Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเรียนรู้ประวัติศาสตร์อยุธยาผ่านสื่อ Virtual Field Trip

การเรียนรู้ประวัติศาสตร์อยุธยาผ่านสื่อ Virtual Field Trip

Description: การเรียนรู้ประวัติศาสตร์อยุธยาผ่านสื่อ Virtual Field Trip

Search

Read the Text Version

สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ลิขสิทธขิ์ องสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0 2288 5735 โทรสาร 0 2281 2602 สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ดำเนนิ การจัดพิมพ ISBN 978-616-202-859-5 พมิ พคร้ังที่ 1 พ.ศ. 2556 จำนวนพิมพ 34,000 เลม พมิ พที่ โรงพมิ พช ุมนมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จำกัด 79 ถนนงามวงศว าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพิมพผ โู ฆษณา

คำนำ คุณคาในการเรียนรูประวัติศาสตรไทย คือ การกอใหเกิด “การเขาใจ รากเหงาความเปนไทย รักและภาคภูมิใจในชาติไทย” ซ่ึงการพัฒนาผูเรียน ใหเกิดคุณลักษณะดังกลาว ครูผูสอนประวัติศาสตรจะตองเขาใจและสามารถ จัดกระบวนการเรยี นรูไดถกู ตองตามธรรมชาติของวชิ า หลักการ หลกั คิด และวิธกี าร ทางประวัติศาสตร ซ่ึงเปนวิธีการศึกษาเรื่องราวสำคัญท่ีเกิดขึ้นในอดีตดวยการสืบคน จากหลักฐานรองรอยทางประวัติศาสตรอยางเปนระบบ ผานการคิด วิเคราะห วนิ ิจฉัยบนพื้นฐานของความเปน เหตแุ ละผลจากขอเทจ็ จรงิ ทีห่ ลากหลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดทำ สื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร เปนสื่อการเรียนรูออนไลนท่ีเสนอเน้ือหาสาระในรูปแบบ ที่หลากหลายทั้งวีดิทัศน สาระความรูเพ่ิมเติมจากวีดิทัศน ภาพ 360 ํ แบบทดสอบ กอนเรยี น - หลังเรยี น มุมสนทนาแลกเปลีย่ นเรียนรรู ว มกัน ซงึ่ เปน ส่อื ทส่ี ง เสรมิ ใหท ุกคน สามารถเรียนรูดวยตนเองไดทุกเวลาทุกสถานที่ตามความสนใจ อีกท้ังชวยกระตุน ใหผูเรียนสนใจใฝเรียนรูเร่ืองราวความเปนมาของชาติไทยท่ีสะทอนใหเห็นถึง ความสามารถและภูมิปญญาของบรรพบุรุษไทยในอดีตที่ไดสรางสรรคเปนมรดก ทางวัฒนธรรมสืบตอมาจวบจนปจจุบัน นอกจากน้ี ยังเปนเคร่ืองมือชวยใหครูผูสอน สามารถจัดการเรียนรูป ระวัตศิ าสตรไ ดบ รรลผุ ลตามเจตนารมณของหลกั สูตร เอกสาร “การเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip” เปนสวนหน่ึงของสื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง ซึ่งจัดพิมพข้ึนเพื่อรองรับ กลมุ ผูเรียนทไี่ มสามารถเรยี นรผู านระบบออนไลนไ ด ภายในเลมแบงออกเปน 2 สว น คือ สวนท่ี 1 การจัดการเรียนรปู ระวตั ศิ าสตรอ ยุธยาสำหรบั ครู และสว นท่ี 2 การเรียนรู ประวัติศาสตรอยุธยาสำหรับนักเรียน ในสวนของเน้ือหานำเสนอ 5 ประเด็นหลัก คือ การสถาปนากรุงศรีอยุธยา วีรกษัตริยแหงอยุธยา อยุธยาเมืองทาการคานานาชาติ ประณตี ศิลปแหงอยธุ ยา และนครประวตั ศิ าสตรอ ยุธยา : มรดกโลก สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขอขอบคุณผูเขียน ผูตรวจ และผทู มี่ ีสว นเก่ียวขอ งในการจัดทำเอกสารนี้ใหสำเร็จลลุ ว งดว ยดีไว ณ โอกาสนี้ (นายชินภัทร ภูมริ ัตน) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

สารบัญ สว นท่ี 1 การจดั การเรียนรปู ระวัติศาสตรอยุธยา ผา นสอื่ Virtual Field Trip สำหรับครู หนา ♦ แนวทางการใชช ุดส่ือการเรียนรูประวัตศิ าสตรอ ยธุ ยา 2 ♦ คำช้ีแจงการใชชดุ ส่อื การเรยี นรูประวัตศิ าสตรอ ยุธยา 9 10 ❂ กรอบเน้อื หาสาระของเอกสารการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรอ ยธุ ยา 11 ❂ การวเิ คราะหห ลักสตู รสาระประวตั ศิ าสตร ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 16 ❂ การวเิ คราะหเนือ้ หาและการนำเสนอในชุดส่อื การเรยี นรูประวัติศาสตรอ ยุธยา 19 ❂ โครงสรา งของเอกสารการเรยี นรูประวัตศิ าสตรอ ยธุ ยา 20 ❂ วธิ ีการใชชุดสือ่ การเรยี นรูประวตั ิศาสตรอ ยธุ ยา 23 ♦ แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรปู ระวัตศิ าสตรอ ยธุ ยา 32 สว นท่ี 2 การเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรอยธุ ยา ผา นสอ่ื Virtual Field Trip สำหรับนักเรยี น

เกร่ินนำ บางครั้งในการจัดการเรียนรูประวัติศาสตร นักเรียนหลายคนมักตั้งคำถามวา “จริงหรือไม” “เช่ือไดหรือไม” “รูไดอยางไร” ทั้งสงสยั คลางแคลงใจวาที่เรยี นกันมาในหนังสือเรียนประวัติศาสตรน้ัน เปน เรอื่ งถกู ตองหรือไม อันที่จริงเรื่องราวในประวัติศาสตรแมไดผานระยะเวลามาเนิ่นนานมานานมาก บางเรื่อง ยาวนานมากกวา 10,000 ป แตยังคงปรากฏรองรอยบางประการหลงเหลือใหไดศึกษารองรอยที่ หลงเหลอื ใหศกึ ษาไดในปจ จบุ ันนีเ้ ราเรียกวา หลักฐานทางประวัตศิ าสตร ซ่ึงมีทั้งสิ่งของเคร่อื งใช อาวุธ เคร่ืองประดับ โครงกระดูก รอ งรอยคนั นำ้ คดู นิ กำแพงเมอื ง แสดงรองรอยการสรางบานเมือง สงิ่ กอสรา ง ทีท่ รุดโทรมปรกั หกั พัง รปู เคารพ เชน เทวรูป พระพทุ ธรูป ภาพตามผนังถำ้ หรอื ตามศาสนสถาน เหลานี้ คือ หลักฐานโบราณคดี ซึ่งนักโบราณคดีท่ีมีความรูไดศึกษาวิเคราะหดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร และโบราณคดี แลวจึงตีความอธิบายใหเราไดเขาใจ นอกจากน้ี ยังมีหลักฐานท่ีเปนตัวหนังสือ เรียกวา หลักฐานลายลักษณอักษร เชน ศิลาจารึก เอกสารโบราณเขียนในใบลานหรือวัสดุตาง ๆ รวมทั้งจารึก ตามเสา ที่ตองใชนักภาษาศาสตรท่ีเช่ียวชาญทางตัวหนังสือโบราณชาติตาง ๆ ศึกษาและวิเคราะห ตีความอธิบายใหเราไดรับรูเรื่องราวที่บอกเลาผานวัตถุน้ัน ๆ สวนนักประวัติศาสตร คือผูที่สืบคน ความจริงในอดีต โดยรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร ที่มีท้ังหลักฐานของนักโบราณคดี นักภาษาศาสตร นักภูมิศาสตร นักวิทยาศาสตร รวมท้ังบันทึกที่เปนจดหมาย แผนที่ ภาพวาด หรือเอกสารในภาษาตาง ๆ ของนักเดินทางท่ีเก่ียวของกับเรื่องท่ีศึกษาทั้งหมดมาประมวลเขาดวยกัน และศึกษาวิเคราะหอยางเปนระบบดวยวิธีการท่ีเรียกวา วิธีการทางประวัติศาสตร เพื่อใหไดความจริง ในอดตี ทมี่ ีเหตผุ ลเช่ือถือได เปนประวตั ิศาสตรใ หอนชุ นรุน ตอ มาไดเ รยี นรู ดังนั้น เร่ืองราวท่ีนักเรียนไดเรียนรูจึงไมใชเปนเร่ืองท่ีเช่ือถือไมได เพราะแตละเร่ืองไดผาน กระบวนการศึกษาวิเคราะหมาจากหลักฐานทางประวัติศาสตรทั้งส้ิน แตบางเรื่องอาจมีการเปล่ียนแปลงได หากมกี ารพบหลกั ฐานใหม หรอื การศึกษาวิเคราะหใ หมท่นี าเชอ่ื ถือมากกวา วีดิทัศนชุดส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip และเน้ือหาสาระ ประเด็นตาง ๆ ท่เี พ่มิ เตมิ ในเอกสารการจัดการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรอ ยุธยา ผา นสื่อ Virtual Field Trip เลมนี้ จะชวยใหนักเรียนเขาใจประวัติศาสตรอยุธยาไดดียิ่งข้ึน เพราะไดเห็นหลักฐานทางประวัติศาสตร ที่สะทอนความสามารถและภูมิปญญาของบรรพบุรุษไทยในอดีตที่ไดสรางสรรคเปนมรดกทางวัฒนธรรม สืบตอ มาจวบจนปจ จุบนั

“ บางครงั้ ในการเรยี นประวตั ศิ าสตร นกั เรียนหลายคนตั้งคำถามวา “จริงหรือไม” “เช่อื ไดหรอื ไม” “รไู ดอ ยางไร” รวมถงึ ยังสงสยั คลางแคลงใจวา ที่เรียนมาน้นั เปน เรอื่ งถูกตอ งหรอื ไม ”

สำหรับครู

แนวทางการใชช ุดส่อื การเรยี นรูประวัตศิ าสตรอ ยธุ ยา ผา นส่อื Virtual Field Trip เปนที่ยอมรับกันโดยท่ัวไปแลววา คุณคาทางการเรียนรูประวัติศาสตรคือการกอใหเกิด “การเขาใจรากเหงาความเปนไทย รัก และภูมิใจในชาติตน” ซึ่งประโยชนดังกลาวจะเกิดขึ้นไดก็ตอเม่ือ ครูผูสอนประวัติศาสตรเขาใจและสามารถจัดกระบวนการเรียนรูไดถูกตองตามธรรมชาติของวิชา หลักการ และหลักคิด (Concept) และวิธีการทางประวัติศาสตร (Historical Method) ซึ่งเปนวิธีการศึกษา เรื่องราวสำคัญที่เกิดขึ้นในสังคมมนุษยในอดีต ดวยการสืบคนจากหลักฐานรองรอยตาง ๆ อยางเปนระบบ ผานการคิดวิเคราะห คิดวิพากษวิจารณ และคิดวินิจฉัยบนพื้นฐานของความเปนเหตุและผลจากขอเท็จจริง ท่หี ลากหลาย จากวดี ทิ ศั นประกอบสอ่ื การเรยี นรนู อกหองเรยี นเสมอื นจรงิ : Virtual Field Trip ประวัติศาสตร เปนส่ือการเรียนรูอีกรูปแบบหน่ึงที่จะชวยกระตุนใหผูเรียนสนใจความเปนมาของชาติบานเมือง และ การศึกษาจากเอกสาร “การเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานสื่อ Virtual Field Trip” อันเปนเน้ือหาสาระ ท่ีเสริมความรูเพ่ิมเติมจากสาระประวัติศาสตรท่ีนำเสนอในวีดิทัศน จะเปนเคร่ืองมือท่ีชวยใหครูผูสอน ประวัติศาสตรสามารถจัดการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ มากยง่ิ ขน้ึ อันท่ีจริงองคประกอบของการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรน้ันเหมือนกับสาระอื่น ๆ คือ ประกอบดวย (1) หลักสูตร (2) ครูผูสอน (3) วิธีสอน (4) ส่ือการเรียนการสอน และ (5) การวัดและ ประเมินผล ท้ังน้ี เอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยาชุดนี้ จะมีบทบาทเปนส่ือการเรียนการสอน ทค่ี รผู ูสอนสามารถนำไปใชท ัง้ ในหอ งเรยี น นอกหองเรียน ประกอบกจิ กรรมการเรียนรูอ่นื ๆ หรือมอบหมาย ใหผ ูเ รยี นศึกษาดว ยตนเองตามความสนใจ อยางไรก็ตาม องคประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรูดังกลาว ครูผูสอนนับวามีความสำคัญ ท่ีสุดท่ีจะตองเปนผูจัดการดึงศักยภาพของผูเรียนใหสามารถเรียนรูไดดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของการสังเกต การศึกษาจากสถานการณจริง และการคิดวิเคราะหเพ่ือบูรณาการความรู ไดดว ยตนเองโดยสอดคลองกับระดบั วฒุ ิภาวะทีเ่ หมาะสม คุณสมบัติสำคัญที่สุดที่ครูผูสอนประวัติศาสตรพึงมีอยางนอยที่สุด 3 ประการ ประการแรก คือ ความเขา ใจหลกั สูตร มาตรฐานการเรียนรู และตวั ชี้วัดชั้นป ประการท่สี อง คือ การมพี นื้ ฐานความรูใ นเรือ่ ง เนื้อหาสาระ และ Concept ทางประวัติศาสตรที่ดีพอสมควร ซ่ึงในกรณีน้ีหากครูผูสอนมิไดมีพ้ืนฐานมากอน  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ก็สามารถศึกษาไดดวยตนเอง ในที่น้ีขอแนะนำหนังสือ 2 เลม ท่ีสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ไดจัดพิมพและแจกใหสถานศึกษาทุกแหง รวมท้ังแจกใหผูเขาประชุมสัมมนาประวัติศาสตรท่ีสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดจัดขึ้นในระหวาง พ.ศ. 2545 - 2554 คือ เอกสาร คูมือการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร : ประวัติศาสตรไทยจะเรียนจะสอนกันอยางไร (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2543) และคูมือครู การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร (เอกสาร โรเนียว, 2554) และประการสุดทาย คือ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบรรลุตามหลักสูตร (เปา หมายในการพัฒนาผเู รียน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค) และคุณคา ของ ประวัตศิ าสตร เพอื่ สรา งความเขา ใจดงั กลาวจึงไดว เิ คราะหหลักสูตรใหเห็นชดั เจน ดังน้ี 1. เปา หมายในการพัฒนาผูเรียน เน่ืองจากประวัติศาสตรเปนวิชาหน่ึงในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งความใน “ทำไมตองเรียน สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม” ทีค่ รผู ูสอนประวตั ศิ าสตรค วรจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ หส อดคลอ งกบั เปา หมายดงั กลาว ดงั นี้ ทำไมตองเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรยี นรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชว ยใหผเู รียนมีความรู ความเขา ใจ การดำรงชีวิตของมนุษยทั้งในฐานะปจเจกบุคคลและการอยูรวมกันในสังคม การปรับตัว ตามสภาพแวดลอม การจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัด เขาใจถึงการพัฒนาท่ีเปล่ียนแปลง ตามยุคสมัย กาลเวลาตามเหตุปจจัยตาง ๆ เกิดความเขาใจในตัวเองและผูอื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกตาง และมีคุณธรรม สามารถนำความรูไปปรับใชในการดำเนินชีวิต เปน พลเมอื งดขี องประเทศชาติและสังคมโลก ภารกจิ ของครผู สู อนในการจดั การเรยี นรจู ึงควรเนน การพัฒนาผเู รียน ดังนี้ 1) พัฒนาตนเองเปนปจเจกบุคคลที่มีคุณภาพ เชน ใฝเรียนรู เพิ่มศักยภาพตนเองใหกาวหนา ทนั สมัยทันเหตุการณ 2) สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข เชน การยอมรับในความสามารถ ของตนเองและผูอ นื่ ยอมรับและเคารพในความแตกตา ง อดทนอดกลน้ั 3) เขาใจและเห็นคุณคาของการอยูรวมกันในสังคม เชน การเปนพลเมืองไทยและพลโลกท่ีมี ประสิทธิภาพ มีจติ สำนกึ ในความเปน ชาติ มีจติ สาธารณะ เสยี สละสวนตนและพวกพอง เพ่อื รักษาประโยชน ของสงั คมและประเทศชาติ  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

4) เขาใจและเห็นคุณคาทรัพยากรและส่ิงแวดลอม เชน การมีจิตสำนึกและจิตอาสาในการ รักษาธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม 5) รูเทาทันและปรับตัวในโลกปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพ โลกปจจุบันยุคโลกาภิวัตน ที่กาวไกล และเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะทางดานขอมูลและการส่ือสาร ท่ีมีท้ังเท็จและจริง ปะปนกันอยู ดังนั้น นอกจากการพัฒนาผูเรียนใหสามารถใชเทคโนโลยีไดแลว ยังควรใหความสำคัญกับ การตรวจสอบขอ มลู เพือ่ ใหเปน บคุ คลท่รี เู ทาทันขอ มูลขาวสารดวย 2. สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดระบุวาการพัฒนาผูเรียน ใหบ รรลมุ าตรฐานการเรียนรู จะชวยใหผ เู รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ คือ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคดิ 3) ความสามารถในการแกป ญ หา 4) ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี สมรรถนะสำคัญที่หลักสูตรกำหนดดังกลาวเปนส่ิงที่หลักสูตรคาดหวังวากิจกรรมการจัด การเรยี นรคู วรพัฒนาผูเรยี นใหมคี วามสามารถท้งั 5 ดาน ในท่นี ีข้ อยกตัวอยา งสมรรถนะสำคัญเพยี ง 1 ดาน เพือ่ แสดงใหเห็นวา สมรรถนะสำคญั ของผเู รียนจะนำไปสกู ารออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรไู ดอ ยา งไร ความสามารถในการสอ่ื สาร ประกอบดวย 1. การรับสาร เชน การฟง - การอา น จับใจความสำคญั ได การดู - การเห็น - การสำรวจ แยกแยะรายละเอียดของเรื่องราวได 2. การสง สาร เชน การเลาเร่อื ง การเขียนเรอื่ ง การจัดนิทรรศการ 3. การตอรอง เชน การแสดงเหตผุ ล การใชภาษาโนมนาวเพอ่ื ลดความขัดแยง 4. การเลอื กรบั - ไมร บั ขอ มูล เชน การตรวจสอบความนาเช่ือถือของแหลง ที่มาขอ มลู จะเห็นวาขอพิจารณาดังกลาว จะทำใหครูผูสอนไดกรอบแนวคิดนำมาซ่ึงวิธีการออกแบบกิจกรรม การเรียนรูในการฝกทักษะผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การใหศึกษาวีดิทัศน และใหตอบคำถาม ตามลำดบั ขัน้ ตอนทถ่ี ูกตอ ง โดยเริ่มจากคำถามที่เปน ขอเท็จจรงิ (เชน ใคร ทำอะไร ทีไ่ หน เมื่อไร อยางไร) อันเปนการทบทวนเร่ืองที่ไดศึกษาจากส่ือ จากนั้นจึงเปนคำถามวิเคราะห (ทำไม) ตามดวยการแสดง ความคิดเห็นตอเรื่องที่ไดศึกษาอยางมีเหตุผล (นักเรียนคิดวา) หรืออาจแสดงความคิดเห็นตอส่ือวีดิทัศน ทางดา นคณุ ภาพหรือความนาเชื่อถอื ของขอมูลหลกั ฐาน เปนตน  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค หลักสูตรไดระบุไวชัดเจนถึง “คุณลักษณะอันพึงประสงค” อันเปรียบเสมือนเจตคติ คานิยมทีส่ ำคัญในการเปนพลเมอื งไทยและพลโลกไว 8 ขอ คอื 1) รักชาติ ศาสน กษตั ริย 2) ซอื่ สัตยสุจริต 3) มวี ินัย 4) ใฝเ รียนรู 5) อยูอยางพอเพียง 6) มุงม่นั ในการทำงาน 7) รกั ความเปน ไทย 8) มีจิตสาธารณะ ท้ังเปาหมายในการพัฒนาผูเรียน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค ลวนเปนส่ิงท่ีคาดหวังวาจะปรากฏในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผูสอนในทุกสาระวิชา เพ่ือให “บรรลุผลตามหลักสูตร” สวนคุณคาของประวัติศาสตรที่หวังวาจะเกิดในตัวผูเรียน คือกระบวนการ สรา งภูมิปญญาทีจ่ ะพัฒนาผูเรยี นใหเ ปน ปญ ญาชนของชาติ ไดแ ก 1) สงเสริมจิตใจใฝรู (Inquiring Mind) ในเร่ืองราวท่ีเกี่ยวของกับสังคมมนุษยทั้งในระดับ ทอ งถน่ิ ประเทศชาติ และสังคมมนษุ ยอ ื่น ๆ 2) มีทักษะในการจัดระบบขอมูล ตรวจสอบ และประเมินคา เพ่ือหาขอเท็จจริง ในประวตั ศิ าสตร 3) ปลูกฝงแนวคิดวิเคราะห (Critical Thinking) คิดวิพากษวิจารณบนพ้ืนฐานขอเท็จจริง ท่ีไดจากหลกั ฐานทางประวัติศาสตร 4) มีทักษะในการวินิจฉัยขอเท็จจริงจากขอสนเทศที่หลากหลาย ท่ีสืบคนไดจากหลักฐาน ทางประวัตศิ าสตร 5) มีทักษะในการเขียนความเรียง การเลาเร่ือง และการนำเสนอดวยวิธีการตาง ๆ ไดอยางมเี หตผุ ล กระชบั ชัดเจน นาสนใจ และเชื่อถือได ท่ีสำคัญประวัติศาสตรในยุคโลกาภิวัตน หรือโลกของขอมูลขาวสารท่ีรวดเร็ว และมีอิทธิพล ตอคานิยมและวิถีการดำเนินชีวิตของผูคนอยางกวางขวางน้ี การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประวัติศาสตรอยางถูกตอง จะมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาผูเรียนใหเปนผูรูจักใชวิจารณญาณในการรับรู และประเมินความนาเชื่อถือหรือความไมนาเชื่อของขอมูลตาง ๆ ในข้ันตอนท่ีเรียกวา “วิพากษวิธี ทางประวัติศาสตร” ดวยการที่ครูผูสอนตั้งคำถามเพ่ือประเมินแหลงท่ีมาของขอมูลของผูเรียนทุกคร้ัง เชน “ขอมูลมาจากแหลงใด ใครทำขึ้น ผูทำมีความรูดานใด หรือรูเรื่องน้ันดีหรือไม ทำข้ึนทำไม ของจริง หรือของปลอม” ซึ่งเปนข้ันตอนของการวิพากษตัวหลักฐาน กอนที่จะตรวจสอบวาขอเท็จจริงท่ีไดน้ัน  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สอดคลองหรือขัดแยงกับหลักฐานอื่น ๆ หรือไม ทำไมจึงเหมือนกัน ทำไมจึงแตกตาง สิ่งเหลาน้ีถือวา เปนกระบวนการศึกษาขอมูลที่จำเปน อันเปนการพัฒนาภูมิปญญา เพื่อท่ีจะฝกฝนผูเรียนใหยึดถือเหตุผล เปนสำคญั ขจดั ความอคตสิ ว นตัวและความเชอื่ ดั้งเดมิ ออกไป อยางไรก็ตาม ครผู ูสอนประวัตศิ าสตรค วรเขา ใจดวยวา การจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรท ด่ี ี โดยเนนกระบวนการพัฒนาภูมิปญญาดังกลาว จะกอใหเกิดคุณคาดานเจตคติและคานิยมท่ีดีใหแกผูเรียนดวย ท้งั ตอตนเอง ครอบครัว ทอ งถน่ิ และประเทศชาติ ตอบสนองคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคท่ีระบไุ วในหลักสตู ร คือ “ความรักชาติ ศาสน กษัตริย และรักความเปนไทย” (ขอ 1 และขอ 7) นอกจากน้ี ยังสามารถ สรา งเจตคตแิ ละคานยิ มอันเปนคณุ คาสำคัญของประวัติศาสตรไดดว ยดงั น้ี 1. รักและภมู ิใจในบรรพบรุ ษุ 2. ใชเ หตุผลในการดำเนนิ ชีวิต 3. สรางความรสู ึกรวมเปนอันหนึ่งอนั เดียวกันในสงั คม 4. ตระหนกั ในคุณคาของมรดกทางวฒั นธรรมของทอ งถน่ิ และชาติ 5. ยอมรับและเขาใจความแตกตางของมนุษยชาติที่เปนผลจากปจจัยทางภูมิศาสตร และสังคม 6. อยรู วมกับสงั คมอื่นไดอ ยา งสันตสิ ขุ และมจี ติ สำนึกตอ สงั คมไทยโดยรวม แมวาการเรียนรูประวัติศาสตรสามารถทำไดหลายรูปแบบ ท้ังการอานหนังสือดวยตนเอง การฟงคำบรรยายจากครูหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา การสำรวจและศึกษาจากสถานท่ีจริง การวิเคราะห จากเสนเวลา (Time - Line) การชมภาพยนตรหรือวีดิทัศน การสืบคนโดยผานกระบวนการเรียนรู ทางการศึกษา เชน การบรรยาย การอภิปราย การแสดงบทบาทสมมตุ ิ การเลนละคร การศกึ ษานอกสถานที่ หลากหลายวิธีท่ีครูผูสอนสามารถนำมาใชในการจัดการเรียนรูประวัติศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ แตส่ิงสำคัญที่สุดคือ การพัฒนาภูมิปญญาของผูเรียนใหเขาถึงคุณคาของประวัติศาสตรอยางแทจริง ซง่ึ จะเกดิ ไดจ ากการจัดการของครูผูส อนท่มี ีประสิทธภิ าพเปนสำคญั โดยเฉพาะอยางย่ิงการจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนไดเขาถึงสภาพสังคมในความเปนจริง ที่ปรากฏในปจจุบันซ่ึงลวนเปนผลมาจากอดีตทั้งส้ิน ดังน้ัน การกระตุนใหผูเรียนไดสนใจเหตุการณในสังคม ปจจุบัน แลวหันมาสืบคนวาปญหาและส่ิงแวดลอมในสังคมปจจุบันน้ันเกิดขึ้นเพราะเหตุใด อันเปนการ ยอนศึกษาอดีตเพื่อสรางความเขาใจปจจุบัน และหาแนวทางกาวสูอนาคตที่ดีกวา จึงนับเปนวิธีการจัด การเรียนรทู มี่ ีคุณคา ตอประวัตศิ าสตรไ ดอ ยา งแทจ ริง วธิ ีการกระตนุ ใหผเู รียนสนใจสภาพสังคมไทยในปจจบุ นั ทำไดหลายวิธี เชน มอบหมายใหเ ดก็ รวบรวมภาพเหตุการณในสังคมแลวนำมาศึกษาวิเคราะห หรือมอบประเด็นศึกษาใหผูเรียนไปสำรวจชุมชน หรือสถานทท่ี ี่มผี คู นหลากหลาย เชน ตลาด สำนักงานอำเภอ สำนกั งานเทศบาล แลว นำขอมลู มาวิเคราะห เช่ือมโยงอดีตกับปจจุบัน หรือนำวีดิทัศนที่เกี่ยวของกับชุมชน ทองถ่ิน แหลงทองเท่ียวทางประวัติศาสตร การศึกษานอกสถานท่ี รวมท้ังการจัดนิทรรศการภาพเหตุการณสำคัญในประวัติศาสตร ลวนเปนวิธี ท่สี ามารถกระตุน ใหผูเรียนเกิดความอยากรู อยากเหน็ และนำไปสูก ารสืบคนอดีตไดเปน อยา งดี  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สำหรับการจัดการเรียนการสอนโดยการศึกษานอกสถานท่ี แมวาจะทำใหเกิดการเรียนรู อยางเปนรูปธรรม ซ่ึงจะกระตุนใหเกิดความตองการสืบคนเรื่องราวในอดีต ผูเรียนจะไดสัมผัสกับแหลงเรียนรู ในรูปแบบตาง ๆ เกิดประสบการณตรง มีโอกาสแลกเปล่ียนประสบการณกับบุคคลภายนอกโรงเรียน ซ่ึงเทากับเปนการเพ่ิมพูนความรูไปในตัวดวย อีกท้ังยังไดรับความสนุกสนานจากการเรียนรู แตก็ยังมี ขอจำกัดหลายประการ เชน แหลงเรยี นรูตาง ๆ อยไู กลทำใหประสบปญ หาในการเดินทาง การดแู ลนักเรยี น การประกันความปลอดภัย มีการลงทุนสูง รวมถึงขาดวิทยากรท่ีมีความรูท่ีจะขยายประสบการณ ที่เกยี่ วเนื่องกับแหลงเรยี นรูน ้นั ๆ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีแนวคิดในการนำส่ือเทคโนโลยีมาใชในการ จัดการเรียนรูประวัติศาสตร จึงไดจัดทำส่ือ Virtual Field Trip ประวัติศาสตรสุโขทัย อยุธยา และ รัตนโกสินทรเพ่ือใหนักเรียนไดเรียนรูและรับประสบการณตาง ๆ จากนอกหองเรียน โดยมีการออกแบบ ใหเสมือนไดเรียนรูในสถานที่จริง เปนการชวยใหครูผูสอนไดกาวพนขอจำกัดของการเรียนรูนอกสถานท่ี ท่ีตอ งเดนิ ทางไปในแหลง เรียนรจู ริง ซงึ่ การเรียนรูเสมอื นจริงมจี ุดเดน ดังนี้ 1. ผูเ รยี นไดเ รียนรูนอกหองเรยี น ไดพ บกับสิ่งแวดลอ มทแ่ี ปลกใหมแ ตกตา งหลากหลาย 2. ผูเรียนสามารถยอนกลับไปศึกษาสถานท่ีน้ันซ้ำไดอีกจนกวาการเรียนรูบรรลุตาม วัตถปุ ระสงคข องผูเ รียน 3. ผูเรียนไดเรียนรูในแงมุมที่ไมสามารถสนใจไดตามปกติ อาจเน่ืองมาจากเหตุผล ดานความปลอดภยั ความหา งไกล 4. ผูเ รยี นสามารถเรียนรูสถานท่ตี าง ๆ ทีเ่ รียนรไู ดท กุ ท่ีทุกเวลา 5. ผูเรียนไมจำเปนตองเดินทางไปยังแหลงเรียนรูดวยตนเอง ทำใหประหยัดปลอดภัย จากอันตรายท่ีอาจจะเกิดขึน้ จากการเดนิ ทางได 6. ผเู รียนสามารถซักถามความรูจ ากวิทยากรหรอื ผูเช่ยี วชาญโดยการออนไลนไ ด เอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานสื่อ Virtual Field Trip สวนนี้ เปนเคร่ืองมือ สำหรับครูผูสอนประวัติศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 สามารถนำไปใชในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู ประวัติศาสตรอยุธยาไดตามศักยภาพ ซึ่งอาจนำไปใชเปนสื่อหลักในการจัดกิจกรรม หรือนำไปเปน สอ่ื กระตุนการนำเขา สบู ทเรียน ส่ือที่ใชในระหวา งจดั กจิ กรรมการสอนอ่ืน ๆ สอื่ ท่ีใหแสดงความคิดเห็น หรือ เปนสื่อสรุปความเขาใจก็สามารถทำได ท้ังน้ี ส่ือวีดิทัศนจะกระตุนใหผูเรียนสนใจเรียนรูประวัติศาสตร ไดเปนอยางดี เพราะเปนเครื่องมือที่สรางขึ้นเพ่ือแสดงความเจริญรุงเรืองของอาณาจักรไทยในอดีต ผานรองรอยทางสถาปตยกรรมและประติมากรรม อันเปนภูมิปญญาของชาวไทยในแตละยุคสมัยที่มี เอกลักษณทางศิลปกรรมที่แตกตางกัน รวมทั้งเปนส่ิงท่ีจะเชื่อมโยงเร่ืองราวที่เปนนามธรรมใหเห็น เปนรูปธรรมได สวนเอกสารท่ีเปนเนื้อหาเสริมความรูน้ัน ครูผูสอนสามารถนำไปประยุกตใชเปน “ใบความรู” หรือเพ่มิ พูนความรูในประเดน็ ตา ง ๆ เพ่มิ เติม  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

แมวาสาระสำคัญจะเปนประวัติศาสตรอยุธยา ซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวช้ีวัดของระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 แตครูผูสอนประวัติศาสตรชั้นอ่ืนสามารถนำไปใชในฐานะ ที่เปนเครื่องมือ ที่จะกระตุนใหเด็กเขาใจถึงความเปนชาติไทยที่บรรพบุรุษไทยไดกอรางสรางตัวจนเปน ประเทศไทยในปจจุบนั อน่ึง เน้ือหาสาระที่นำเสนอในเอกสารการจัดการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยาฉบับนี้เปนเพียง สวนหนึ่งของส่ือการเรียนรู Virtual Field Trip ที่จัดทำขึ้น ซึ่งสามารถเปนสื่อหรือเคร่ืองมือสำหรับครู นักเรียน และผูสนใจใชเปนแนวทางในการศึกษาเรียนรูผานส่ือออนไลน Virtual Field Trip ที่ทุกคน สามารถเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจไดตลอดเวลา เปนสื่อท่ีนำเสนอในรูปแบบส่ือท่ีหลากหลาย ท้ังวีดิทัศนในรูปแบบของสารคดีส้ัน เนื้อหาสาระซ่ึงเปนความรูเพ่ิมเติมจากวีดิทัศนแตละตอน กิจกรรม แบบทดสอบ ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว และส่ือประสมแบบ 360 ท้ังน้ี คาดหวังวาจะเปนแนวทางหน่ึง ท่ีจะกระตุนใหผูเรียนสนใจใฝเรียนรูเรื่องราวความเปนมาและสืบคนความรูเก่ียวกับประวัติศาสตรชาติไทย ไดดวยตนเองตอ ไป  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

คำชแ้ี จง การใชช ดุ ส่อื การเรียนรปู ระวัติศาสตรอยุธยา ผา นส่ือ Virtual Field Trip การจัดกจิ กรรมการเรยี นรปู ระวตั ิศาสตรอ ยธุ ยา ผา นส่ือ Virtual Field Trip ประกอบดว ยเคร่อื งมือ 2 ชดุ คือ 1. วีดิทัศนประกอบส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตร สุโขทัย อยธุ ยา รัตนโกสนิ ทร สำหรับประวตั ิศาสตรอ ยุธยา มีเน้อื หา 5 ตอน คือ 1) การสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยา 2) วรี กษัตริยแ หงอยธุ ยา 3) อยธุ ยาเมอื งทาการคานานาชาติ 4) ประณีตศิลปแ หงอยุธยา 5) นครประวตั ศิ าสตรอ ยุธยา : มรดกโลก 2. เอกสารการเรียนรูป ระวตั ศิ าสตรอยธุ ยา ผา นส่อื Virtual Field Trip ซ่งึ แบง ออกเปน 2 สว น คอื สวนท่ี 1 การจัดการเรยี นรูประวัติศาสตรอ ยธุ ยา ผานสอื่ Virtual Field Trip สำหรับครู สวนที่ 2 การเรียนรปู ระวัติศาสตรอยุธยา ผานสอ่ื Virtual Field Trip สำหรับนักเรยี น วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื ใหค รผู สู อนและผเู รียนใชส ่อื วีดิทัศนฯ และเอกสารการเรียนรูประวัตศิ าสตรอ ยุธยา ผา นส่ือ Virtual Field Trip ประกอบการเรียนรูประวตั ิศาสตร 2. เพื่อเพ่ิมพูนความรูใหแกครูผูสอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ทัง้ ดา นเนื้อหาสาระ กจิ กรรมการเรียนรู การวดั และการประเมินผล 3. เพื่อใหเด็ก เยาวชน และคนไทยมีความรู ความเขาใจ และตระหนักถึงความสำคัญของ ประวัตศิ าสตรชาติไทย เกดิ ความรกั ความผูกพัน ความหวงแหน และความภาคภมู ิใจในแผน ดนิ ไทย  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

กรอบเนือ้ หาสาระของเอกสารการเรียนรูประวตั ิศาสตรอยธุ ยา ผานส่อื Virtual Field Trip สวนท่ี 1 การจัดการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรับครู ประกอบดวยรายละเอยี ดดงั น้ี - การวิเคราะหห ลกั สตู รสาระประวัตศิ าสตร ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 เปนการนำเสนอสาระเก่ียวกบั การวิเคราะหห ลักสูตรประวตั ิศาสตรก บั สาระท่ปี รากฏในสื่อวีดทิ ัศนก ารเรยี นรนู อกหองเรยี นเสมือนจรงิ : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรอ ยุธยา เพอื่ ใหค รูใชเ ปน แนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท ี่เหมาะกบั ผเู รียน - โครงสรา งของเอกสารการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรอยุธยา ผานส่อื Virtual Field Trip เปน การ นำเสนอเกี่ยวกับโครงสรางของเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip เพ่ือให ครูผูสอนเขาใจภาพรวมของเอกสารทง้ั หมด จะไดนำไปใชใ นการจดั กิจกรรมไดอยางมีประสิทธภิ าพ - วิธีการใชชุดสื่อการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip เปนการ นำเสนอสาระเก่ียวกับวิธีการใชชุดสื่อการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip เพ่ือให ครผู สู อนสามารถนำไปปรบั ใชต ามความเหมาะสม สว นที่ 2 การเรียนรูประวัติศาสตรอยธุ ยา ผา นสอ่ื Virtual Field Trip สำหรบั นกั เรียน ซึง่ เปน เน้ือหาสาระท่ีจะเสริมความรูเพ่ิมเติมจากสื่อวีดิทัศนทั้ง 5 ตอน โดยจำแนกเน้ือหาเพิ่มเติมจากวีดิทัศน ออกเปนประเดน็ ยอ ยเพื่อใหค รอบคลมุ เนื้อหาสาระของแตละตอนดงั น้ี 1. การสถาปนากรงุ ศรีอยุธยา 1) หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท ่ีเก่ยี วกบั ประวตั ิศาสตรอ ยุธยา 2) แผนท่กี รงุ ศรอี ยธุ ยาของชาวตะวันตก 3) พระราชประวตั ิและความเปน มาของพระเจาอูทอง 4) ทำเลท่ีต้งั ของกรงุ ศรีอยุธยา 5) การขยายอำนาจของอาณาจักรอยุธยา 2. วีรกษตั รยิ แ หง อยธุ ยา 1) พระเจาอทู อง : กษัตริยผ สู ถาปนากรุงศรีอยธุ ยาเปน ราชธานีไทย 2) ขุนหลวงพะงัว่ : กษตั ริยผ เู สริมสรา งอำนาจอาณาจักรอยุธยา 3) สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ : กษตั ริยผ ปู ฏริ ปู การปกครอง 4) พระสรุ ิโยทัย : วีรสตรีไทย 5) สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช : วรี กษัตรยิ ผูกอบกเู อกราช 6) สมเด็จพระนารายณม หาราช : กษัตรยิ ท สี่ งเสริมวรรณกรรมและการตา งประเทศ 7) ออกญาโกษาธบิ ดี (ปาน) : ราชทูตไทยไปฝรั่งเศส 8) พันทา ยนรสงิ ห : ผรู ักษากฎระเบยี บยิ่งกวาชีวิต 9) ชาวบา นบางระจนั : กลมุ ผรู ักชาตริ วมตัวสูกองทพั พมา  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

3. อยุธยาเมืองทา การคานานาชาติ 1) ปจ จยั สง เสริมใหอยธุ ยาเปน เมอื งทาการคานานาชาติ 2) การคา นานาชาตกิ ับหลักฐานทางประวัติศาสตร 3) ชาวตางชาตทิ ส่ี ำคัญในสมยั อยธุ ยา 4) ชมุ ชนชาวตา งชาติในสมัยอยุธยา 4. ประณตี ศลิ ปแ หงอยธุ ยา 1) ชางสิบหมูและการสรา งสรรคงานประณตี ศลิ ป 2) งานประดับมุก 3) งานเครื่องถมและเครอื่ งลงยาสี 5. นครประวตั ศิ าสตรอ ยุธยา : มรดกโลก 1) มรดกโลก (The world Heritage) 2) พระราชวงั โบราณในนครประวัตศิ าสตรพ ระนครศรีอยธุ ยา 3) โบราณสถานทส่ี ำคญั ในนครประวัติศาสตรพระนครศรอี ยธุ ยา 4) พระพุทธรปู สำคญั ในนครประวัตศิ าสตรพระนครศรีอยุธยา การวเิ คราะหห ลกั สตู รสาระประวตั ศิ าสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 ปญหาของการเรียนการสอนประวัติศาสตรสวนหนึ่งมาจากการที่ครูผูสอนไมเขาใจหลักสูตรวา จะใหสอนอะไร สอนแคไหน สอนไปทำไม หรือเปาหมายในการสอนแตละเร่ืองคืออะไร ทำใหไมสามารถ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ ท้ังนี้ ยังไมรวมถึงคำถามที่มักเกิดขึ้นในใจครูผูสอน ตลอดเวลาวาจะสอนอยางไร (ในเนื้อหาแตละเร่ือง) ใหบรรลุผลตามที่หลักสูตรคาดหวัง คือ รักถ่ิน รกั ชาติ ภมู ใิ จในชาติตน ตระหนกั ในคุณคา ของมรดกทางวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทย ดังไดกลาวแลววาคุณสมบัติสำคัญท่ีสุดท่ีครูผูสอนประวัติศาสตรพึงมีประการแรก คือ ความเขาใจหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู และตัวช้ีวัดชั้นป สำหรับมาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระบุหลักการสำคัญของการเรียนรู ประวตั ิศาสตรในมาตรฐานการเรียนรู 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานการเรียนรูประวัตศิ าสตร ส 4.1 เขาใจความหมายความสำคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร สามารถใชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตรมาวเิ คราะหเ หตกุ ารณตา ง ๆ อยางเปน ระบบ จะเห็นวา มาตรฐาน ส 4.1 วา ดว ยเร่อื งประวตั ิศาสตรและวิธกี ารศกึ ษาประวัติศาสตร ซงึ่ กำหนด ใหเรียนเน้อื หาสำคญั 2 เร่อื ง คอื 1. เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร 2. วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

เน่ืองจากครูผูสอนประวัติศาสตรสวนใหญไมไดศึกษามาทางประวัติศาสตรโดยตรงจึงอาจไมเขาใจ เปา หมายของหลักสตู รในมาตรฐาน ส 4.1 ซ่งึ มลี ักษณะเปนหลกั การหรอื Concept ประวัติศาสตรอ ยบู า ง จงึ ขออธบิ ายส้ัน ๆ ดงั นี้ เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร มีเปา หมายดงั นี้ 1. เพื่อใหผูเรียนมีทักษะพื้นฐานในการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร การเขาใจเรื่องเวลา จะทำใหเขาใจเร่ืองราวในเอกสารนั้น ๆ แมวาจะอยูตางพื้นท่ีก็จะทำใหเชื่อมโยงไดวามีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร จนสามารถเรียบเรยี งลำดับเหตุการณต ามเสนเวลา (Time Line) ได 2. เพ่ือใหผูเรียนเขาใจเหตุการณทางประวัติศาสตร การเขาใจเร่ืองเวลาจะทำใหเขาใจ เหตกุ ารณวา แตละเหตุการณม ีความสำคญั อยา งไร ปจ จัยใดเปน เหตุ (เหตุการณทเี่ กิดกอ น) ปจ จยั ใดเปน ผล (เหตุการณที่เกิดหลัง) นอกจากนี้ ยุคสมัยทางประวัติศาสตรยังแสดงภาพรวมของเหตุการณในแตละชวงเวลา ไดชดั เจน หรอื แสดงลกั ษณะเดน ในแตล ะชวงเวลานน้ั 3. เครื่องมือบอกเวลาเปนภูมิปญญาของมนุษย อันเนื่องมาจากมนุษยตองปรับตัวใหกับ ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม ดงั น้ัน การสอนเรอื่ งนี้อยา งถูกตอ งจะสรางความภาคภมู ิใจในความเปนชาติไดดวย 4. เพื่อใหผูเรียนใชคำบอกเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร บอกเลาเร่ืองราวไดอยางถูกตอง ซึง่ จะกลายเปน หลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ ดตอ ไปในอนาคต ท้ังน้ี การเรียนรูเรื่องเวลา เนื้อหาสาระในแตละปของผูเรียนจะมีความแตกตางกันไป สำหรับ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ไมไ ดมีเนื้อหาใหเ รยี น วิธีการทางประวตั ิศาสตร วิธีการทางประวัติศาสตร (Historical Method) หมายถึง กระบวนการแสวงหาขอเท็จจริง ในอดีตของสังคมมนุษยอยางเปนระบบ ดวยการศึกษาวิเคราะหขอมูลหลักฐานประเภทเอกสารเปนหลัก และศกึ ษาหลกั ฐานอ่นื ๆ ประกอบ เพอ่ื ใหไดม าซง่ึ ความรใู หมทางประวัตศิ าสตรบ นพน้ื ฐานของความมีเหตผุ ล วิธีการทางประวัติศาสตร มีเปา หมายดงั น้ี 1. เพื่อใหผูเรียนไดออกนอกหองเรียนไปสูโลกแหงความเปนจริงดวยการสืบคน (สำรวจ สอบถาม ลงมือปฏบิ ตั ิ ศึกษาดว ยการอาน ฟง สงั เกต จดบันทกึ ขอมูล) เร่ืองราวทต่ี นอยากรูดว ยตนเอง 2. เพื่อใหผูเรียนรูเทาทันขอมูลขาวสารในโลกยุคโลกาภิวัตนดวยการตรวจสอบ กลั่นกรองขอมูล เพอ่ื ใหไดขอ เทจ็ จรงิ 3. เพอ่ื ใหผูเ รยี นฝก ฝนทักษะการคดิ วิเคราะหอยา งเปนเหตุเปน ผล กอนวินจิ ฉัยเรอื่ งราวตาง ๆ 4. เพื่อใหผูเรียนมีความสามารถในการใชทักษะชีวิต โดยนำกระบวนการตาง ๆ ที่ไดเรียนรู ในหองเรียนไปใชในการดำเนินชีวิตและการอยูรวมกันในสังคม รูจักแกปญหาและความขัดแยงตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ท้ังนี้ การเรียนรูเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตรในแตละชั้นปของผูเรียนจะมีความแตกตางกันไป สำหรับชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 2 ไดกำหนดไวใ นตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ดงั น้ี ตัวชีว้ ัด 1. ประเมนิ ความนาเชอ่ื ถือของหลักฐานทางประวัตศิ าสตรในลักษณะตาง ๆ 2. วิเคราะหความแตกตา งระหวา งความจรงิ กับขอเท็จจริงของเหตุการณท างประวตั ศิ าสตร 3. เหน็ ความสำคญั ของการตีความ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรทน่ี าเชือ่ ถอื สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. วิธีการประเมนิ ความนา เช่อื ถอื ของหลักฐานทางประวัตศิ าสตรในลกั ษณะตา ง ๆ อยา งงา ย ๆ เชน การศึกษาภูมิหลังของผูทำหรือผูเก่ียวของ สาเหตุ ชวงระยะเวลา รูปลักษณะของหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตร เปน ตน 2. ตัวอยางการประเมินความนาเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตรไทยท่ีอยูในทองถ่ิน ของตนเองหรอื หลกั ฐานสมยั อยธุ ยา (เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3) 3. ตัวอยางการวิเคราะหขอมูลจากเอกสารตาง ๆ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี (เช่ือมโยงกับ มฐ. ส 4.3) เชน ขอ ความบางตอนในพระราชพงศาวดารกรุงศรอี ยธุ ยา จดหมายเหตชุ าวตางชาติ 4. การแยกแยะระหวางขอมูลกับความคิดเห็น รวมทั้งความจริงกับขอเท็จจริงจากหลักฐาน ทางประวัตศิ าสตร 5. ตวั อยางการตคี วามขอมูลจากหลักฐานทแี่ สดงเหตกุ ารณส ำคญั ในสมยั อยธุ ยาและธนบุรี 6. ความสำคัญของการวเิ คราะหข อ มูลและการตีความทางประวตั ศิ าสตร มาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึง ปจจุบันในดานความสัมพันธและการเปล่ียนแปลงของเหตุการณอยางตอเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะหผ ลกระทบที่เกดิ ขึน้ จะเห็นวามาตรฐาน ส 4.2 วาดวยเร่ืองพัฒนาการของมนุษยชาติ สวนการเปลี่ยนแปลงของ สังคมมนุษยท่ีมีอยูอยางตอเน่ืองตามกาลเวลาและมีความแตกตางกันในแตละพ้ืนท่ี ซ่ึงรวมท้ังความขัดแยง ท่ีกอใหเกิดสงคราม การลมสลายของอาณาจักรหรือแวนแควนตาง ๆ รวมท้ังความรวมมือทางดานตาง ๆ ทีเ่ กดิ ขึ้นในสงั คมมนษุ ย ดังนน้ั หลกั สูตรกำหนดใหเรียนเนื้อหาสำคญั 2 เรือ่ ง คือ 1. วัฒนธรรมและอารยธรรมของสงั คมมนุษยในพนื้ ที่ตา ง ๆ 2. การเปลยี่ นแปลงของมนษุ ยชาติ เปา หมายในการเรียนรูเ รื่องพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของมนษุ ยชาติ เนื่องจากอดีต ปจจุบัน และอนาคตแสดงธรรมชาติของสังคมมนุษยท่ีมีการเปล่ียนแปลง อยูตลอดเวลา และแมในชวงเวลาเดียวกันสังคมมนุษยในแตละพื้นที่ยังมีความเหมือนและความตาง ประวัติศาสตรจึงใหความสำคัญอยางมากกับความแตกตางท่ีเปนลักษณะเฉพาะในสังคมมนุษยที่เกิดจาก  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สาเหตุปจจัยของส่ิงแวดลอมท่ีแตกตางกัน ซ่ึงยอมสงผลกระทบตอสิ่งอื่น ๆ ในสังคมดวย (ท้ังการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม) ดังน้ัน เปาหมายในการเรียนรูพัฒนาการและการเปล่ียนแปลงของ มนุษยชาติ คือ 1. เพื่อใหนักเรียนเขาใจเหตุการณในประวัติศาสตร โดยเร่ิมตนดวยการสืบคนหาขอเท็จจริง วา “มีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร” เพ่ือเปนขอมูลพื้นฐานท่ีจะวิเคราะหตอไปไดวา ทำไมจึงเกิด เหตุการณน้ันข้ึน เหตุการณน้ันมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร และมีผลกระทบทางดานใดบาง “ทำไม และอยา งไร” จงึ เปน คำถามสำคญั 2. เพ่ือใหนักเรียนเขาใจสังคมมนุษยในพื้นท่ีตาง ๆ ซึ่งมีพัฒนาการจากอดีตสูปจจุบัน ซึ่งมีความแตกตางกัน เพราะสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและทางสังคมอันสงผลใหเกิดความแตกตาง ทางดานการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม 3. เพื่อใหนักเรียนรูเทาทันโลกในยุคปจจุบัน สามารถคิดวิเคราะหถึงความรวมมือและ ความขดั แยงทีก่ อใหเกิด “พัฒนาการและการเปลย่ี นแปลง” ของสงั คมมนษุ ย สามารถปรับเปลย่ี นตนเอง 4. เพ่ือใหนักเรียนเขาใจลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรม (ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษา ศาสนา และวิถีการดำเนินชีวิต) ที่มีความแตกตางและคลายคลึงกันในสังคมมนุษย การสอนเร่ืองนี้ อยางถูกตองจะทำใหนักเรียนมีความรักและความภาคภูมิใจในความเปนทองถ่ินและความเปนชาติไทย รวมทง้ั แหลง อารยธรรมในพื้นท่ีตา ง ๆ ที่แสดงถงึ ความเจริญของมนษุ ยชาติ ท้ังน้ี การเรียนรูเนื้อหาสาระในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 กำหนดไวในตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู แกนกลาง ดังน้ี ตวั ชี้วัด 1. อธบิ ายพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื งของภมู ภิ าคเอเชีย สาระการเรยี นรแู กนกลาง 1. ที่ต้ังและสภาพทางภูมิศาสตรของภูมิภาคตาง ๆ ในทวีปเอเชีย (ยกเวนเอเชียตะวันออกเฉียงใต) ทม่ี ีผลตอ พฒั นาการโดยสงั เขป 2. พัฒนาการทางประวัติศาสตร สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเวนเอเชียตะวันออกเฉียงใต) ตัวชีว้ ัด 2. ระบคุ วามสำคญั ของแหลงอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย สาระการเรียนรูแ กนกลาง 1. ทต่ี ั้งและความสำคัญของแหลงอารยธรรมตะวนั ออกและแหลง มรดกโลกในประเทศตาง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี 2. อิทธพิ ลของอารยธรรมโบราณท่มี ีตอ ภมู ิภาคเอเชียในปจ จบุ ัน  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

มาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ิปญ ญาไทย มีความรัก ความภมู ิใจ และธำรงความเปนไทย จะเหน็ วามาตรฐาน ส 4.3 วาดวยเนือ้ หาสำคญั 3 เรือ่ ง คอื 1. ความเปนมาของชาติไทย ซ่ึงรวมวีรกรรมของบรรพบุรุษไทย และผูทำคุณงามความดี สรา งสรรคค วามเจริญใหประเทศ 2. วฒั นธรรมไทย 3. ภมู ปิ ญ ญาไทย สาระการเรียนรูในเรื่องนี้ไดบรรจุอยูในหลักสูตรต้ังแตเร่ิมมีการจัดการเรียนการสอนใหเปนระบบ ตามแบบตะวันตก ซึ่งนาจะเปนความเชี่ยวชาญของครูผูสอนท่ีนาจะมีพัฒนาการดานการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนใหตอเน่ืองและดีย่ิงข้ึนได แตกลายเปนวาเนื้อหาดังกลาวกลับเปนปญหาของสังคมไทย ในปจจุบันที่ “ความเปน ไทย” กลายเปนเร่ืองลาสมัย “บรรพบรุ ษุ ไทย” ท่ไี ดเ สียสละเพ่อื ชาติ ก็ไมไ ดใสใ จ ที่จะนำมาเปนแบบอยางในการประพฤติปฏิบัติที่สำคัญ อดีต “ความบกพรองหรือความสำเร็จ” ที่นาจะ เปน บทเรยี นของปจจุบัน กม็ ิไดถ กู นำพาหรือหยิบยกมาเปนอทุ าหรณไดอ ยางแทจ ริง ทั้งนี้ เขาใจวาปจจัยหน่ึงที่ทำใหเกิดสภาพดังกลาวมาจากโลกยุคโลกาภิวัตน และเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมหรือตลาดเสรี ทำใหเยาวชนไทยนิยมชมชอบวัฒนธรรมของชาติที่เจริญม่ังคั่งทางเศรษฐกิจ คนเกง คนรวย ไดรับความช่ืนชมมากกวา คนดมี ีจริยธรรม อยางไรก็ตาม นาจะเปน เร่ืองทา ทายครมู ืออาชีพ ท่ีจะนำเยาวชนของชาติใหเขาถึงเปาหมายของหลักสูตร คือ “มีความรัก ความภูมิใจ และสราง ความเปนไทย” การเรียนรูเร่ืองความเปนชาติไทยน้ี หลักสูตรกำหนดเนื้อหาสาระในช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ใหเรียนเร่ืองประวัติศาสตรไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และพัฒนาการของอยุธยาและธนบุรีทางดานตาง ๆ โดยกำหนดไวในตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง ดังนี้ ตัวชีว้ ดั 1. วิเคราะหพ ฒั นาการของอาณาจกั รอยธุ ยาและธนบุรีในดา นตา ง ๆ สาระการเรียนรูแ กนกลาง 1. พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในดานการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และ ความสัมพันธระหวา งประเทศ 2. การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี 1 และการกูเอกราช 3. การเสยี กรุงศรอี ยุธยาคร้งั ที่ 2 การกูเ อกราชและการสถาปนาอาณาจกั รธนบุรี 4. วรี กรรมของบรรพบรุ ษุ ไทย ผลงานของบุคคลสำคัญของไทยทมี่ ีสวนสรางสรรคชาติไทย เชน - สมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 2 - พระสุริโยทัย - พระนเรศวรมหาราช  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

- พระนารายณม หาราช - สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช - พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (ดวง) - สมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสิงหนาท (บญุ มา) ตัวชี้วัด 2. วเิ คราะหปจ จยั ท่สี ง ผลตอความม่นั คงและความเจริญรงุ เรอื งของอาณาจกั รอยธุ ยา สาระการเรยี นรูแกนกลาง 1. การสถาปนาอาณาจกั รอยุธยา 2. ปจ จยั ท่ีสงผลตอความเจรญิ รงุ เรืองของอาณาจกั รอยุธยา ตัวชี้วดั 3. ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมิปญญา ดังกลา วตอการพฒั นาชาติไทยในยุคตอมา สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. ภูมปิ ญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยุธยา เชน การควบคุมกำลังคนและศลิ ปวฒั นธรรม 2. ภมู ปิ ญ ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั ธนบรุ ี การวเิ คราะหเ นื้อหาและการนำเสนอ ในชุดสื่อการเรยี นรูประวัตศิ าสตรอ ยธุ ยา ผานสอ่ื Virtual Field Trip ประกอบดว ย 1. สือ่ ประกอบการเรยี นรนู อกหองเรยี นเสมือนจริง ซงึ่ เปน วีดทิ ัศนเ ร่อื ง ประวัติศาสตรอ ยุธยา 2. เอกสารการเรยี นรูป ระวตั ิศาสตรอ ยุธยา ผานสอ่ื Virtual Field Trip ชุดสื่อการเรียนรูดังกลาว ท้ังเน้ือหาและการนำเสนอจะสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ส 4.1 และ ส 4.3 ในบางตัวชีว้ ัด และสาระการเรียนรูแ กนกลางของชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 ดังนี้  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ส 4.1 เขาใจความหมายความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถ ใชวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรมาวเิ คราะหเหตุการณตา ง ๆ อยา งเปน ระบบ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง 1. ประเมินความนา เชือ่ ถือของหลักฐาน 1. วธิ กี ารประเมินความนาเช่ือถือของหลักฐาน ทางประวัติศาสตรใ นลักษณะตา ง ๆ ทางประวตั ศิ าสตรใ นลักษณะตา ง ๆ อยางงาย ๆ เชน การศกึ ษาภูมหิ ลงั ของผูทำหรอื ผูเก่ยี วขอ ง สาเหตุ 2. วิเคราะหค วามแตกตา งระหวา งความจรงิ ชวงระยะเวลา รปู ลกั ษณะของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร กับขอเทจ็ จรงิ ของเหตุการณ เปน ตน ทางประวัติศาสตร 2. ตวั อยางการประเมินความนา เชื่อถอื ของหลกั ฐาน ทางประวัตศิ าสตรไทยทอ่ี ยูในทอ งถนิ่ ของตนเอง หรอื หลกั ฐานสมัยอยธุ ยา (เช่ือมโยงกบั มฐ. ส 4.3) 1. ตวั อยา งการวเิ คราะหข อมลู จากเอกสารตาง ๆ ในสมัยอยธุ ยาและธนบุรี (เช่ือมโยงกบั มฐ. ส 4.3) เชน ขอความบางตอนในพระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยุธยา จดหมายเหตชุ าวตางชาติ 2. การแยกแยะระหวา งขอมลู กบั ความคดิ เห็น รวมทั้ง ความจรงิ กบั ขอเทจ็ จริงจากหลกั ฐานทางประวัติศาสตร 3. เห็นความสำคัญของการตีความ หลกั ฐาน 1. ตวั อยางการตีความขอมูลจากหลกั ฐานทีแ่ สดงเหตุการณ ทางประวัตศิ าสตรท ี่นา เช่อื ถอื สำคัญในสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี 2. ความสำคญั ของการวิเคราะหขอมลู และการตีความ ทางประวตั ิศาสตร  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเปนไทย ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. วิเคราะหพฒั นาการของอาณาจักรอยุธยา 1. พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในดา นการเมอื ง และธนบรุ ใี นดานตา ง ๆ การปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ ระหวางประเทศ 2. การเสียกรุงศรีอยธุ ยาครั้งที่ 1 และการกูเอกราช 3. การเสยี กรุงศรอี ยุธยาครง้ั ที่ 2 การกูเอกราช และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี 4. วีรกรรมของบรรพบรุ ุษไทย ผลงานของบคุ คลสำคัญ ของไทยทีม่ สี ว นสรา งสรรคช าติไทย เชน - สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 2 - พระสุริโยทยั - พระนเรศวรมหาราช - พระนารายณม หาราช - สมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราช - พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช (ดว ง) - สมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสงิ หนาท (บุญมา) 2. วเิ คราะหป จจยั ทส่ี งผลตอความมน่ั คงและ 1. การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยา ความเจริญรงุ เรืองของอาณาจกั รอยธุ ยา 2. ปจจัยที่สงผลตอความเจรญิ รงุ เรืองของอาณาจักรอยธุ ยา 3. ระบุภูมิปญ ญาและวัฒนธรรมไทย 1. ภมู ปิ ญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยอยุธยา เชน สมัยอยธุ ยาและธนบุรี และอิทธิพลของ การควบคุมกำลงั คนและศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปญญาดังกลา วตอ การพฒั นาชาติไทย ในยุคตอมา 2. ภูมปิ ญ ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั ธนบุรี ท้ังน้ี ครูผูสอนควรไดศึกษาชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานสื่อ Virtual Field Trip จะเห็นวาในบางเรื่อง สาระท่ีปรากฏจะมีบางเรื่องท่ีเกินหรือลุมลึกกวาท่ีกำหนดใหเรียนในหลักสูตร ซึ่งจะ เปนความรูเพิ่มเติมสำหรับนักเรียน ที่จะสงผลใหนักเรียนมีความภูมิใจในความเปนชาติไทยที่มีพัฒนาการ ตอ เนอื่ งจนถึงปจ จุบัน สว นสาระการเรยี นรแู กนกลางที่ขาดไปหรอื มีไมค รบถว น (เฉพาะมาตรฐาน ส 4.1 และ ส 4.3) ตามท่ีหลักสูตรกำหนดใหนักเรียนในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 ครูผูสอนอาจเช่ือมโยงโดยมอบหมายใหศึกษา เพ่ิมเติมและเชอื่ มโยงกนั กไ็ ด  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

โครงสรางของเอกสารการเรียนรปู ระวัติศาสตรอ ยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip เอกสารการเรยี นรูประวตั ิศาสตรอ ยุธยา ผา นสอ่ื Virtual Field Trip มจี ดุ มงุ หมายใหเปน เคร่อื งมอื สำหรับครูผูสอนประวัติศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 นำไปจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรไดอยาง มีประสทิ ธิภาพ จงึ ไดจ ัดทำโครงสรางของเอกสารดงั กลา ว ประกอบดวยสาระสำคัญดงั นี้ 1. แนวทางการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip เปนสาระเก่ียวกับพ้ืนฐานความเขาใจในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรที่มีประสิทธิภาพ โดยใหความสำคัญกับหลักสูตร ความรูพื้นฐานในเน้ือหาสาระ รวมท้ัง Concept ทางประวัติศาสตร และ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหไดผลตามท่ีหลักสูตรคาดหวัง และคุณคาของประวัติศาสตร ท่ีใหความสำคัญกับกระบวนการสรางปญญาใหผูเรียน ทั้งนี้ เพ่ือใหครูผูสอนเห็นแนวทางการนำ ชดุ สอื่ การเรยี นรปู ระวตั ิศาสตรอยธุ ยาไปใชไ ดอยางมปี ระสิทธิภาพ 2. คำชี้แจงการใชเ อกสารการเรยี นรปู ระวัติศาสตรอ ยุธยา ผา นสื่อ Virtual Field Trip เปน สาระเกี่ยวกับวิธีการนำชุดส่ือการเรียนรูไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตรอยุธยา ไดอยางมีประสิทธิภาพ ชุดสื่อการเรียนรูประกอบดวย (1) วีดิทัศนส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง ประวัติศาสตร จำนวน 1 ชุด (2) เอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip จำนวน 1 เลม ซึ่งรายละเอียดประกอบดว ย - กรอบเนอ้ื หาสาระของเอกสารการเรียนรูประวัตศิ าสตรอ ยธุ ยา ผา นส่อื Virtual Field Trip - การวิเคราะหห ลักสูตรสาระประวตั ศิ าสตร - โครงสรางของเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผา นสอื่ Virtual Field Trip - วิธกี ารใชชุดสอื่ การเรียนรูป ระวตั ิศาสตรอยธุ ยา ผานสื่อ Virtual Field Trip 3. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร ซึ่งเปนตัวอยางการเสนอแนะการจัด กจิ กรรมการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรที่เนน การปฏบิ ัติจากสภาพจริง และการคิดวิเคราะหเพื่อทจ่ี ะพฒั นาผเู รยี น ใหบ รรลผุ ลตามความคาดหวังของหลักสตู ร และคุณคาของประวัติศาสตรไ ดอยา งแทจริง 4. ตัวอยางแผนการจัดการเรียนรู เปนการเสนอแนะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อเปน ตวั อยางใหกบั ครูในการบรู ณาการใชช ุดส่อื การเรยี นรูดังกลา วสูหอ งเรียน 5. การเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรับนักเรียน ซ่ึงเปน เนื้อหาสาระสวนท่ีจะใหผูเรยี นศึกษาเรียนรเู พมิ่ เติมจากวดี ทิ ัศนทั้ง 5 ตอน ประกอบดวย - เกร่ินนำ เพื่อกระตุนใหผูเรียนสนใจศึกษาประวัติศาสตร โดยศึกษาจากหลักฐาน ประวัตศิ าสตรด วยชุดส่อื การเรียนรปู ระวัติศาสตรอ ยธุ ยา ผา นสอื่ Virtual Field Trip - ความรูพ้ืนฐานประวัติศาสตรอยุธยา เพื่อใหผูเรียนมีพื้นฐานความรูเก่ียวกับ ประวตั ศิ าสตรอ ยธุ ยากอนทีจ่ ะศกึ ษาจากวีดิทัศนและเอกสารความรู  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

- เอกสารความรูเพิ่มเติม แยกเปนประเด็นยอยที่สอดคลองกับสื่อวีดิทัศน ซึ่งครูผูสอน อาจนำไปปรับใชในการจัดกิจกรรมการสอนหรืออาจเสนอแนะใหเด็กสืบคนประเด็นตาง ๆ เพิ่มเติมตาม ความสนใจ ท้งั น้ี ในเอกสารความรูเพิ่มเตมิ แตล ะประเด็นประกอบดว ยโครงสรา ง ดังน้ี 1. แบบทดสอบกอนเรียน เพื่อใหผูเรียนตรวจสอบพื้นฐานความรูกอนศึกษาชุดสื่อ การเรียนรูประวตั ศิ าสตรอยธุ ยา 2. เน้ือหาสาระความรูเพิ่มเติม เปนรายละเอียดประเด็นยอยซ่ึงสอดคลองกับส่ือวีดิทัศน ทน่ี ำเสนอเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตรอ ยธุ ยาแตละตอน 3. แบบทดสอบหลังเรียน เปนแบบวัดและประเมินผลท่ีมุงเนนการตรวจสอบ Concept และสาระความรูที่จำเปนสำหรับผูเรียน ขอมูลที่ไดจากการประเมินจะชวยในการปรับกิจกรรมการเรียนรูให เหมาะสมกับระดบั ความรขู องผเู รียนมากขึ้น 6. บรรณานกุ รม ในเนื้อหาแตล ะเร่ืองเปนสาระเพ่มิ เติมเพ่ือใหผูเรียนศกึ ษาเรียนรูดวยตนเองได นำเสนอหนังสืออางอิง ซ่ึงเปนที่มาของขอมูลไวทายเนื้อหา ผูเรียนสามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมไดตาม ความสนใจของแตละคน หรือหากผูเรียนมีขอสงสัยในขอมูล ผูเรียนสามารถตรวจสอบความถูกตองได นอกจากนี้ ยังรวบรวมหนังสือที่มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวของท้ังหมดไวทายเลมดวย ซ่ึงเปนเคร่ืองมือในการ ศกึ ษาคนควา สำหรบั ผเู รยี น ครูผูสอน และผสู นใจศึกษาประวตั ศิ าสตรตอ ไป วธิ กี ารใชช ุดสือ่ การเรยี นรูป ระวตั ิศาสตรอ ยธุ ยา ผานสือ่ Virtual Field Trip เน่อื งจากชุดสื่อการเรยี นรปู ระวัติศาสตรอยธุ ยา ผา นส่อื Virtual Field Trip ชดุ นป้ี ระกอบดว ย (1) สื่อวีดิทัศนการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร จำนวน 1 ชดุ (2) เอกสารการเรยี นรูประวตั ิศาสตรอยุธยา ผา นส่ือ Virtual Field Trip ซึ่งครูผูสอนประวัติศาสตรจำเปนตองเตรียมการกอนการจัดการเรียนการสอนในแตละขั้นตอน ตั้งแตการนำ เขา สบู ทเรยี น กิจกรรมการเรียนการสอน การสรปุ ผลและการวดั ผลประเมนิ ผล ดงั นี้ 1. การเตรียมการกอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหการดำเนินการจัดกิจกรรม การเรียนรูเกิดประสทิ ธภิ าพสูงสุด ครผู ูสอนตองเตรยี มการดังนี้ 1) การเตรียมหองเรียนและแหลงเรียนรู เนื่องจากการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตร อยธุ ยาตอ งใชส ่อื อุปกรณป ระกอบ เชน คอมพวิ เตอร โปรเจกเตอร หรืออุปกรณอ ืน่ ๆ 2) ศึกษาสือ่ วดี ทิ ศั นประกอบการเรยี นรูนอกหอ งเรยี นเสมอื นจรงิ เนอื่ งจากในการจัดทำ ส่ือวีดิทัศนดังกลาวประกอบดวยเนื้อหาสาระประวัติศาสตรสุโขทัยสอดคลองกับหลักสูตรประวัติศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ประวัติศาสตรอยุธยาสอดคลองกับหลักสูตรประวัติศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

และประวัติศาสตรรัตนโกสินทรสอดคลองกับหลักสูตรประวัติศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ดังนั้น กอนใช ครูผสู อนจำเปน ตองจำแนกหรือแยกแยะเฉพาะเนื้อหาทีจ่ ะใช อน่ึง ในสาระประวัตศิ าสตรอ ยุธยา ยงั จำแนกเนือ้ หาออกเปน 5 สว น คือ 1. การสถาปนากรุงศรีอยุธยา 2. วรี กษตั รยิ แ หง อยุธยา 3. อยุธยาเมืองทา การคานานาชาติ 4. ประณีตศลิ ปแ หง อยุธยา 5. นครประวัติศาสตรอยุธยา : มรดกโลก ดังน้ัน ครูผูสอนจึงตองวางแผนลวงหนาวาจะใชสื่อดังกลาวอยางไร และใชเวลาเทาใด จึงจะเหมาะสม การนำเขาสูบทเรียนเพื่อกระตุนใหเกิดความสนใจตอการเรียนการสอนควรเปนอยางไร เปนตน 3) ศึกษาเอกสารการเรียนรปู ระวัติศาสตรอยธุ ยา ผา นสื่อ Virtual Field Trip ซง่ึ เปน สอ่ื คูข นานกนั เพื่อทำความเขา ใจใหช ดั เจนวา มเี น้ือหาเพ่ิมเติมในเรือ่ งใดบาง 4) จัดเตรียมเอกสารใหเพียงพอสำหรับนักเรียน เชน แบบทดสอบกอน - หลังเรียน ภาพ แผนท่ี แผนผัง หรอื สาระเน้ือหาทีจ่ ะใหนกั เรยี นศึกษาเพิ่มเตมิ 5) จดั ทำแผนการจดั การเรียนรู เพือ่ เตรียมการสอนลว งหนา โดยใหการใชช ดุ สอ่ื การเรียนรู ผานส่ือ Virtual Field Trip ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ี ไดเสนอแนะตัวอยางแผนการจัดการเรียนรูไว ในลำดับตอไป 2. การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ครูผูสอนประวัติศาสตรสามารถดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูท่ีกำหนดไว หรือ อาจใชตัวอยางแผนการจัดการเรียนรูท่ีเสนอแนะไว อาจมีการปรับเปล่ียนกิจกรรมไดตามความเหมาะสม โดยดำเนินการตามลำดบั ดังน้ี 1) กิจกรรมกระตุนใหนักเรียนสนใจศึกษาชุดสื่อการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานสื่อ Virtual Field Trip 2) ทำแบบทดสอบกอนเรยี น 3) ชมสอ่ื การเรียนรนู อกหอ งเรียนเสมอื นจริง (เฉพาะตอนทก่ี ำหนดใหศึกษา) 4) สนทนาและแสดงความคดิ เห็นรวมกัน 5) ศึกษาเอกสาร “ความรเู พ่ิมเตมิ เกี่ยวกบั ประเด็นทเ่ี ก่ยี วของกบั วีดทิ ัศนต อนท่ศี ึกษา” 6) ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น ท้ังนี้ ครูผูสอนอาจจะใหนักเรียนทำกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยากอนการทำ แบบทดสอบหลังเรียน หรือทำแบบทดสอบหลังเรียนแลวจึงเพ่ิมเติมกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือฝกฝนทักษะ กระบวนการเรยี นรทู างประวตั ศิ าสตร และสรางเจตคตคิ า นยิ มทางประวตั ศิ าสตรก ไ็ ด  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

3. การสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผูสอนสามารถสรุปผลการจัดกิจกรรม ไดหลายลักษณะ เชน ❖ การบันทึกผลการเรียนรูเน้ือหาสาระ ดวยการใหนักเรียนชวยกันระดมความคิดวา ไดรับความรูเก่ียวกับเรื่องใดบา ง และจดบนั ทกึ เพอ่ื เตือนความจำรว มกัน ❖ การใชแบบทดสอบ เพื่อประเมินความกาวหนาในการเรียนรูของนักเรียน และ อาจนำมาใชใ นการสรุปเนอ้ื หากไ็ ด ❖ การสอบถามความคิดเหน็ เพอื่ ใชเปนขอมูลในการปรบั ปรงุ การเรียนการสอนตอไป  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ประวัติศาสตรอยธุ ยา กจิ กรรมที่ 1 การสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยา กิจกรรม หลกั ฐานน้นั สำคญั ไฉน ความสอดคลองกับหลกั สตู ร มาตรฐานการเรียนรู ส 4.1 ม.2/1 และ ส 4.1 ม.2/3 แนวคิด ความรูท่ีเก่ียวกับกรุงศรีอยุธยาราชธานีที่ย่ิงใหญ และคงความสำคัญทางการเมือง การปกครอง ยาวนานมากวา 4 ศตวรรษน้ี ไดมาจากการศึกษาวิเคราะหหลักฐานทางประวัติศาสตรและโบราณคดี สมยั อยธุ ยาท่หี ลงเหลือปรากฏอยใู นปจ จุบนั จดุ ประสงค เพื่อใหนกั เรยี นมคี วามรู ความเขา ใจ และตระหนกั ถงึ ความสำคัญของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร และโบราณคดที เ่ี กย่ี วของกบั ประวตั ิศาสตรอยุธยา แนวทางจดั กิจกรรม 1. นักเรียนศึกษาส่ือวีดิทัศน และเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ตอนการสถาปนา กรุงศรีอยุธยา เรื่องที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตรที่เก่ียวของกับประวัติศาสตรอยุธยา และรวมกัน อภปิ รายสาระสำคัญทีไ่ ดเ รยี นรู 2. นกั เรียนเขยี นแผนผังความคดิ (Mind Map) แสดงหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรก รุงศรอี ยธุ ยา 3. นักเรียนนำแผนผังความคิด (Mind Map) ของตนไปแลกเปล่ียนเรียนรูกับเพ่ือน ๆ ในช้ันเรียน เพ่ือปรบั ปรงุ แผนผังความคดิ ของตนเองใหถ กู ตอ ง แลวนำไปติดทีป่ า ยนิทรรศการหนา หองเรยี น  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

4. นกั เรยี นรวมกันอภิปรายเชงิ วิเคราะหใ นประเด็นตอไปน้ี 4.1 การศึกษาเก่ยี วกบั การสถาปนากรุงศรอี ยุธยาเปนราชธานอี าศยั หลักฐานใดบา ง ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 4.2 หลักฐานที่ระบมุ คี วามนา เชอ่ื ถือเพยี งใด และเปน หลักฐานประเภทใด ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 4.3 วเิ คราะหว า มหี ลกั ฐานใดบาง ท้งั ในดา นประวตั ิศาสตรแ ละโบราณคดีท่ีระบุวาบรเิ วณ อยธุ ยากอนการสถาปนาเปนชมุ ชนทมี่ คี วามเจรญิ รงุ เรืองมากอน ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 5. นักเรียนรวมกันอภิปรายเชิงวิเคราะหถึงความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีมีตอ การสืบคนประวัตศิ าสตรอยุธยา คำถามสะทอ นคิด 1. สง่ิ ท่ไี ดเรียนรูผานกิจกรรม “หลกั ฐานน้นั สำคญั ไฉน” คอื อะไร และอธิบายเหตผุ ลประกอบ 2. หลักฐานเก่ียวกับตวั เราในปจจบุ ัน เชน บัตรประจำตัวประชาชน เอกสารทะเบียนบาน เปน ตน มีความสำคัญตอการดำเนินชีวิตอยา งไร 3. “อิฐเกา ๆ แผนเดียวก็มีคา ควรจะชวยกันรักษาไว ถาเราขาดสุโขทัย อยุธยา และ กรุงเทพฯ แลว ประเทศไทยก็คงจะไมมีความหมาย...” พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงใหค วามสำคัญตอ เรอ่ื งหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรอ ยา งไร  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

กิจกรรมที่ 2 วรี กษตั รยิ แหง อยุธยา กิจกรรม แรงจูงใจ ความสอดคลอ งกับหลกั สตู ร มาตรฐานการเรียนรู ส 4.3 ม.2/1 แนวคิด พลังแหงศรัทธา ในเกียรติภูมิของวีรกษัตริยไทย และวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยในสมัยอยุธยา ท่ีมุงม่ัน เสียสละแมชีวิต ตลอดจนมีความชาญฉลาดจนประสบความสำเร็จในการปกปองและพัฒนา ชาติไทยใหคงอยูและเจริญรุงเรือง สืบสานจนถึงปจจุบัน เปนปจจัยสำคัญที่กระตุนใหเกิดแรงจูงใจที่จะ เปลยี่ นความคิด เปล่ียนพฤติกรรมของตนไปในทางที่ดี และตระหนัก มงุ ม่ัน รกั ษาบานเมอื งใหเจรญิ รงุ เรอื ง สบื ไป จดุ ประสงค เพื่อสรา งแรงจูงใจที่จะกระตุน นกั เรยี นใหเ กิดความรัก และภาคภมู ิใจในความเปน ไทย แนวทางจดั กิจกรรม 1. นักเรียนศึกษาส่ือวีดิทัศนและเอกสารประกอบเร่ืองอยุธยา ตอนวีรกษัตริยแหงอยุธยา แลว รวมกันอภปิ รายเชงิ วิเคราะหถึงผลงานสำคญั ๆ ของวรี กษัตรยิ  และวรี กรรมของบรรพบุรษุ ไทยสมยั อยธุ ยา 2. นกั เรยี นวิเคราะห และเขียนสรุปประเด็นสำคัญ ขอคดิ ทีไ่ ดจ ากการศกึ ษาเร่อื งราวดงั กลา ว 3. นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรูถึงขอคิด และความประทับใจ (ความรูสึก) ในความกลาหาญ และความชาญฉลาดของวรี กษัตรยิ และบรรพบุรุษสมัยอยุธยา 4. นักเรียนวิเคราะห และกำหนดแนวทางการปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันที่จะชวยพัฒนา ชาติไทยใหเจริญรุงเรือง และบันทึกพฤติกรรมดังกลาวในสมุด เพ่ือเตือนตนเองและกำหนดเปนเปาหมาย สำคัญของชวี ิต 5. นักเรียนทุกคนรวมกันใหคำม่ันสัญญาท่ีจะปฏิบัติตนเพ่ือปกปองและรักษาชาติไทย ใหเจริญรุงเรือง โดยใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 - 6 คน น่ังเรียงกัน คนท่ี 1 ที่น่ังขวาสุด ลุกขึ้นมา ยืนตรงกลางหันหนา เขาหากลมุ ทุกคนเลอื่ นท่นี ่ังไปทางขวา คนท่ี 1 - แนะนำช่ือ - หันหนาไปหาคนที่ 2 ในกลมุ - บอกสิง่ ท่ตี งั้ ใจจะทำเพ่ือประเทศชาติ คนที่ 2 ในกลุมเขาไปจับมอื ใหก ำลังใจ และบอกวา คุณทำได  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

คนที่ 1 ทำเชน น้ีจนครบทุกคน คนที่ 2, 3, 4, 5, 6 ทำเหมอื นคนท่ี 1 6. นักเรียนหาโอกาสดูภาพยนตร ละคร อานหนังสือ ฯลฯ ท่ีเก่ียวกับวีรกษัตริย วีรบุรุษ และวีรสตรี สมัยอยุธยาและสมัยอ่ืน ๆ ตลอดจนภูมิปญญาในทองถิ่นเพิ่มเติมเพ่ือปลูกฝงความดี ความภาคภมู ิใจไวในจติ ใตสำนึก และเปนแนวทางในการปฏิบตั คิ วามดตี อประเทศชาตจิ นเปนนสิ ัย 7. นักเรียนประเมินพฤติกรรมตามคำม่ันสัญญาเปนระยะ ๆ และบันทึกผลดีท่ีเกิดขึ้น ในครอบครัว สังคม และประเทศชาติดวยความภาคภูมิใจ มั่นใจ และสุขใจ และเขียนรายงานตอครูผูสอน ผปู กครอง และเพือ่ นนกั เรียน การสรปุ /สะทอนคิด การเรยี นรูครั้งน้ีเปนตวั อยางของการจุดประกายทางความคิด ปลกุ เราศรัทธา เกิดแรงจูงใจท่มี ุง มนั่ กระทำความดีตามบุคคลที่มีอุดมการณและคุณธรรม และประสบความสำเร็จในชีวิตโดยมีเปาหมาย ที่ชดั เจน และดำเนนิ ชวี ิตสูเ ปา หมายดวยความขยันหมั่นเพยี ร อดทนอดกลน้ั ฯลฯ จนประสบความสำเร็จ  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

กจิ กรรมท่ี 3 ประณีตศลิ ปแหงอยธุ ยา กิจกรรม หนูอยากเปน ชางศิลป ความสอดคลอ งกบั หลกั สูตร มาตรฐานการเรียนรู ส 4.3 ม.2/3 แนวคิด ประณีตศิลปแหงอยุธยาเปนผลงานศิลปะท่ีทำดวยฝมือและความชำนาญของชางไทย นับเปน หลักฐานทางประวัติศาสตรสำคัญที่บงบอกถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาอันสูงสง ของคนไทยในสมัยอยธุ ยา และสบื ทอดมาจนถึงสมัยรตั นโกสนิ ทรในปจจุบนั จุดประสงค เพื่อสรางความตระหนัก เห็นคุณคาของงานประณีตศิลปแขนงตาง ๆ จากหลักฐานท่ีปรากฏ ในสมยั อยุธยา แนวทางจดั กิจกรรม 1. นกั เรียนศกึ ษาวดี ิทัศนและเอกสารประกอบเรื่อง ประณตี ศลิ ปแหงอยุธยาทีก่ ำหนดให 2. นักเรียนรวมกันวางแผนสืบคนหลักฐานงานประณีตศิลปแหงอยุธยา ณ พิพิธภัณฑสถาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (โดยคำนึงถึงความปลอดภัย และการประสานงานกับภัณฑรักษและผูเกี่ยวของ อยางรอบคอบ) 3. นกั เรียนแบงกลมุ กลมุ ละ 4 - 6 คน ใหแ ตละกลุมเลอื กวาดภาพงานประณีตศิลป กลุมละ 1 ชน้ิ พรอมศึกษาสืบคนประวัติความเปนมา ลักษณะ และรูปแบบอันงดงามของงานประณีตศิลป แลวจัดทำ เปนสมุดภาพงานประณตี ศลิ ปแ หง อยุธยา 4. ใหนักเรียนทุกคนจินตนาการวา ตนเองอยากเปนชางศิลปดานใด แลวจัดกลุมนักเรียนท่ีมี จินตนาการเดยี วกนั ไปสบื คน รายละเอียดเกย่ี วกับชา งศิลปประเภทนัน้ แลว นำผลท่ไี ดจากกระบวนการเรยี นรู ดงั กลา วมาแลกเปลย่ี นเรยี นรู 5. นักเรียนรวมกันอภิปรายถึงคุณคาของงานประณีตศิลปท่ีไดไปศึกษามา และเช่ือมโยงมาถึง งานประณีตศลิ ปสมยั รัตนโกสนิ ทร จนไดขอ สรุปทวี่ า “ความงดงามของมรดกชางศิลปไทยเปนอันมากท่ีปรากฏอยูในสังคมไทยทุกวันน้ี ลวนเปน ผลงานท่ีเกิดจากการสรางสรรคของชางไทยในอดีต และสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน นับเปนมรดกวัฒนธรรม อันมีคาที่แสดงใหเห็นถึงเอกลักษณของความเปนไทย จึงควรอนุรักษแ ละสืบทอดใหยั่งยืนมิใหสูญหายไป ตามกาลเวลา”  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ตวั อยา ง แผนการจดั การเรียนรู หนวยการเรยี นรู : อาณาจกั รอยธุ ยา เร่ือง ภูมปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยธุ ยา กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 เวลา 3 ช่วั โมง มาตรฐานการเรียนรู ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเปน ไทย ตวั ชี้วดั ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมิปญญาดังกลาว ตอ การพฒั นาชาตไิ ทยในยคุ ตอมา สาระสำคัญ กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานีท่ีตอเน่ืองตลอดชวงเวลาอันยาวนาน ทำใหเกิดภูมิปญญาและ วัฒนธรรมดา นตา ง ๆ ทม่ี คี ณุ คา ควรแกความภาคภูมใิ จมากมาย ท่ีสามารถนำมาประยุกตใ ชใ หเหมาะสมกับ ชีวิตความเปน อยูข องสงั คมในปจ จบุ นั ได และควรรวมกนั อนรุ ักษไ วใ นการดำเนนิ ชวี ติ ไดอ ยางเหมาะสม จุดประสงคการเรียนรู 1. ยกตวั อยางภูมปิ ญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยอยุธยาได 2. วิเคราะหความสำคัญของภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาท่ีมีอิทธิพลตอวิถีชีวิต ของคนสมัยอยุธยาได 3. สรุปการนำภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยามาประยุกตใชในการดำเนินชีวิต ไดอยา งเหมาะสมในปจ จบุ นั สาระการเรียนรู 1. ผลงานภมู ิปญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยอยุธยา 2. ความสำคญั ของภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยธุ ยาที่มีอิทธิพลตอ วถิ ชี ีวิตของคน 3. การเลือกใชภูมปิ ญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยอยุธยาใหเ หมาะสมกบั การดำเนนิ ชวี ติ  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

กิจกรรมการเรียนรู 1. นำเขาสูบทเรียนโดยใหนักเรียนดูวีดิทัศนส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรอ ยุธยา เพอื่ ใหผูเรียนเกดิ ความสนใจ โดยเนน ใหน กั เรียนศกึ ษาในสว นทีเ่ ก่ยี วของกบั ภูมิปญ ญาและวฒั นธรรมและรวมกันอภปิ ราย เชน - นักเรียนคิดวา วถิ ีชีวิตของคนไทยในสมัยอยธุ ยาเปน อยางไร - ภูมิปญ ญาและวัฒนธรรมไทยในเร่ืองใดบา งทม่ี ีการกลา วถึงในส่อื วีดทิ ัศน - ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาเร่ืองใดบางท่ีสามารถนำมาประยุกตใชกับ คนไทยในปจ จบุ นั ได เพราะอะไร 2. แบงกลมุ นกั เรยี นกลมุ ละ 4 - 5 คน ซ่ึงมคี วามสามารถประกอบดว ย เกง ปานกลาง ออ น 3. แตละกลุม เลอื กประเดน็ ทีจ่ ะศกึ ษาตามความสนใจ โดยมกี รอบในการศึกษาดงั นี้ - เลอื กภูมิปญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยา 1 เร่ือง - วิเคราะหความสำคัญของภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาที่มีอิทธิพลตอ วถิ ชี วี ติ ของคนสมยั อยุธยา - สรุปการนำภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยามาประยุกตใชในการดำเนินชีวิต ไดอ ยา งเหมาะสมในปจจบุ นั 4. แตละกลุมเลือกประเด็นที่สนใจจากหัวขอ “ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา” พรอ มกบั ตั้งจดุ มุงหมายของการศึกษาครั้งนี้ 5. นกั เรยี นรวมกนั วางแผนการดำเนนิ การเพื่อใหเปน ไปตามกรอบท่วี างไว ประกอบดวย 5.1 ชื่อโครงงานทีน่ กั เรยี นจะทำ 5.2 หลักการและเหตุผลของโครงงาน โดยบอกที่มาและเหตุผลของการจดั ทำ 5.3 วตั ถปุ ระสงคข องโครงงาน ระบผุ ลดที ่จี ะไดร ับ 5.4 เจาของโครงงาน ระบชุ ื่อผูจัด 5.5 ทปี่ รึกษา ระบุช่อื ผูใหคำแนะนำและชวยเหลือ 5.6 สถานทปี่ ฏบิ ัติโครงงาน 5.7 ระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิตงั้ แตเร่ิมตน จนสน้ิ สดุ โครงงาน 5.8 งบประมาณในการดำเนนิ การ แยกรายการในการใชจ ายเรือ่ งใดบา ง 5.9 วิธกี ารศกึ ษาคน ควา โดยระบวุ า ใชว ิธีหาขอ มูลอยางไรบา ง 5.10 เครอื่ งมอื และอุปกรณทีใ่ ชศ กึ ษา 5.11 ผลทีค่ าดวาจะไดร บั 6. นกั เรียนดำเนนิ งานตามขัน้ ตอนทีก่ ำหนดโดยมกี ารรายงานความกาวหนาเปน ระยะ ๆ 7. นักเรียนประเมินผลความสำเร็จของโครงงาน บรรลุจุดมุงหมายหรือไม และไดประโยชน อยา งไร  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

8. ข้ันติดตามผล ครแู ละนักเรียนตดิ ตามผลของโครงงานเพื่อพัฒนางานใหดยี ง่ิ ขึน้ 9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการศึกษาจากโครงงาน “ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย สมยั อยธุ ยา” อีกครัง้ และนำเสนอหนา ชน้ั เรียนดว ยวิธกี ารของตนเองใหนา สนใจ 10. ทดสอบนักเรยี นเปนรายบุคคล สื่อและแหลง เรียนรู 1. วีดิทัศนส ื่อการเรียนรูน อกหอ งเรียนเสมอื นจริง : Virtual Field Trip ประวตั ิศาสตรอยธุ ยา 2. แหลงเรียนรูตาง ๆ เชน หองสมุดโรงเรียน หองคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต การสอบถามผูรู แหลง ขอ มลู ภายนอกโรงเรยี น หรอื หอ งสมุดประชาชน การประเมินผล 1. สังเกตความสนใจกระบวนการทางประวัตศิ าสตรใ นการศกึ ษาและการนำเสนอผลงาน 2. ตรวจผลงาน 3. ทดสอบนักเรยี นเปนรายบคุ คล และจากการรวมกจิ กรรมท่กี ำหนดให  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สำหรบั นักเรยี น

ความรูพื้นฐานประวัติศาสตรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาสถาปนาข้ึนในบริเวณท่ีราบลุมอุดมสมบูรณ มีแมน้ำ 3 สายลอมรอบ ไดแก แมน้ำเจาพระยา แมน้ำปาสัก และแมน้ำลพบุรี ปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารไทยหลายฉบับวา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือพระเจาอูทอง ทรงสรางกรุงศรีอยุธยาข้ึนเมื่อ พ.ศ. 1893 และเจริญรุงเรือง สืบตอ มายาวนานมากกวา 400 ป กรุงศรีอยุธยาดำรงความเปนราชธานีของไทย ระหวาง พ.ศ. 1893 - 2310 มีพระมหากษัตริย ปกครองอาณาจักรอยธุ ยา 33 พระองค ดงั น้ี 1. สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 1 1893 - 1912 15. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ 2091 - 2111 (พระเจาอูทอง) 1912 - 1913 16. สมเด็จมหนิ ทราธริ าช 2111 - 2112 2. สมเดจ็ พระราเมศวร (คร้ังท่ี 1) 1913 - 1931 3. สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 1 17. สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธริ าช 2112 - 2133 1931 - 1931 (ขุนหลวงพะงั่ว) 18. สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช 2133 - 2148 4. สมเดจ็ พระเจา ทองลัน 1931 - 1938 1938 - 1952 19. สมเด็จพระเอกาทศรถ 2148 - 2153 (หรือเจาทองจันท) 1952 - 1967 สมเด็จพระราเมศวร (ครัง้ ท่ี 2) 20. พระศรีเสาวภาคย 2153 - 2154 5. สมเดจ็ พระรามราชาธริ าช 1967 - 1991 6. สมเดจ็ พระอินทราชา 21. สมเด็จพระเจาทรงธรรม 2154 - 2171 (พระนครินทราธริ าช) 1991 - 2031 7. สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี 2 2031 - 2034 22. สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าช 2171 - 2172 (เจา สามพระยา) 2034 - 2072 8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ 23. พระอาทิตยวงศ 2172 - 2172 9. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 2072 - 2076 10. สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 2 24. สมเดจ็ พระเจาปราสาททอง 2172 - 2199 (พระเชษฐาธริ าช) 2076 - 2077 11. สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ 4 2077 - 2089 25. สมเดจ็ เจาฟา ไชย 2199 - 2199 (หนอ พทุ ธางกรู ) 2089 - 2091 12. พระรษั ฎาธริ าช 2091 - 2091 26. สมเดจ็ พระศรสี ธุ รรมราชา 2199 - 2199 13. สมเด็จพระไชยราชาธริ าช 14. พระยอดฟา (พระแกว ฟา ) 27. สมเด็จพระนารายณม หาราช 2199 - 2231 ขุนวรวงศาธริ าช* 28. สมเด็จพระเทพราชา 2231 - 2246 29. สมเดจ็ พระสรรเพชญท ี่ 8 2246 - 2251 (พระเจา เสือ) 30. สมเด็จพระสรรเพชญที่ 9 2251 - 2275 (พระเจาทา ยสระ) 31. สมเดจ็ พระเจา อยูห ัวบรมโกศ 2275 - 2301 32. สมเด็จพระเจา อทุ ุมพร 2301 - 2301 (ขุนหลวงหาวดั ) 33. สมเดจ็ พระทน่ี งั่ สรุ ิยาศนอมรนิ ทร 2301 - 2310 (พระเจา เอกทัศ) ทีม่ า : ราชบัณฑติ ยสถาน. สารานุกรมประวตั ิศาสตรไทย อกั ษร ก ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน. กทม. 2537. * ไมน ับเปนกษัตริย  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ประวัตศิ าสตรอ ยธุ ยามพี ฒั นาการแบงไดเ ปน 3 ระยะ คือ 1. สมยั อยธุ ยาตอนตน (พ.ศ. 1893 - 1991) เร่มิ ตั้งแตสมัยสมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ 1 (พระเจา อูทอง) จนถงึ สมัยสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจา สามพระยา) เปน ชวงเวลาของการวางรากฐานอำนาจ และเสริมสรางความม่ันคงใหอาณาจักร โดยรวมเมืองสุพรรณบุรีและลพบุรีเปนสวนหน่ึงของอาณาจักร มีการประกาศใชกฎหมายในการควบคุมกำลังคน ติดตอคาขายกับจีน และขยายอำนาจไปครอบคลุม อาณาจกั รสโุ ขทัยทางตอนเหนือ อาณาจกั รเขมรทางตะวันออก และหัวเมอื งทางตะวันตก เชน มะริด ทวาย และตะนาวศรี 2. สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 1991 - 2231) เริ่มตั้งแตสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ จนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เปนชวงเวลาที่อยุธยามีความเปนปกแผน มีอำนาจทางการเมืองและ เจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจ มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศอยางกวางขวาง เปนศูนยกลางการคา ท่ีสำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถไดปฏิรูปการปกครอง โดยแยกทหาร ออกจากพลเรือนและออกกฎหมายควบคุมราษฎรเปนระบบท่ีเรียกวา มูลนายและศักดินา ในชวงที่อยุธยา ไดขยายอำนาจทางการเมืองครอบคลุมดินแดนตาง ๆ อยางกวางขวาง เปนเหตุใหตองทำสงครามกับพมา ซึ่งเปนอาณาจักรใหญอีกอาณาจักรหน่ึง สงครามไทยกับพมาเปนสงครามท่ียืดเย้ือตอเนื่อง อันเปนผล ทำใหก รุงศรีอยุธยาเสียกรุงคร้ังแรกแกพมาใน พ.ศ. 2112 3. สมยั อยุธยาตอนปลาย (พ.ศ. 2231 - 2310) เรม่ิ ตั้งแตส มยั สมเดจ็ พระเทพราชา จนถึงสมัย สมเด็จพระเจาเอกทัศ เปนชวงเวลาท่ีอาณาจักรอยุธยาเร่ิมเสื่อมอำนาจลง ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการแยงชิง อำนาจกันเองที่ทำใหเสียชีวิตผูคนและขุนนางเปนจำนวนมาก เปนผลใหการควบคุมกำลังไพรพลเส่ือมลงไป ดวยผนวกกับการรุกรานจากพมาท่ีมีอยางตอเน่ือง ผูนำไทยไมมีความสามารถพอที่จะปกปองประเทศได ทำใหอ าณาจักรอยุธยาลมสลายลงใน พ.ศ. 2310 อาณาจักรธนบรุ ี (พ.ศ. 2310 - 2325) สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงสถาปนาอาณาจักรธนบุรีขึ้น ภายหลังจากท่ีทรงกอบกูเอกราช คืนมาจากพมา และทรงเห็นวากรุงศรีอยุธยามีสภาพทรุดโทรมไมสามารถฟนฟูใหกลับคืนสภาพเดิมได จึงทรงตั้งราชธานใี หมท ่กี รงุ ธนบรุ ี แลว เสด็จขึน้ ครองราชสมบัติทรงพระนามวา สมเดจ็ พระบรมราชาที่ 4 กรุงธนบุรีสถาปนาข้ึนในบริเวณเมืองทาการคาใกลทะเล และเปนเมืองหนาดานทางทะเลของ กรุงศรีอยุธยามากอน ในระยะแรกของการสถาปนาสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงฟนฟูบานเมือง ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสรางความเขมแข็งทางการเมืองการปกครองขึ้นมาใหมดวยการปราบปราม คนไทยกลุมตาง ๆ ใหเ ขา มาอยภู ายใตอาณาจักรใหม และขยายอำนาจไปยังดนิ แดนตาง ๆ ไดหลวงพระบาง เวียงจันทน จำปาศกั ด์ิ และเขมร เปนเมอื งประเทศราช ตอนปลายสมยั ของสมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช เกดิ การจลาจลในกรุงธนบรุ ีจนเปนเหตุให สมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราชสิน้ สดุ อำนาจทางการเมือง สมเด็จเจา พระยามหากษตั รยิ ศึกจึงปราบดาภิเษก ขึ้นเปนกษตั รยิ  ใน พ.ศ. 2325 และยา ยราชธานมี าอยทู ีก่ รุงรัตนโกสินทร  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

คำช้ีแจงการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรบั การศกึ ษาดว ยตนเอง 1. ศึกษาความรพู นื้ ฐานประวัตศิ าสตรสุโขทัย 2. ทำแบบทดสอบกอนเรียน 3. ชมสอ่ื วดี ทิ ศั น “ประวตั ศิ าสตรอยุธยา” ทีละตอน 4. ศกึ ษาเนือ้ หาสาระทีจ่ ดั ใหเพิ่มเติม เพือ่ เตมิ เต็มความรูใหกวางขึน้ 5. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 6. เฉลยแบบทดสอบและเปรยี บเทียบผลทดสอบกอน - หลงั ดวยตนเอง 7. ศึกษาเพ่มิ เติมจากหนังสอื ท่ีปรากฏในบรรณานุกรมทา ยเน้ือหาหรือส่อื อนื่ ๆ เมื่อตอ งการความรเู พิม่ ข้นึ พักและหาเวลาศกึ ษาประเด็นตอ ไปเมื่อพรอ ม  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 1 การสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยา ความสอดคลองกับหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 การศึกษาชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรอยุธยา ผานส่ือ Virtual Field Trip ชุดที่ 1 การสถาปนากรุงศรีอยุธยา นักเรียนจะไดรับความรูซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วดั ชนั้ ป ดังนี้ ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรม าวิเคราะหเหตกุ ารณต าง ๆ อยา งเปน ระบบ ม.2/ส 4.1 ขอ 1 ประเมินความนาเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร ในลักษณะตา ง ๆ ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมใิ จ และธำรงความเปน ไทย ม.2/ส 4.3 ขอ 1 วิเคราะหพ ัฒนาการของอาณาจกั รอยุธยาและธนบุรีในดา นตา ง ๆ ม.2/ส 4.3 ขอ 2 วิเคราะหปจจัยท่ีสงผลตอความม่ันคงและความเจริญรุงเรือง ของอาณาจกั รอยธุ ยา ม.2/ส 4.3 ขอ 3 ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภมู ิปญญาดังกลา วตอ การพฒั นาชาติไทยในยุคตอมา  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

PRE-TEST ชุดที่ 1 การสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยา คำชี้แจง ใหนกั เรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกตองที่สดุ เพียงขอเดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. ขอ ใดคอื หลักฐานสำคัญที่กลา วถึงสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถของอาณาจักรอยธุ ยา ทรงผนวชท่ีเมืองพิษณุโลกในขณะท่ีครองราชย เชนเดยี วกบั พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) แหง อาณาจักรสุโขทยั ก. ศลิ าจารึกเจดยี ศ รสี องรกั ข. จดหมายเหตุโกษาปาน ค. ศลิ าจารกึ วัดจฬุ ามณี ง. จดหมายเหตุลาลูแบร ฉบับสมบูรณ 2. ขอใดคือพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบบั เกาทีส่ ุดทค่ี อนขางสมบูรณและหลงเหลอื มาถึงปจ จุบัน ก. ชนิ กาลมาลปี กรณ ข. พงศาวดารโยนก ค. พระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบับหลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ิ์ ง. พระราชพงศาวดารกรงุ สยาม หรอื พระราชพงศาวดาร ฉบับบริตชิ มวิ เซียม 3. แผนทกี่ รุงศรีอยุธยาทีช่ าวตะวนั ตกสรา งข้นึ เร่มิ ตน ในสมยั ใด ก. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ข. สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 2 ค. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ง. สมเด็จพระนารายณม หาราช 4. ปจจัยที่ทำใหอาณาจักรอยุธยามีความมั่นคงทางการเมืองต้ังแตเร่ิมสถาปนากรุงศรีอยุธยา ข้ึนใน พ.ศ. 1893 คือขอ ใด ก. ตัง้ อยใู นบริเวณทีม่ ีความอุดมสมบูรณ ข. การรวมแควนลพบุรีและสุพรรณบุรีเขามาในอาณาจักร ค. การรวมแควน สุโขทัยเปน สวนหน่ึงของอาณาจกั รอยธุ ยา ง. ถกู ทุกขอ 5. สาเหตุใดทำใหไ มสามารถระบพุ ระราชประวตั ิและพระราชกรณยี กิจของสมเด็จพระเจาอูทองได ก. ไมป รากฏหลกั ฐานช้นั ตนชัดเจน ข. มหี ลักฐานช้นั ตน หลากหลายจนไมสามารถสรุปได  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ค. เมอื งอูทองรางไปกอ นการต้ังกรงุ ศรีอยธุ ยาถึง 200 ป ง. พระองคทรงอพยพยายถน่ิ ฐานหลายเมอื ง พระราชประวตั จิ งึ ไมช ดั เจน 6. ปจ จยั ที่ดึงดดู ใหผ ูค นจากที่ตาง ๆ ยายถิ่นฐานเขา มาอยูกรงุ ศรอี ยธุ ยาคือขอ ใด ก. ความเขมแขง็ ทางการทหาร ข. ความอุดมสมบรู ณ และศูนยก ลางการคา ค. ทีต่ ้งั เปนเกาะกลางแมนำ้ เสมอื นปราการตามธรรมชาติ ง. อยธุ ยาขยายอำนาจครอบครองหัวเมอื งตาง ๆ ไดอ ยางม่นั คง 7. ปจ จัยใดทำใหอยุธยาเกิดความขัดแยงกบั พมา ถึงขัน้ ทำสงครามตอเนอื่ งกันหลายคร้งั ก. แขง ขันกนั ขยายอทิ ธิพลเหนือหัวเมอื งมอญทเี่ ปนเมืองทา การคา ทางทะเลอันดามัน ข. อยุธยาขยายอำนาจครอบครองอาณาจกั รสุโขทยั และลานนา ค. ความตอ งการแสดงความเปนจักรพรรดิราช หรือกษัตริยที่ยิ่งใหญ ง. ความพยายามควบคุมหัวเมอื งนครศรธี รรมราช และหวั เมืองในคาบสมทุ รมลายู 8. อาณาจักรอยธุ ยาไดครอบครองอาณาจกั รสโุ ขทัยอยา งสมบรู ณใ นสมยั ใด ก. สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ 1 (พระเจาอูท อง) ข. สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) ค. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ง. สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี 2 (เจา สามพระยา) 9. สงครามคร้งั แรกระหวา งอาณาจกั รอยุธยากบั อาณาจักรพมา คอื ขอใด ก. ศกึ เมืองเชยี งกราน ข. สงครามชา งเผอื ก ค. สงครามยุทธหตั ถี ง. สงครามครั้งเสยี สมเด็จพระสุรโิ ยทัย 10. อาณาจกั รอยธุ ยาไดห ัวเมืองเขมรเปนเมอื งประเทศราชในสมัยใด ก. สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ 1 (พระเจา อูทอง) ข. สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 1 (ขนุ หลวงพะงัว่ ) ค. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ง. สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ 2 (เจา สามพระยา) เฉลย 1. ค 2. ค 3. ง 4. ข 5. ก 6. ข 7. ก 8. ค 9. ก 10. ง  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ท่ี 1 การสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยา

ความรูเก่ียวกับกรุงศรีอยุธยาราชธานีท่ีย่ิงใหญ และคงความสำคัญทางการเมืองการปกครอง ยาวนานมากกวา 4 ศตวรรษนี้ ไดมาจากการศึกษาวิเคราะหหลักฐานทางประวัติศาสตรและโบราณคดี ทีห่ ลงเหลืออยูในปจจุบัน เฉพาะหลักฐานทเ่ี ปนลายลกั ษณอกั ษร ไดแก 1. จารึก หมายถึง หลักฐานการเขียนตวั หนงั สือลงในวสั ดุท่มี คี วามคงทน เชน แทงหนิ แผน เงิน แผนทองคำ แผนทองแดง แผนอิฐ ฐานพระพุทธรูป ฐานเจดีย ถือเปนหลักฐานประเภทลายลักษณอักษร ที่เกาแกที่สุด และมีความนาเชื่อถือ เพราะเปนหลักฐานช้ันตนที่จัดทำข้ึนโดยผูมีสวนรวมกับเหตุการณ ซง่ึ ไมอาจแกไ ขหรอื ดดั แปลงไปจากเดิมได จารกึ ในสมัยอยธุ ยา เชน ศิลาจารึกวัดจุฬามณี จังหวัดพิษณุโลก กลาวถึงสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงผนวช ทว่ี ัดจุฬามณี เมืองพษิ ณุโลก เมอ่ื พ.ศ. 2008 ศิลาจารึกเจดียศรีสองรัก อำเภอดานซาย จังหวัดเลย กลาวถึงการประกาศความเปนมิตร ระหวางสมเด็จพระมหาจักรพรรดิของอาณาจักรอยุธยา กับพระไชยเชษฐาแหงอาณาจักรลานชาง เมือ่ พ.ศ. 2103 2. พระราชพงศาวดาร หมายถึง การบันทึกเร่ืองราวภายใตการอุปถัมภของราชสำนัก เน้ือหาจะเนนพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริยที่ปกครองอาณาจักร เชื่อวาประเพณีการสราง พระราชพงศาวดารไทยเรมิ่ ในสมัยอยธุ ยา พระราชพงศาวดารในสมยั อยธุ ยาทสี่ ำคัญ เชน พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิ เปนพระราชพงศาวดาร ฉบับเกาแกท่ีสุด ท่ีคอนขางสมบูรณ และเหลือมาถึงปจจุบัน เขียนข้ึนในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เม่ือ พ.ศ. 2223 มีเน้ือหาคอนขางสังเขป เร่ิมต้ังแตการสรางพระพุทธรูปพนัญเชิง เม่ือ พ.ศ. 1867 กอนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา 26 ป การสถาปนากรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 1893 และเนื้อหาจบลงใน พ.ศ. 2147 กลาวถึงเหตุการณท่ีสมเด็จพระนเรศวรยกทัพไปถึงเมืองหางหลวง เขาใจวาตนฉบับคงหายไป หรือไดม าไมค รบ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เปนพระราชพงศาวดารท่ีมี เนือ้ หาละเอียดสมบรู ณ เปน ประโยชนต อ การศึกษาประวตั ิศาสตรอยธุ ยาอยา งย่ิง 3. จดหมายเหตุ หมายถึง การบันทึกเหตุการณรวมสมัย หรือในชวงเวลาใกลเคียงกับผูท่ีพบเห็น เหตุการณแลวบันทึกไว นับเปนเอกสารท่ีใหความถูกตองชัดเจนในเรื่องชวงเวลาท่ีเกิดเหตุการณ จดหมายเหตใุ นสมยั อยธุ ยา เชน จดหมายเหตุโกษาปาน ซ่ึงเขียนโดยออกพระวิสุทธสุนทร (ปาน) ราชทูตไทยท่ีนำคณะทูต ไปเฝา พระเจาหลุยสท่ี 14 แหงฝรั่งเศส เม่ือ พ.ศ. 2229 4. เอกสารชาวตางชาติ หมายถึง เอกสารที่เขียนโดยชาวตางชาติท่ีไดเขามาในอาณาจักร อยุธยา ซ่ึงมีทั้งพอคา นักบวช ผูเผยแพรศาสนา คณะทูต และนักเดินทาง เอกสารชาวตางชาติที่สำคัญ ตอการศึกษาประวัติศาสตรอยุธยา คือ เอกสารของจีน เชน บันทึกเกี่ยวกับการคา จดหมายเหตุประจำ รัชกาล ประวัติศาสตรราชวงศหมิงหรือหมิงสือลู และเอกสารชาวตะวันตกชาติตาง ๆ เชน โปรตุเกส ฮอลันดา อังกฤษ ฝร่ังเศส เอกสารตะวันตก เชน  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

จดหมายเหตกุ ารณเดนิ ทางของโตเม ปเรส เขยี นโดยโตเม ปเรส ชาวโปรตุเกส ซ่งึ เดินทาง มากรุงศรอี ยุธยาในราว พ.ศ. 2055 ในสมยั สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 จดหมายเหตุลาลูแบร ฉบับสมบูรณ เขียนโดย ซีมง เดอ ลาลูแบร ราชทูตฝรั่งเศสที่ได เดินทางมากรุงศรอี ยธุ ยา ใน พ.ศ. 2230 ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณมหาราช ประวัติศาสตรธรรมชาติ และการเมืองแหงราชอาณาจักรสยาม เขียนโดยนิโกลาส แชรแวส พอ คาชาวฝรง่ั เศสซึ่งเดนิ ทางมากรงุ ศรอี ยุธยาในสมยั พระนารายณมหาราช 5. วรรณกรรมสมัยอยธุ ยา หมายถงึ คำประพนั ธท ั้งประเภทรอยกรองและรอยแกว ซึ่งแตงขน้ึ ดวยความบันเทิงและจินตนาการของผูเขียน แตสะทอนสภาพของสังคมและวัฒนธรรมในชวงสมัยนั้น วรรณกรรมสมยั อยุธยาท่มี คี ณุ คา ตอการศึกษาประวตั ศิ าสตร เชน โคลงยวนพาย (ลิลิตยวนพาย) ซึ่งแตงโดยพระเบญจาพิศาล เพื่อยอพระเกียรติสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถแหงอยธุ ยา ในการทำสงครามกบั พระเจาตโิ ลกราชของลานนา โคลงมังทรารบเชียงใหม ตนฉบับเปนใบลาน ไมปรากฏนามผูแตง มีขอความระบุเพียงวา ผูแตงเปนเช้ือพระวงศลานนาท่ีถูกกวาดตอนจากเมืองเชียงใหมไปเมืองหงสาวดีของพมา เม่ือประมาณ พ.ศ. 2158 วรรณกรรมเร่ืองน้ีกลาวถึงความสัมพันธของเมืองเชียงใหมกับอยุธยาในสมัยสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช 6. คำใหการ เปนเอกสารที่จดบันทึกจากคำบอกเลาของขาศึกท่ีจับมาไดจากสงคราม หรือ พอคาท่เี ดนิ ทางมาคา ขาย คำใหก ารทเ่ี กีย่ วของกับประวตั ศิ าสตรอ ยธุ ยา เชน คำใหการชาวกรุงเกา เปนเอกสารท่ีมาจากคำบอกเลาของเชลยศึกชาวอยุธยาที่ถูกพมา จับตัวไป มี 2 ภาค คือ ภาคแรกเปนเร่ืองประวัติศาสตรต้ังแตการต้ังกรุงศรีอยุธยาจนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา ภาคที่ 2 เปน เร่ืองเบ็ดเตลด็ ตา ง ๆ คำใหการขุนหลวงหาวัด เปนเอกสารที่ไดมาจากคำบอกเลาของพระเจาอุทุมพรท่ีถูกพมา จับตัวไปเปนเชลย คราวเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ 2 เนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตรอยุธยาตั้งแตสมัย สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช จนเสยี กรุงศรีอยธุ ยาครง้ั ท่ี 2 บรรณานกุ รม ปรีดี พิศภูมิวิถี. คูมือทองเท่ียวอยุธยา เพื่อการศึกษาประวัติศาสตรสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. สถาบนั วจิ ยั สงั คม มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม : เชยี งใหม, 2552. วินยั พงศศรีเพยี ร. บรรณาธกิ าร. อยธุ ยา : พรรณนาภมู ิสถาน และมรดกความทรงจำแหง พระนครศรอี ยธุ ยา. โครงการวจิ ยั เมธีวจิ ยั อาวโุ ส (สกว.). กรงุ เทพฯ : อุษาคเนย, 2551. ศึกษาธิการ, กระทรวง. พระนครศรอี ยธุ ยา : มรดกโลกลำ้ คา ภูมิปญ ญาเล่ืองลอื . กรุงเทพฯ : องคก ารคา ของครุ สุ ภา, 2548.  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 1 การสถาปนากรุงศรีอยุธยา

แผนท่ีแสดงทัศนียภาพกรุงศรีอยุธยา ท่ีสำคัญอีกฉบับหน่ึง ช่ือ India ou Sian เขียนโดย อแลง มาเลต ที่กรุงปารีส เขียนเม่ือ พ.ศ. 2226 เช่ือวาเปนแผนที่ที่อาศัยตนแบบจากภาพเขียนโดย วิงบูนส แผนท่ีฉบับน้ีใหบรรยากาศรอบเกาะเมืองท่ีมี เรอื สินคา เขามาตามลำน้ำเจาพระยา แผนท่ีชื่อ Sian ou Iudia วาดโดย บาทหลวงชาวฝรง่ั เศสชื่อ คูรตอ แลง เมอ่ื พ.ศ. 2229 แสดงท่ีต้ังของสถานที่สำคัญในกรุงศรีอยุธยา หมูบาน ของชาวตางชาติท่ีกระจายอยูนอกเกาะอยุธยา ยานท่ีมีผูคนอาศัยอยางหนาแนน ถนนและแมน้ำของ กรุงศรีอยุธยา แผนที่น้ีชาวอิตาลีชื่อ วินเซนโซ โคโรเนลลี ไดค ัดลอกเพ่อื ลงในหนังสือ เมื่อ พ.ศ. 2239 แผนทเ่ี มืองสำคญั สมัยอยธุ ยา ท่ีมาของภาพ : ชาญวิทย เกษตรศิริ. อยุธยา : ประวตั ศิ าสตรแ ละการเมือง. หนา 25.  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

แผนท่ีกรงุ ศรอี ยุธยาของชาวตะวนั ตก แผนท่ีท่ีวาดโดยนักภูมิศาสตร ช่ือ R.P. Placide ในคณะราชทูตฝรั่งเศสของพระเจาหลุยส ท่ี 14 ทีเ่ ดนิ ทางมาอยุธยาในสมยั สมเด็จพระนารายณ มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2229 ซึ่งแสดงใหเห็นเรือ ของคณะทูตฝรั่งเศสช่ือ เชอวาลิเอร เดอ โชมองต เดินทางผานมหาสมุทรอินเดียเขาชองแคบซุนดา ที่อยูระหวางเกาะสุมาตราและเกาะชวา ผาน คาบสมทุ รมลายเู ขาอาวไทยถงึ ปากนำ้ เจา พระยา การทำแผนที่กรุงศรีอยุธยาเจริญรุดหนา มากในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ดวย พ ร ะ อ ง ค ท ร ง เ ห็ น ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ก า ร ท ำ แ ผ น ที่ จึงอนุญาตใหนักบวชชาวฝรั่งเศสทำการสำรวจ ทางดานดาราศาสตร และภูมิศาสตร และใหออก พระศักดิสงคราม (เดอ ฟอรบัง) นายทหารฝรั่งเศส สอนวิธีการทำแผนท่ีใหทหารไทยดวย แผนท่ีท่ีจัดทำ ปลายสมัยอยุธยาจึงมีความแมนยำ ถูกตองมากกวา แผนท่ที ที่ ำกอนหนา น้ัน บรรณานุกรม ชาญวิทย เกษตรศิริ. บรรณาธิการ. อยุธยา : Discovering Ayutthaya. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการ ตำราสังคมศาสตรและมนษุ ยศาสตร และมูลนิธิโตโยตาแหงประเทศไทย, 2546. วนิ ัย พงศศรีเพียร. บรรณาธกิ าร. อยธุ ยา : พรรณนาภมู ิสถาน และมรดกความทรงจำแหงพระนครศรีอยธุ ยา. โครงการวจิ ยั เมธีวิจัยอาวุโส (สกว.). กรงุ เทพฯ : อุษาคเนย, 2551. ศกึ ษาธกิ าร, กระทรวง. พระนครศรอี ยธุ ยา : มรดกโลกล้ำคา ภูมิปญ ญาเลื่องลอื . กรงุ เทพฯ : องคการคา ของคุรุสภา, 2548. . หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานประวตั ิศาสตร ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 2. กรงุ เทพฯ : องคการคา ของคุรสุ ภา, 2554.  Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดท่ี 1 การสถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยา