะเด่นของวงศ์ วชั พชื ลม้ ลกุ ขน้ึ ในทแ่ี ลง้ หรอื ดนิ เคม็ ดอกขนาดเลก็ ออกเปน็ ชอ่ เกสรเพศผมู้ ี 5 อนั ชดั เจน รงั ไขม่ ี 1 ชอ่ ง การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ น สว่ นมากพบในทแ่ี ลง้ ในประเทศไทยมี 2 สกลุ ทเ่ี ปน็ พชื พน้ื เมอื ง • สกลุ Suaeda มี 1 ชนดิ คอื ชะคราม Suaeda maritima (L.) Dumort. ขน้ึ อยู่ ในดินเค็ม ด้านหลังป่าชายเลน มักขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่เห็นเป็นสีแดงทั้งกลุ่ม ชะคราม Suaeda maritima (L.) Dumort.

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 41 วงศก์ ระดกู ไก่ CHLORANTHACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมล้ ม้ ลกุ ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ ตง้ั ตรง กง่ิ กา้ นมขี อ้ บวมพอง ใบ เดย่ี ว ตดิ แบบตรงขา้ ม และแต่ละคู่ตั้งฉากกัน รวมทั้งแบบที่ติดข้อเดียวกันหลายใบ ขอบจักซี่ฟัน เส้นใบออกจากสองข้างของเส้นกลางใบแบบขนนก ระหว่างโคนก้านใบมีสัน หรอื มหี ใู บ ดอก ออกเปน็ ชอ่ ทป่ี ลายยอด ดอกลดรปู ไมม่ กี ลบี รงั ไขต่ ดิ ใตว้ งกลบี รงั ไขม่ ี 1 ชอ่ ง มไี ขอ่ อ่ น 1 หนว่ ย ตดิ หอ้ ยลง ผล กลม มเี นอ้ื เมลด็ เดยี วแขง็ ลักษณะเด่นของวงศ์ ไม้พุ่ม กิ่งก้านมีข้อบวมพอง ระหว่างโคนก้านใบมีสัน ดอกลดรูปไม่มีกลีบ ผลเมื่อสุกสีขาว หรือสีแดง การกระจายพันธุ์ ในประเทศไทยมี 2 สกลุ เชน่ • สกลุ Chloranthus เปน็ ไมพ้ มุ่ ขนาดเลก็ ผลเมอ่ื สกุ สขี าว ทเ่ี ปน็ พชื สมนุ ไพร คอื กระดกู ไก่ Chloranthus erectus (Buch.-Ham.) Verdc. ใบใชท้ ำชา คอื Chloranthus spicatus (Thunb.) Makino • สกุล Sarcandra ได้แก่ กระดูกเกลี้ยง Sarcandra glabra (Thunb.) Nakai subsp. brachystachys (Blume) Verdc. เปน็ ไมพ้ มุ่ ผลเมอ่ื สกุ สแี ดง สกุล Chloranthus

42 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศม์ ะพอก CHRYSOBALANACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ต้น มีหูใบ ใบ เดี่ยว ติดเรียงสลับ ขอบเรียบ เส้นใบออกจากสองข้างของ เสน้ กลางใบแบบขนนก ดอก สมมาตรดา้ นขา้ ง เกสรเพศผจู้ ำนวนมาก ฐานดอกกลวง กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมอี ยา่ งละ 5 กลบี แยกจากกนั เปน็ อสิ ระ รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลบี กา้ นเกสรเพศเมยี ตดิ บนรงั ไขด่ า้ นขา้ ง หรอื คอ่ นมาทฐ่ี าน ผล มีเนื้อ เมล็ดแข็ง วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Rosaceae – ขอบใบจกั ซฟ่ี นั ดอกสมมาตรตามรศั มี รงั ไขต่ ดิ ใตว้ งกลบี กา้ นเกสร เพศเมียติดที่ยอดของรังไข่ การกระจายพันธุ์ ในเขตร้อนทั่วไป ในประเทศไทยส่วนมากพบในป่าดิบเขาชื้นที่ต่ำ เช่น • สกลุ Maranthes ไดแ้ ก่ ชขี าดเพล Maranthes corymbosa Blume มตี อ่ มท่ี โคนของแผ่นใบ • สกุล Parinari ได้แก่ มะพอก Parinari anamense Hance ใบมีขนสีขาว เสน้ รา่ งแหเปน็ แบบขน้ั บนั ได ผลมตี มุ่ มะพอก Parinari anamense Hance

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 43 วงศฝ์ า้ ยคำ COCHLOSPERMACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมต้ น้ ผลดั ใบ ใบ เดย่ี ว จกั เปน็ แฉกรปู นว้ิ มอื ตดิ เวยี นสลบั หใู บหลดุ รว่ งงา่ ย ดอก สมบรู ณเ์ พศ สมมาตรตามรศั มี กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมอี ยา่ งละ 5 กลบี กลบี เลย้ี ง และกลบี ดอกแยกจากกนั เรยี งซอ้ นเหลอ่ื มกนั เกสรเพศผมู้ จี ำนวนมาก รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลบี มี 3-5 ชอ่ ง ผล แบบผลแหง้ แตก เมลด็ มจี ำนวนมาก มขี นคลา้ ยไหมลอ้ มรอบ ลักษณะเด่นของวงศ์ ไม้ต้น ใบเดี่ยวจักเป็นแฉกรูปนิ้วมือ ดอกสีเหลือง สมบูรณ์เพศ เกสรเพศผู้ มีจำนวนมาก ผลแบบผลแห้งแตก เมล็ดจำนวนมาก มีขนคล้ายไหมล้อมรอบ วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Bixaceae – ดอกสแี ดง ผลแบบผลแหง้ แตก มหี นาม Bombacaceae – มีเกล็ดหรือขนรูปดาว กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ นทว่ั ไป ในประเทศไทยมสี กลุ เดยี ว 2 ชนดิ • สกุล Cochlospermum ได้แก่ ฝ้ายคำ Cochlospermum religiosum (L.) Alston สพุ รรณกิ าร์ Cochlospermum regium (Mart. & Schrank) Pilg. นยิ มปลกู เป็นไม้ประดับ สุพรรณิการ์ Cochlospermum regium (Mart. & Schrank) Pilg.

44 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศส์ มอ COMBRETACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมต้ น้ ไมพ้ มุ่ หรอื ไมเ้ ลอ้ื ย ใบ เดย่ี ว เวยี นสลบั หรอื ตดิ ตรงขา้ ม ขอบเรยี บ เสน้ ใบ ออกจากสองข้างของเส้นกลางใบแบบขนนก ดอก สมมาตรตามรัศมี ส่วนมาก สมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 หรือ 5 กลีบ แยกจากกัน เกสรเพศผมู้ จี ำนวน 2 เทา่ ของกลบี ดอก รงั ไขต่ ดิ ใตว้ งกลบี มี 1 ชอ่ ง ไขอ่ อ่ นมี 2 หนว่ ย ตอ่ หนง่ึ ชอ่ ง ผล เมลด็ เดยี วแขง็ บางทมี ปี กี ลักษณะเด่นของวงศ์ ใบติดเวียนสลับ มีจุดโปร่งใสเล็ก ๆ มีต่อมที่โคนใบ หรือบนก้านใบ กลีบเลี้ยง เรียงชนกัน กลีบดอกแยกจากกัน เกสรเพศผู้มีจำนวนเป็นสองเท่าของกลีบดอก มจี านฐานดอก ผลมปี กี หรอื มเี นอ้ื เมลด็ เดยี วแขง็ การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ นทว่ั ไป ในประเทศไทยมี 5 สกลุ เชน่ • สกุล Getonia (เดิม Calycopteris) ไม้เลื้อย ผลที่ปลายมีกลีบเลี้ยงที่ยื่น ยาวออกไป ไดแ้ ก่ ตง่ิ ตง่ั Getonia floribunda (Roxb.) Lam. • สกุล Combretum ไม้เลื้อย ใบติดตรงข้าม มีเกล็ด ผลมีปีก พบในป่าดิบที่ต่ำ ไดแ้ ก่ สะแกนา Combretum quadrangulare Kurz • สกลุ Lumnitzera ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ ขนาดเลก็ พบในปา่ ชายเลน ไดแ้ ก่ ฝาดแดง Lumnitzera littorea (Jack) Voigt ฝาดขาว Lumnitzera racemosa Willd. • สกุล Quisqualis กา้ นใบกลายเปน็ หนาม ไดแ้ ก่ เลบ็ มอื นาง Quisqualis indica L. • สกุล Terminalia ไม้ต้น แตกกิ่งแบบเจริญด้านข้าง (sympodial) ใบออกเป็น กระจุก ไม่มีกลีบดอก พบในเขตร้อนทั่วไป พบในป่าดิบที่ต่ำ ได้แก่ สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. ประโยชน์ ไม้ประดับ ได้แก่ สกุล Combretum Quisqualis และ Terminalia ที่ใช้เนื้อไม้ ได้แก่ สกุล Terminalia ผลของสกุล Terminalia กระจายไปโดยน้ำ และค้างคาว

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 45 เล็บมือนาง อวดเชอื ก Quisqualis indica L. Combretum latifolium Blume ตง่ิ ตง่ั เปื๋อย Getonia floribunda (Roxb.) Lam. Terminalia pedicellata Nanakorn. คดสงั สมอพิเภก Combretum trifolium Vent. Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb.

46 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศท์ านตะวนั COMPOSITAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมล้ ม้ ลกุ หรอื ไมพ้ มุ่ ไมม่ หี ใู บ ใบ เดย่ี ว หรอื ใบประกอบ ใบสว่ นมากตดิ เวยี นสลบั ดอก ออกเป็นช่อกระจุกแน่นล้อมรอบด้วยวงกลีบประดับ กลีบเลี้ยงเปลี่ยนรูป เป็นขนเรียกว่า pappus กลีบดอกเชื่อมติดกัน ดอกมีอยู่ 2 ชนิด วงนอกเป็น ดอกสมมาตรด้านข้าง เรียกว่า ray flower วงในเป็นดอกรูปท่อ สมมาตรตามรัศมี เรยี กวา่ disk flower กา้ นเกสรเพศเมยี แตกเปน็ 2 แฉก รงั ไขต่ ดิ ใตว้ งกลบี มี 1 ชอ่ ง ไข่อ่อน 1 หนว่ ย ผล แหง้ เมลด็ ลอ่ น ทป่ี ลายมขี นตดิ แนน่ ลักษณะเด่นของวงศ์ ไม้ล้มลุก หรือไม้พุ่ม ใบมักออกเป็นกระจุกที่ผิวดิน ช่อดอกเป็นกระจุกแน่น ล้อมรอบด้วยวงกลีบประดับ ดอกมี 2 ชนิด คือ ray flower และ disk flower ผลแห้งเมล็ดล่อน การกระจายพันธุ์ ทั่วโลก ในประเทศไทยมีสกุลต่างๆ ดังนี้ • สกลุ Bidens ไมล้ ม้ ลกุ สว่ นมากเปน็ วชั พชื เชน่ กน้ จำ้ Bidens biternata (Lour.) Merr. & Sherff • สกลุ Blumea ไมล้ ม้ ลกุ และไมพ้ มุ่ พบในทโ่ี ลง่ แจง้ และในปา่ ไดแ้ ก่ หนาดใหญ่ Blumea balsamifera (L.) DC. • สกุล Dichrocephala พบตามพื้นป่า ได้แก่ ผักชีดอย Dichrocephala integrifolia (L.f.) Kuntze • สกลุ Chromolaena พบกระจายทว่ั ไป ตามทโ่ี ลง่ แจง้ และในปา่ ไดแ้ ก่ สาบเสอื Chromolaena odoratum (L.) R. M. King & H. Rob. • สกุล Wedelia ไม้ล้มลุกเลื้อย พบในเขตร้อนทั่วไป ได้แก่ กระดุมทองเลื้อย Wedelia trilobata (L.) Hitchc. • สกุล Vernonia สกุลนี้ที่เป็นไม้ต้น คือ กะพวมมะพร้าว Vernonia arborea Buch.-Ham. var. arborea ประโยชน์ พืชในวงศ์นี้มีหลายชนิดที่ปลูกเป็นไม้ประดับ เช่น ดาวกระจาย Cosmos sulphureus Cav. รักเร่ Dahlia pinnata Cav. บานชื่น Zinnia violacea Cav. บางชนดิ ใบกนิ ได้ เชน่ ผกั กาดหอม Lactuca sativa L. บางชนดิ เปน็ พชื สมนุ ไพร เชน่ โกฐจฬุ าลำพา Artemesia annua L.

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 47 รักเร่ ทานตะวัน Dahlia pinnata Cav. Helianthus annuus L. แอสเตอร์ หนาดดำ Callistephus chinensis (L.) Nees Vernonia squarrosa (D. Don) Less. ไข่ขาง กระดมุ ทอง Senecio craibianus Hosseus Melampodium divaricatum (Pers.) DC.

48 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศก์ ระทงลอย CRYPTERONIACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไมต้ น้ ตามขอ้ บวมพอง หใู บถา้ มจี ะมขี นาดเลก็ มาก ใบ เดย่ี ว ตดิ ตรงขา้ มกนั เปน็ คู่ ๆ แต่ละคู่สลับตั้งฉากกัน ขอบเรียบ เส้นใบออกจากสองข้างของเส้นกลางใบแบบ ขนนก มเี สน้ เรยี บขอบใบ ดอก เปน็ ชอ่ แบบแตกแขนง ดอกสมบรู ณเ์ พศ รงั ไขต่ ดิ เหนอื วงกลีบ หรือใต้วงกลีบ กลีบดอกหลุดร่วงง่าย อาจไม่เจริญหรือไม่มีเลย เกสรเพศผู้ ล้อมรอบด้วยกลีบดอก ผล เป็นแบบผลแห้งแตก มีปีกซึ่งเจริญมาจากกลีบเลี้ยง ลักษณะเด่นของวงศ์ ไม้ต้น ตามข้อบวมพอง ดอกไม่มีกลีบดอก ผลมีปีกซึ่งเจริญมาจากกลีบเลี้ยง วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Lythraceae – ชอ่ ดอกแบบกระจกุ มฐี านรองดอก Melastomaceae – ใบมกั มเี สน้ ใบออกจากโคนใบ 3 เสน้ ไมม่ หี ใู บ กลบี ดอกใหญ่ Myrtaceae – ไมม่ หี ใู บ ใบมจี ดุ โปรง่ แสง ขอ้ ไมบ่ วม การ?ก??ร?ะ??จ?า?ย??พ?ใันนธเขุ์ ตรอ้ น ในประเทศไทยมี 1 สกลุ 1 ชนดิ • กระทงลอย Crypteronia paniculata Blume ไม้ต้น ขึ้นอยู่ในป่าดิบที่ต่ำ ไม่มี กลีบดอก รังไข่ติดเหนือวงกลีบ กระทงลอย Crypteronia paniculata Blume ?????????????

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 49 วงศส์ มพง DATISCACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ต้น ไม่มีหูใบ ใบ เดี่ยว ติดเวียนสลับ ขอบจัก ดอก แยกเพศแยกต้น สมมาตรตามรัศมี ไม่มีกลีบดอก รังไข่ติดใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียแยกออกเป็น 4 แฉก ไขอ่ อ่ นมี จำนวนมาก ผล เปน็ แบบผลแหง้ แตก ลักษณะเด่นของวงศ์ ไมต้ น้ ผลดั ใบ โคนลำตน้ มพี พู อน ขอบใบจกั ดอกออกเปน็ ชอ่ ผลแหง้ เมลด็ จำนวน มาก วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Flacourtiaceae – รังไข่ติดเหนือวงกลีบ การกระจายพันธุ์ ในประเทศไทยมี 1 ชนดิ • สมพง Tetrameles nudiflora R. Br. พบในปา่ ดบิ ประโยชน์ พชื วงศน์ ม้ี ลี ำตน้ สงู เนอ้ื ไมอ้ อ่ น นยิ มใชท้ ำเรอื แคนู เมลด็ มขี นาดเลก็ กระจายทั่วไปโดยลม สมพง Tetrameles nudiflora R. Br.

50 ลกั ษณะประจำวงศพ์ รรณไม้ วงศม์ นุ่ ดอย ELAEOCARPACEAE ลักษณะประจำวงศ์ ไม้ต้น หรือไม้พุ่ม เป็นไม้เนื้อแข็ง มีหูใบ ใบ เดี่ยว ติดเวียนสลับ ขอบจัก ดอก สมบูรณ์เพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ แยกจากกัน กลีบดอกปลายกว้างเป็นชายครุย มีจานฐานดอก ก้านชูอับเรณูติด ที่โคนอับเรณู รังไข่ติดเหนือวงกลีบมี 2-5 ช่อง ไข่อ่อนติดที่แกนผนังรังไข่ กา้ นเกสรเพศเมยี มี 1 อนั ผล เปน็ แบบผลแหง้ แตก หรอื ผลมเี นอ้ื เมลด็ เดยี วแขง็ ลักษณะเด่นของวงศ์ ไม้ต้น ใบติดเวียนสลับ ขอบใบจักฟันเลื่อย ช่อดอกเป็นแบบชนิดที่ดอกย่อย มีก้านดอก ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบดอกเป็นชายครุย เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก วงศใ์ กลเ้ คยี ง – ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง Sterculiaceae และ Tiliaceae – กา้ นชอู บั เรณตู ดิ ทด่ี า้ นหลงั อบั เรณู มขี นรปู ดาว ช่องอับเรณูเป็นเมือก Simaroubaceae – สกุล Irvingia หูใบจะทิ้งรอยแผลเป็นไว้เมื่อหลุดร่วงไป การกระจายพันธุ์ ในเขตรอ้ น ในประเทศไทยมี 2 สกลุ • สกุล Elaeocarpus พบในป่าดิบชื้นตั้งแต่ระดับน้ำทะเลถึงป่าดิบเขา กลบี ดอกเปน็ ชายครยุ ใบเมอ่ื แหง้ สแี ดง เชน่ เหมอื ดดอย Elaeocarpus floribundus Blume ผลเมล็ดเดียวแข็ง • สกลุ Sloanea ดอกออกเดย่ี ว ๆ ผลเปน็ แบบผลแหง้ แตก มหี นาม ไดแ้ ก่ เงาะปา่ Sloanea sigun (Blume) K. Schum. ประโยชน์ สกุล Elaeocarpus เมล็ดกินได้ เป็นอาหารของนกและค้างคาว เนื้อไม้ใช้ใน การก่อสร้าง และเป็นไม้ประดับ