Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการส่งเสริมการอ่านและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 2 เมษา เจ้าฟ้านักอ่านประจำปี 2561

โครงการส่งเสริมการอ่านและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 2 เมษา เจ้าฟ้านักอ่านประจำปี 2561

Description: โครงการส่งเสริมการอ่านและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 2 เมษา เจ้าฟ้านักอ่านประจำปี 2561

Search

Read the Text Version

สรุปผ ลการปฏบิตังิานโครงการส่งเสรมิการอา่นและ เฉลิมพระเกียรตสิมเด็จพระเทพรัตนราชสดุาฯ 25612 เมษาเจ้าฟ้านักอา่น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธัยาศัยอำเภอบางละมุง สำนกังานส่งเสริมการศกึษานอกระบบและการศึกษาตามอธัยาศยัจังหวัดชลบุรี

สารบัญ บทท่ี 1 บทนำ หนา้ บทที่ 2 เอกสำรกำรศึกษำท่เี ก่ียวขอ้ ง 1 บทท่ี 3 วธิ ีกำรดำเนนิ งำน 5 บทที่ 4 ผลกำรดำเนนิ งำน 19 บทท่ี 5 สรุปควำมพึงพอใจ 20 40

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 1 | บทท่ี 1 บทนำ 1. โครงกำรส่งเสริมกำรอ่ำนและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ 2 เมษำ เจ้ำฟ้ำนักอ่ำน ประจำปี 2561 2. หลักกำรและเหตุผล ในวันท่ี 2 เมษายน ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 63 พรรษา พระราชกรณียกิจของพระองค์ในการพัฒนาประเทศนั้น ต่อเนื่องยาวนานในทุกด้าน ทรงเป็นมิ่งขวัญสถิตย์กลางใจพสกนิกรทุกหมู่เหล่า จากพระจริยวัตร และความสน พระทัยในการอ่าน การจดบันทึก การเขียนและการเรียนรู้ บังเกิดเป็นพระราชนิพนธ์จานวนมาก ท่ีเป็นแบบอย่าง อันงดงามใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชนไทย กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้ ปี 2552 – 2561 เป็นทศวรรษแห่งการอ่านของประเทศ และให้ การ ส่งเสริมการอ่านเป็นวาระแห่งชาติ เพ่ือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยกาหนดให้วันท่ี 2 เมษายน ซึ่ง เป็นวนั คลา้ ยวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” และ เม่อื วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ 2528 รฐั บาลได้ประกาศใหว้ นั ท่ี 2 เมษายน เป็น “วนั อนุรักษ์มรดกไทย” ด้วยตระหนักใน พระปรีชาสามารถในดา้ นศิลปวัฒนธรรมและพระมหากรุณาธิคุณท่ีทรงอนุเคราะห์ สนับสนุนกิจกรรมอันเน่ืองด้วย งานวัฒนธรรมของชาติเสมอมาโดยเฉพาะทรงเป็นแบบอย่างในการบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ และพระราชจริยา วัตรในด้านการอนุรักษ์มรดกของชาติในสาขาต่าง ๆ เช่น วรรณศิลป์ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภาษาไทย สถาปัตยกรรม ดนตรีไทยและพุทธศาสนา รวมท้ังได้เจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาทในการสร้างสรรค์และธารง รักษามรดกของชาติให้ยั่งยนื ตกทอดตอ่ ไปถึงลูกหลาน (ทม่ี า: https://www.gotoknow.org/posts/484064) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง และห้องสมุดประชาชน “เฉลิม ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง เล็งเหน็ ความสาคัญของการอ่าน และระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทพี่ ระองค์ที่มตี ่อปวงชาวไทย จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นมา เพ่ือให้นักศึกษา กศน. อาเภอบางละมุง และประชาชนท่ัวไป ได้เห็นความสาคัญของการอ่าน การศึกษาหาความรู้ ตลอดจนทานุ บารุงรกั ษาศลิ ปวฒั นธรรมไทยให้ไมเ่ ลอื นหายไป 3. วัตถุประสงค์ เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และทานุบารุงรักษาศิลปวัฒนธรรมไทยให้กับ นักศึกษา กศน. อาเภอ บางละมงุ รวมท้งั ประชาชนทัว่ ไป ในการเฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง เจริญพระชนมายคุ รบ 63 พรรษา

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 2 | 4. เปำ้ หมำย 4.1 เชิงปริมำณ 600 คน - นกั ศกึ ษา กศน. อาเภอบางละมงุ 500 คน - ประชาชนทัว่ ไป 100 คน 4.2 เชงิ คณุ ภำพ - นักศกึ ษา กศน. และประชาชนท่ัวไป เกิดความตระหนักเห็นประโยชน์ และความสาคัญของ การอา่ น ร่วมอนรุ ักษ์ทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมไทย - นักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป ได้ร่วมกิจกรรมเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ สยาม บรมราชกมุ ารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 63 พรรษา 5. วิธีดำเนินงำน 5.1 ประชมุ วางแผนการปฏบิ ัตงิ าน 5.2 จัดทาโครงการ 5.3 ขออนุมัตโิ ครงการ 5.4 ดาเนินการตามโครงการ 5.5 สรปุ และประเมนิ ผล กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้ำหมำย เป้ำหมำย พื้นที่ ระยะเวลำ งบประมำณ ดำเนนิ กำร 2 เม.ย.61 58,350.-บาท เพือ่ จัดกิจกรรม 1.นักศึกษา 1.นกั ศึกษา กศน. หอ้ งสมดุ สง่ เสริมการอา่ น กศน. 2.ประชาชน ประชาชน ทัว่ ไป “เฉลมิ ราช และทานุ 2.ประชาชน กมุ ารี” อ.บางละมุง บารงุ รักษา ท่ัวไป ศิลปวัฒนธรรม ไทยให้กับ นกั ศกึ ษา กศน. อาเภอบางละมงุ รวมท้ัง ประชาชนทว่ั ไป ในการเฉลมิ พระ เกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ทรง เจริญ พระชนมายุครบ 63 พรรษา

สรุปผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 3 | กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปำ้ หมำย เป้ำหมำย พ้นื ที่ ระยะเวลำ งบประมำณ ดำเนินกำร - กิจกรรมประกวดเขียน เรยี งความ เกี่ยวกับการ เทดิ พระเกียรตสิ มเด็จ พระเทพฯ เจา้ ฟา้ นักอา่ น ,คดั ลายมือ - ประกวดร้องเพลง - การมอบเกยี รติบตั ร ใหก้ บั ผู้ชนะ 6. งบประมำณ เบกิ จา่ ยจากงบประจาปี 2561 งบอดุ หนนุ (จัดการเรยี นการสอน) โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ ลาดับที่ รายการ จานวนเงนิ 1 ธงตราสญั ลักษณ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ กว้าง 60 ซม.x ยาว 90 ซม. 500 บาท จานวน 10 ผนื ๆ ละ 50 บาท 2 ธงชาตไิ ทย กว้าง 60 ซม.x ยาว 90 ซม. จานวน 10 ผนื ๆ ละ 50 บาท 500 บาท 3 สมดุ ประสาทพร จานวน 1 เล่ม ๆ ละ 500 บาท 500 บาท 4 ผา้ มว้ นสีขาว และมว่ ง จานวน 2 ม้วน ๆ ละ 1,800 บาท 3,600 บาท 5 คา่ เชา่ เตน็ ทผ์ ้าใบ (นิทรรศการ 6 เตน็ ท์ และ อานวยการ 2 เต็นท)์ 8,000 บาท รวม 8 หลงั ๆ ละ 1,000 บาท 6 ค่าผูกผ้า 2,000 บาท 7 คา่ เครื่องเสยี ง 4,000 บาท 8 ปา้ ยไวนิล 2,000 บาท 9 กรอบรูปเกยี รติบตั ร A4 จานวน 150 ช้ิน ๆ ละ 15 บาท 2,250 บาท -ยอดนกั อ่าน/เรียงความ/ร้องเพลง/คดั ลายมือ 10 ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ม้ือละ 70 บาท จานวน 500 คน 35,000 บาท รวมเปน็ เงินทงั้ ส้นิ (หำ้ หมื่นแปดพันสำมร้อยหำ้ สบิ บำทถ้วน) 58,350 บำท *** ทกุ รายการขอถวั เฉลี่ยจ่ายตามจรงิ 7. แผนกำรใช้จำ่ ยงบประมำณ งบประมำณ2561 ชอ่ื งำน/โครงกำร 12 3 4 ต.ค. – ธ.ค. รวมทั้งสิ้น ม.ค. – ีม.ค. เม.ย. – ิม.ย. ก.ค. – ก.ย. โครงการเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จ - - 58,350.- - 58,350.- พระเทพรัตนราชสุดาฯ 2 เมษา เจา้ ฟ้า นักอา่ น

สรุปผลการดาเนนิ งาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 4 | สถำนท่ีดำเนนิ งำน งานห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง ระยะเวลำดำเนนิ กำร 2 เมษายน 2561 8. ผ้รู บั ผิดชอบโครงกำร 8.1 งานห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมงุ 8.2 กศน.จังหวดั ชลบุรี 8.3 กศน.อาเภอบางละมงุ 9. เครอื ขำ่ ย 9.1 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางละมุง 9.2 กศน. ตาบล 10 แหง่ 9.3 กรรมการสถานศึกษาอาเภอบางละมุง 9.4 โรงเรียนเมืองพทั ยา 9 9.5 ชุมชนโพธิสมั พนั ธ์ 9.6 ชมุ ชนบา้ นหัวทงุ่ 9.7 กศน.อาเภอ 10 อาเภอ 9.8 หน่วยงานราชการและหนว่ ยงานเอกชนที่อย่ใู นเขตพื้นท่อี าเภอบางละมุง 10. โครงกำรท่ีเกยี่ วข้อง 10.1 โครงการหอ้ งสมดุ เคลื่อนท่ี “เติมหนงั สือสู่สมอง” 10.2 โครงการ Smart library 11. ผลลพั ธ์ 11.1 ปลูกฝังและส่งเสริมให้ นักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป มีนิสัยรักการอ่าน และอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย 11.2 เทดิ พระเกียรติสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ทรงเจริญพระชนมายุครบ 63 พรรษา 12. ตัวชี้วดั ผลสำเรจ็ โครงกำร 12.1 ตัวชีว้ ดั ผลผลติ รอ้ ยละ 90 ของกลมุ่ เปา้ หมาย มีความพึงพอใจในการเขา้ รว่ มโครงการ 12.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลัพธ์ นักศึกษาและประชาชนท่ัวไป มีนิสัยรักการอา่ นและอนรุ กั ษ์ศิลปวฒั นธรรมไทยและ ซาบซึ้งในพระมหากรณุ าธิคุณสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 13. กำรตดิ ตำมประเมนิ ผลโครงกำร 13.1 แบบประเมินความพงึ พอใจ 13.2 ทะเบียนรายชอื่ ผู้รับบริการ

สรุปผลการดาเนินงาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 5 | บทท่ี 2 เอกสำรกำรศึกษำที่เกยี่ วข้อง 1. พระรำชบัญญตั กิ ำรศกึ ษำแห่งชำติ พทุ ธศกั รำช 2552 มาตรา 25 รัฐต้องส่งเสริมดาเนินงานและการจัดต้ังแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบได้แก่ห้องสมุด ประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬา และนนั ทนาการ แหลง่ ขอ้ งมลู และแหลง่ การเรียนรอู้ น่ื อยา่ งเพียงพอและมีประสทิ ธิภาพ 2. ควำมหมำยของห้องสมดุ ประชำชน เป็นศนู ยก์ ลางบรกิ ารสารสนเทศโดยตรงแกป่ ระชาชนทั่วไปในชุมชน มีทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท เพอื่ สนองความเสนใจ ความต้องการของผูใ้ ช้ โดยเปดิ ใหป้ ระชาชนเขา้ ใชแ้ ละขอยืมหนังสอื ออกนอกหอ้ งสมุดได้ 3. เรือ่ ง มำตรฐำนห้องสมุดประชำชน พ.ศ. 2550 การจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมเรียนรู้ เป็นหลักการสาคัญในการจัด การศึกษาแหง่ ชาติ ต่างมีหลักการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งความรู้ให้คนไทยทั้งปวงได้รับ โอกาสเทา่ เทียมกันทางการศกึ ษา พัฒนาคนได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตอันเป็นเงื่อนไขสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ ที่พงึ ประสงค์และพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาตมิ าตรา 25 ระบุว่ารัฐต้องส่งเสริมการดาเนินงานและการจัดตั้ง แหลง่ เรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีสาคัญไว้ด้วย การท่ีห้องสมุดประชาชนจะมีบทบาทสาคัญและมีส่วนร่วมในการบริหารจัด การศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการในการจัดการศึกษาตามบทบัญญัติที่กาหนด ตลอดจนก้าวทันกระแสการ เปล่ียนแปลงของสังคมโลกที่มีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นพลังขับเคล่ือนท่ีสาคัญตลอดจนให้มีแนวทางและเกณฑ์ การบริหารจัดการและการดาเนินงานห้องสมุดประชาชนในประเทศไทยสู่มาตรฐานสากล สมาคมห้องสมุดแห่ง ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โดยความร่วมมือของสานักงาน เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา จึงกาหนดมาตรฐานห้องสมุดประชาชนไว้ดังนี้ 3.1 ปรชั ญำ พนั ธกิจ และวัตถุประสงค์ 3.1.1 ปรัชญำ ห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต จัดให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้แก่ประชาชนทุกกล่ม รวมถงึ กลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาส ผอู้ ย่ใู นเขตทุรกันดารห่างไกล และชนกลุ่มน้อย เป็น บริการพื้นฐานไม่คิดมูลค่า โดยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเองความเท่าเทียมและความท่ัวถึง ส่งเสริมระบบ ประชาธิปไตย สิทธิเสรีภาพทางปัญญาและเสรีภาพในการอ่าน เคารพสิทธิส่วนบุคคล ความหลากหลายทาง วัฒนธรรม และภาษา สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและพัฒนาสังคมไทยให้เป็น สังคมแหง่ การเรียนรู้ 3.1.2 พนั ธกิจ ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ศูนย์ข้อมูลข่าวสารและศูนย์แนะแนว การศึกษาและอาชีพของชุมชน เป็นห้องสมุดมีชีวิต และสถาบันทางสังคมเพ่ือการศึกษาและวัฒนธรรม ห้องสมุด ประชาชนรับผิดชอบการดาเนนิ การ ส่งเสริม สนบั สนุนพันธกิจต่อไป - ส่งเสริมการรู้หนังสือ และทักษะการเรียนรู้ การเข้าถึงและขยายโอกาสการเรียนรู้การ เรยี นรู้ดว้ ยตนเองและการศกึ ษาตลอดชวี ิตแกป่ ระชาชน - สรา้ งบคุ คลแห่งการเรียนรู้ เป็นผู้รู้สารสนเทศ มีความใฝ่รู้ รักการอ่านการเรียนรู้ รู้ทันโลก มีทักษะการแสวงหา การเข้าถึงและการใชส้ ารสนเทศ แหลง่ ความรแู้ ละอนิ เตอร์เนต็

สรุปผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 6 | ประชาธปิ ไตย - สง่ เสริมการประกอบอาชพี พฒั นาคุณภาพของประชาชนและความเป็นพลเมืองดีในระบบ - สง่ เสรมิ และอนุรกั ษ์มรดกทางวฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาของท้องถิน่ 3.1.3 วตั ถุประสงค์ ห้องสมุดประชาชนมีวัตถุประสงค์หลักในการจัดต้องเพื่อบริการข้อมูล ข่าวสารความรู้ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การศึกษา ค้นคว้า ความบันเทิง พักผ่อนหย่อนใจ จรรโลงใจ วัฒนธรรมและภูมิ ปัญญาทอ้ งถิ่นและพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชน 3.2 กำรบริหำรองค์กร การบริหารองค์กรเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้ทันบริบทของการ เปล่ียนแปลง และความท้าทายขององค์กร ห้องสมุดประชาชนควรอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานของรัฐ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือองค์การเอกชนซงึ่ เปน็ นิตบิ ุคคลตามกฎหมาย 3.2.1 รัฐต้องส่งเสริมการจัดต้ัง การบริหารจัดการและการดาเนินงานห้องสมุดประชาชนให้ได้ มาตรฐาน 3.2.2 ห้องสมุดประชาชนควรกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ นโยบาย การบริหารงาน เปา้ ประสงค์ แผนยุทธศาสตรแ์ ละแผนดาเนนิ งาน/โครงการทสี่ อดคล้องและสนันสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาของรัฐ และของหน่วยงานเจ้าสงั กดั 3.2.3 ห้องสมดุ ประชาชนควรจัดให้มรี ะบบการบรหิ ารงานเชิงกลยุทธ์และการัดโครงสร้างองค์กรใน เชิงบูรณาการ ให้สอดคล้องกับสภาพพ้ืนท่ี พันธกิจ ความต้องการของชุมชนและประชาชนในท้องถิ่น โดยยึดหลัก ความคล่องตัวและความยืดหยุ่น การมีส่วนร่วม ประสิทธิภาพประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ และการพัฒนา องค์กร 3.2.4 ห้องสมุดประชาชนควรนาระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์มาใช้ และปฏิบัติหน้าที่ให้ สอดคล้องกับหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารบริหารกจิ การบา้ นเมืองท่ดี ี 3.2.5 ห้องสมุดประชาชนควรนาระบบการบริหารความรู้ในองค์กร การพัฒนาคุณภาพการบริหาร การจัดการ ระบบการประเมินผลและการประกันคุณภาพ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบะการ สื่อสารเป็นส่วนหนึ่งของการบรหิ ารและดาเนินงานห้องสมุดประชาชน 3.2.6 การบริหารงานห้องสมุดประชาขนควรเน้นการมีส่วนร่วมโดยจัดการบริหารงานในรู้ คณะกรรมการ ประกอบด้วยคณะกรรมการอานวยการและคณะกรรมการบริหารงาน 3.3 กำรบริกำร การบริการคือหัวใจของการบริหารจัดการและการดาเนินงานของห้องสมุดประชาชนโดยเน้น ประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง 3.3.1 ห้องสมดุ ประชาชน ควรจัดบรหิ ารและกิจกรรมเชิงรุก โดยหลักการความเท่าเทียมและท่ัวถึง ให้ผู้ใช้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและสภาพท้องถ่ิน และมีการพัฒนา คุณภาพการบริการอย่างต่อเนื่อง 3.3.2 ห้องสมุดประชาชนควรกาหนดชั่วโมงบริการอย่างสม่าเสมอและเหมาะสม ให้สอดคล้องกับ สภาพของทอ้ งถ่นิ และความต้องการของชมุ ชน โดยใหค้ รอบคลุมวนั หยดุ สุดสัปดาห์ 3.3.3 ห้องสมุดประชาชนควรมรี ะเบยี บการบรกิ าร เป็นลายลักษณอ์ ักษรและประกาศใหเ้ ป็นท่ที าบ โดยทั่วกัน

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 7 | 3.3.4 ห้องสมุดประชาชนควรจัดบริการทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบทั้งส่ือส่ิงพิมพ์สื่อโตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ 3.3.5 ห้องสมุดประชาชน ควรจัดการบริการและกิจกรรมท่ีหลาหลายและสอดคล้องกับความ ตอ้ งการของชมุ ชน ท้ังภายในและภายนอกสถานท่ี โดยคานงึ ถึงทัง้ กลมุ่ ผู้มาใช้ และผไู้ มม่ โี อกาสมาใช้ 3.3.6 บริการพ้ืนฐานท่ีห้องสมุดประชาชนควรจัดให้มี ได้แก่ บริการการอ่าน บริการการยืม-คืน บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า บริการแนะนาการใช้ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ บริการแนะแนว การจัดการศึกษา บริการยืมระหว่างห้องสมุด บริการนาส่งเอกสาร บริการข่าวสารทันสมัย บริการแนะแนว การศึกษาและอาชีพและการให้คาปรึกษาแก่บุคคลและชุมชน บริการใช้สถานที่ห้องสมุดและบริการอื่นๆ ที่ สอดคล้องกับความต้องการของท้องถนิ่ 3.3.7 กิจกรรมพ้ืนฐานของห้องสมุดประชาชน ควรเน้นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านการใช้ ทรพั ยากรสารสนเทศและห้องสมุด โดยใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย 3.3.8 ห้องสมุดประชาชนควรเน้นการให้กาศึกษาผู้ใช้ ให้มีความสามารถในการแสวงหาเข้าถึง สืบคน้ และใชส้ ารสนเทศ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และเป็นผู้รู้สารสนเทศตามมาตรฐานการรสู้ ารสนเทศ 3.3.9. ห้องสมุดประชาชนควรจัดประเมินคุณภาพการบริการอย่างต่อเนื่องเพื่อนาผลมาใช้ในการ บริการจัดการแชะพฒั นาคุณภาพการบริการของห้องสมดุ ประชาชน (ร่ำง) ยุทธศำสตรแ์ ละจุดเนน้ กำรดำเนนิ งำน สำนักงำน กศน. ประจำปงี บประมำณ 2561 วสิ ยั ทศั น์ คนไทยไดร้ ับโอกาสการศกึ ษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตอยา่ งมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตท่ีเหมาะสม กับ ช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมที ักษะท่ีจาเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21 พันธกจิ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับการเปล่ียนแปลง บรบิ ททางสงั คม และสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่ง การ เรยี นรู้อน่ื ในรปู แบบตา่ งๆ 3. สง่ เสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้กบั ประชาชนอย่างทวั่ ถงึ 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ในทุก รปู แบบใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทในปัจจบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจดั การให้มปี ระสิทธิภาพ เพ่ือมุ่งจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ ท่ีมี คุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล

สรปุ ผลการดาเนินงาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 8 | เป้ำประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาส ทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษา ตาม อัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และคว ามต้องการของแต่ละ กล่มุ เปา้ หมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น พลเมอื ง อันนาไปสู่การยกระดับคณุ ภาพชวี ิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและ ยงั่ ยืน ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรยี นร้แู ละมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถ คดิ วิเคราะห์ และประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั รวมทั้งแก้ปัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ 4. ประชาชนได้รับการสรา้ งและสง่ เสริมให้มีนสิ ยั รกั การอ่านเพ่ือการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง 5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทงั้ การขับเคลือ่ นกิจกรรมการเรยี นรขู้ องชุมชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับ คุณภาพในการจัดการเรยี นรแู้ ละเพิม่ โอกาสการเรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพฒั นาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนา คุณภาพ ชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ สิ่งแวดล้อม รวมทงั้ ตามความต้องการของประชาชน และชุมชนในรปู แบบท่ีหลากหลาย 8. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 9. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล ตัวช้วี ดั ตวั ชว้ี ดั เชิงปริมำณ 1. จานวนผู้เรยี นการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานท่ไี ดร้ ับการสนบั สนุนค่าใช้จ่าย ตามสิทธิ ทก่ี าหนดไว้ 2. จานวนของคนไทยกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรม การศึกษา ตอ่ เนือ่ ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ 3. จานวนผู้รับบรกิ ารในพนื้ ทเ่ี ปา้ หมายไดร้ บั การสง่ เสริมดา้ นการรู้หนงั สอื และการพัฒนาทกั ษะชวี ิต 4. ร้อยละการอา่ นของคนไทยเพิม่ ขึ้น 5. จานวนนกั เรียน นักศึกษาทีไ่ ด้รบั บรกิ ารติวเขม้ เต็มความรู้ 6. จานวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปที่เข้าถึงบริการการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ใน รปู แบบต่าง ๆ 7. จานวนประชาชนที่ได้รับการอบรมให้มีความรู้ ในอาชีพการเกษตรท่ีเหมาะสมกับสภาพบริบท และ ความต้องการของพนื้ ท/่ี ชุมชน 8. จานวนแหลง่ เรียนรู้ในระดับตาบลท่ีมีความพร้อมในการให้บรกิ ารการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอธั ยาศัย 9. จานวนทาเนียบศูนยเ์ รยี นรูเ้ กษตรพอเพยี งของตาบล และจานวนกลมุ่ เกษตรชมุ ชนดเี ดน่ 10. จานวนประชาชนได้รับการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ (ระยะสั้น) สาหรับประชาชนในศูนยอ์ าเซยี นศกึ ษา กศน.

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 9 | 11. มีการพัฒนาอุปกรณ์การผลิตและการเผยแพร่ข่าวโทรทัศน์เพื่อการศึกษาสาหรับศูนย์ข่าว โทรทัศน์ เพ่ือการศึกษา 1 ระบบ 12. จานวนบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการผลิตรายการโทรทัศน์ได้รับการอบรมให้มีความรู้และทักษะใน การปฏบิ ตั งิ านเพื่อรองรบั การปฏบิ ตั ิงานในสถานวี ิทยโุ ทรทัศนร์ ะบบดจิ ทิ ลั 13. จานวนนักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทั่วไปที่เข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและการศึกษา ตาม อธั ยาศยั ผ่านชอ่ งทางสือ่ เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยีการสือ่ สาร 14. จานวนรายการโทรทัศน์/ CD/แอพพลิเคชน่ั ในการใหค้ วามร้ดู ้านการเกษตร 15. จานวน/ประเภทของส่ือ ที่มีการจัดทา/พัฒนาและนาไปใช้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน/ ผรู้ ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 16. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. ที่มีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทา ฐานข้อมูลชุมชนและการบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศยั ขององคก์ าร 17. จานวนระบบฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาของประเทศที่ได้รับการพัฒนาให้ทันสมัยและเป็น ปัจจุบนั ฉบบั เผยแพร่ ทางเว็บไซต ์ (V13-061160) 3 18. จานวนผู้ผา่ นการอบรมตามหลกั สูตรท่ีกาหนดของโครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ทิ ัลชุมชนระดับตาบล 19. รอ้ ยละของตาบล/แขวง ท่มี ปี ริมาณขยะลดลง 20. จานวนบคุ ลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 21. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาในสังกัดที่มีระบบประกนั คุณภาพภายในและมกี ารจัดทารายงานการประเมิน ตนเอง 22. จานวนองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ท่ีร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดาเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตัวชว้ี ดั เชิงคุณภำพ 1. ร้อยละท่ีเพ่ิมขึ้นของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) 2. ร้อยละของกาลังแรงงานที่สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า ได้รับการศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเทา่ 3. ร้อยละของนักเรียน/นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาท่ีได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้เพ่ิม สงู ขนึ้ 4. ร้อยละผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบท่ีสามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ ตาม จุดม่งุ หมายของหลกั สูตร/กจิ กรรมทกี่ าหนด 5. ร้อยละของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมทส่ี ามารถอ่านออกเขยี นไดแ้ ละคดิ เลขเปน็ ตามจุดมุ่งหมายของกจิ กรรม 6. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเรียนที่มีรายได้เพ่ิมขึ้นจากการพัฒนาอาชีพตาม โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน 7. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการ พัฒนาศกั ยภาพ ทกั ษะอาชพี สามารถมีงานทาหรือนาไปประกอบอาชพี ได้ 8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีผ่านการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้าน อาชพี (ระยะส้ัน) มคี วามร้ใู นการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ได้ 9. จานวนครู กศน. ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสารที่สามารถเปน็ วทิ ยากรแกนนาได้

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 10 | 10. ร้อยละของครู กศน. ท่ัวประเทศ ท่ีสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารได้ อย่างสอดคล้องกบั บริบทของผูเ้ รียน 11. ร้อยละของผูเ้ ข้ารับการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ ผ่านเกณฑ์การ อบรม ตามหลักสตู รท่ีกาหนด 12. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. ที่สามารถดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม ตามบทบาท ภารกิจท่ีรับผิดชอบได้สาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า/ ตามแผนทกี่ าหนดไว้ 13. รอ้ ยละของคะแนนการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสของการดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน นโยบำยเร่งด่วนเพ่อื ร่วมขบั เคลื่อนยุทธศำสตรก์ ำรพัฒนำประเทศ 1. ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนควำมมั่นคง 1. สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ตามพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของ รชั กาลที่ 10 1.1 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไ ตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและ หลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ์ รวมทงั้ สังคมพหวุ ัฒนธรรม 1.2 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และ อุดมการณ์ ความยึดมัน่ ในสถาบนั หลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรม อ่ืนๆ ตลอดจน สนบั สนนุ ใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมเพ่อื ปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรมใหก้ ับบุคลากรในองค์กร 2. พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในเขตพ้ืนที่พิเศษ 2.1 เขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และพืน้ ทชี่ ายแดน 2.1.1 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี ความ สอดคล้องกับบรบิ ทของสงั คม วัฒนธรรม และพ้ืนท่ี เพอื่ สนบั สนุนการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพ้นื ที่ 2.1.2 เร่งจัดทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยท่ีชัดเจนสาหรับหน่วยงาน และ สถานศึกษา รวมทั้งบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษ โดยบูรณาการแผนและปฏิบัติงาน ร่วมกับ หน่วยงานความม่ันคงในพน้ื ท่ี 2.1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบ ต่างๆ ทห่ี ลากหลายตรงกบั ความตอ้ งการของผ้เู รยี น อาทิ การเพิ่มพนู ประสบการณ์ การเปิดโลกทัศน์ การยึดม่ันใน หลักคุณธรรมและสถาบันหลักของชาติ 2.1.4 สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะท่ีสูงขึ้น เพื่อให้ สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดยส่งเสริม การ จดั การศึกษาเพื่อยกระดบั การศกึ ษาและพัฒนาศักยภาพประชาชน สร้างงานและพัฒนาอาชีพท่ีเป็นไป ตามบริบท และความตอ้ งการของประชาชนในพนื้ ที่ 2. ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนกำรพฒั นำกำลงั คน กำรวิจัย และนวัตกรรมเพ่อื สรำ้ งขดี ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ของ ประเทศ 1. ขับเคล่ือน กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างศักยภาพของ ประชาชนให้สอดคลอ้ งกับการพฒั นาประเทศ

สรุปผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 11 | 1.1 พัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร และขยายผล ไปยัง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น Boot Camp หลักสูตร ภาษาองั กฤษ การจดั หลักสตู รภาษาเพอื่ อาชีพ 1.2 พัฒนาทักษะการใช้ Social Media เพื่อการจัดการเรียนการสอน ของครูและบุคลากร ทาง การศึกษา 1.3 พัฒนาระบบเชื่อมโ ยงฐ านข้อมูลด้านการศึกษา กับระบบฐ านข้อมูลกลางของ กระทรวงศึกษาธกิ าร เพอ่ื การบริหารจัดการและบรู ณาการข้อมูลของประชาชนอย่างเป็นระบบ 1.4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือช่วยในการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ ท้ังระบบ E- office ระบบการจดั ทาแผน ระบบการรายงานผลการดาเนินงาน 2. พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านดิจิทัลเพื่อรองรับการ พฒั นาประเทศ 2.1 พัฒนาความรู้และทักษะด้าน Digital ให้กับครูและบุคลากร กศน.ในการใช้เทคโนโลยี เพื่อการ จดั การเรยี นการสอน 2.2 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชน มีความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และ ความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์สาหรับการใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งการพฒั นาและการเข้าสอู่ าชีพ 2.3 สร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานให้กับประชาชน เก่ียวกับการทาธุรกิจและ การค้า ออนไลน์ (พาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์) เพ่ือร่วมขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจดิจทิ ัล 3. ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรพฒั นำและเสริมสรำ้ งศักยภำพคนให้มคี ุณภำพ 1. เตรียมความพรอ้ มการเข้าสสู่ งั คมผสู้ งู อายุอย่างมคี ณุ ภาพ (Smart Aging Society) 1.1 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพ่ือสร้างตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (Ageing Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รับผิดชอบผสู้ ูงอายใุ นครอบครวั และชมุ ชน 1.2 พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อม เข้าสู่ วัยสงู อายุท่ีเหมาะสมและมคี ุณภาพ 1.3 จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรู้จักใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี 1.4 สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญา ของผสู้ ูงอายุ และใหม้ ีส่วนรว่ มในกจิ กรรมดา้ นตา่ งๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กฬี า ศาสนาและวฒั นธรรม 2. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรื่อง) ส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรมในการจดั กระบวนการเรยี นร้ดู า้ น เกษตรกรรมที่เหมาะกับบริบทของพื้นที่และ ความต้องการของชุมชน รวมท้ังการเพ่ิมมูลค่าสินค้าทางการเกษตร และสร้างช่องทางการจาหน่ายสินค้าผ่าน ช่องทางต่างๆ โดยตระหนักถึงคุณภาพของผลผลติ ความปลอดภัย ต่อระบบนิเวศน์ ชุมชน และผู้บรโิ ภค 3. ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) สาหรับนักศึกษา และประชาชน โดยบูรณาการความรูด้ ้านวทิ ยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพ่ือ ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั พฒั นาทักษะชวี ิตสูก่ ารประกอบอาชพี

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 12 | 4. เพ่ิมอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาด ตาม พระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเพื่อให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่าน คล่อง เข้าใจความ คิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมท้ังนา ความรู้ ทไ่ี ด้รบั ไปใช้ประโยชนใ์ นการปฏบิ ัตจิ ริง 5. ศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน สู่ “วสิ าหกจิ ชุมชน : ชุมชนพง่ึ ตนเอง ทาได้ ขายเป็น” 5.1 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการ ของตลาด รวมทง้ั สร้างเครอื ข่ายการรวมกลมุ่ ในลกั ษณะวสิ าหกจิ ชมุ ชน สรา้ งรายได้ใหก้ ับชุมชน ใหช้ มุ ชน พ่ึงพาตนเองได้ 5.2 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสรา้ งมลู ค่าเพิ่มใหก้ บั สนิ ค้า การทาชอ่ งทางเผยแพร่และ จาหนา่ ยผลิตภัณฑข์ องวิสาหกจิ ชุมชนให้เปน็ ระบบครบวงจร 6. จดั กระบวนการเรียนรตู้ ามแนวทางเกษตรธรรมชาติสกู่ ารพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอยา่ งยงั่ ยืน 6.1 พัฒนาบุคลากรและแกนนาเกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม แนวทาง เกษตรธรรมชาติสกู่ ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรม 6.2 จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบระดับตาบลด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรม เพื่อถ่ายทอดความรู้ดา้ นเกษตรธรรมชาตสิ ู่การพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมให้กบั ชุมชน 6.3 ส่งเสริมให้มีการบูรณาการระหว่าง ศฝช. และ กศน.อาเภอ ในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ตาม แนวทางเกษตรธรรมชาติส่กู ารพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมให้กับประชาชน 4. ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศกึ ษำ 1. ส่งเสริมการนาระบบคูปองการศึกษา มาใช้เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนผูร้ บั บรกิ าร 2. สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning MOOC ท่ีใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการ เรียนรู้ เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความ ตอ้ งการของประชาชนผู้รับบริการ 3. เพม่ิ อตั ราการร้หู นังสอื และยกระดบั การรู้หนังสือของประชาชน 3.1 เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชน สามารถ อ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเปน็ โดยใช้ส่ือและกระบวนการที่เหมาะสมกับสภาพพนื้ ทีแ่ ละ กลุ่มเป้าหมาย 3.2 ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือ ในรูปแบบต่างๆ รวมทงั้ ทักษะดา้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ของประชาชน 4. ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการให้จบการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน สามารถนาความรู้ทีไ่ ด้รับไปพฒั นาตนเองได้อยา่ งตอ่ เนื่อง 5. พลิกโฉม กศน. ตาบล สู่ “กศน.ตาบล 4 G” 5.1 พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้: Good Teacher ให้เป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงความรู้กับผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความ รอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหารจัดการความรู้ที่ดี รวมท้ังเป็น ผู้ปฏิบตั ิงานอยา่ งมีความสุข 5.2 พัฒนา กศน.ตาบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอ้ือต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง : Good Place Best Check-In มีความพร้อมในการให้บริการการศึกษาและการเรียนรู้ มีสิ่งอานวยความ สะดวก เป็น

สรุปผลการดาเนินงาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 13 | แหล่งข้อมูลสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง และสะดวกต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างสร้างสรรค์ ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภยั สาหรับผู้รับบริการ 5.3 ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล : Good Activities ให้มีความหลากหลาย น่าสนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งเปิดโอกาส ให้ ชมุ ชนเข้ามาจดั กจิ กรรมเพือ่ เชอื่ มโยงความสัมพนั ธข์ องคนในชมุ ชน 5.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน และการมีสว่ นร่วมของชมุ ชน : Good Partnership เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจ และความร่วมมือใน การส่งเสริม สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นร้ใู หก้ บั ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ 5. ยุทธศำสตรด์ ้ำนส่งเสรมิ และจดั กำรศึกษำเพ่ือเสริมสร้ำงคุณภำพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม 1. สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารใหค้ วามรกู้ บั ประชาชนเกย่ี วกับการป้องกันผลกระทบและปรบั ตัวต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศและภัยพบิ ตั ิธรรมชาติ 2. สร้างความตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการสรา้ งสังคมสเี ขยี ว การกาจดั ขยะและมลพษิ ในเขตชมุ ชน 3. ส่งเสริมใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ทรัพยากร ที่ส่งผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 6. ยทุ ธศำสตรด์ ำ้ นกำรพฒั นำประสิทธภิ ำพระบบบรหิ ำรจัดกำร 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาเพอ่ื การบรหิ ารจัดการอยา่ งเป็นระบบ 2. ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใชห้ ้องประชมุ เปน็ ต้น 3. ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ให้ตรงกับ สาย งานหรือความชานาญ ภำรกจิ ต่อเนื่อง 1. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย ดาเนินการให้ผ้เู รยี นได้รบั การสนับสนนุ คา่ จัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ ค่าจัดการ เรียนการสอนอย่างท่ัวถึงและเพียงพอ เพ่ือเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไม่ เสีย ค่าใชจ้ า่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และ ขาด โอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผา่ น การเรียนแบบเรยี นรู้ด้วยตนเอง การพบกล่มุ การเรียนแบบช้ันเรยี น และการจดั การศกึ ษาทางไกล 3) จดั ใหม้ กี ารประเมนิ เพือ่ เทยี บระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่ มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลมุ่ เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพื่อเปน็ สว่ นหนึง่ ของการจบหลกั สตู ร อาทิ กจิ กรรมเสริมสรา้ งความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา

สรุปผลการดาเนินงาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 14 | และ การจัดตงั้ ชมรม/ชุมนุม พร้อมทงั้ เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นนากจิ กรรมการบาเพญ็ ประโยชนอ์ ื่น ๆ นอกหลักสูตร มา ใช้ เพิม่ ชัว่ โมงกิจกรรมใหผ้ ้เู รียนจบตามหลกั สูตรได้ 1.2 การส่งเสรมิ การรูห้ นังสอื 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ โดยเฉพาะในเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดนใต้ ให้มี ความครบถ้วน ถูกต้อง ทนั สมัยและเปน็ ระบบเดียวกนั ทง้ั สว่ นกลางและพ้ืนท่ี 2) พัฒนาหลกั สตู ร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดาเนินงานการส่งเสริมการรู้ หนังสือทส่ี อดคล้องกบั สภาพแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย 3) พัฒนาครู กศน.และภาคเี ครอื ข่ายร่วมจดั ใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และทักษะกระบวนการ เรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครการรู้หนังสือในพ้ืนท่ีท่ีมีความต้องการ จาเป็นเปน็ พิเศษ 4) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ของ ประชาชน 1.3 การศึกษาต่อเนอื่ ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาอยา่ งยง่ั ยนื โดยให้ความสาคญั กับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานท า และอาชีพท่ีสอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของผูเ้ รยี นและศกั ยภาพของแต่ละพ้ืนท่ี 2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ี สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละคนบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ ใน สงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข มีคุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน โดยจัดกิจกรรมการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ังชมรม/ชุมนุม การ สง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ 3) จัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชมุ ชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการในรปู แบบของการฝึกอบรม การเรยี นทางไกล การประชมุ สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัด กิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นท่ี โดยเน้นการสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรมและ จริยธรรมในชุมชน การบาเพ็ญประโยชน์ การขับเคล่ือนการเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน การบริหารจัดการน้า การรบั มือกบั สาธารณภัย การเพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน การอนุรักษ์พลังงาน การ อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั 1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตาบล เพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจัด กจิ กรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรใู้ นชุมชนไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง 2) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถ ในการ อา่ นและศกั ยภาพการเรยี นรู้ของประชาชนทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 3) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการอ่านให้เกิดข้ึนในสังคมไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุก แหง่ ให้เปน็ แหล่งเรียนรู้ตลอดชวี ิตของชุมชน ส่งเสรมิ และสนับสนนุ อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่พร้อมอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายออก

สรปุ ผลการดาเนินงาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 15 | ให้บริการประชาชนในพื้นท่ีต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง สม่าเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านส่ืออุปกรณ์ เพ่ือ สนบั สนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ นอยา่ งหลากหลาย 4) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอด ชีวิตของประชาชนและเป็นแหล่งท่องเที่ยวประจาท้องถ่ิน โดยจัดสร้างและพัฒนานิทรรศการ พัฒนาสื่อท่ีสร้าง แรงบันดาลใจสงู และจัดกจิ กรรมการศกึ ษาทเ่ี น้นการเสรมิ สร้างความรู้ สอดแทรกวิธีการคิดแบบวิทยาศาสตร์ การ ฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และปลกู ฝงั เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ โดยบรู ณาการความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ อย่างสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง บริบทของของชุมชน ประเทศ รวมท้ังการเปล่ียนแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพ่ือให้ประชาชนมี ความรู้ มี ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีทักษะท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 มีความสามารถในการ ปรับตัวรองรับ การผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนาความรู้และ ทักษะไป ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาส่ิงแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติ ทาง ธรรมชาติ 2. ดำ้ นหลักสูตร สื่อ รปู แบบกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ กำรวัดและประเมินผล งำนบริกำรทำง วิชำกำร และ กำรประกันคณุ ภำพกำรศึกษำ 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถิ่นท่ีสอดคล้องกับ สภาพบริบท ของพนื้ ท่ี และความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายและชุมชน 2.2 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัยด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม การ สอบออนไลน์ 2.3 พัฒนาระบบการประเมินเพือ่ เทยี บระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ให้มี คุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2.4 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออ่ืนๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน กล่มุ เปา้ หมายท่วั ไปและกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรใน ระดับ การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานให้ไดม้ าตรฐาน โดยการน าแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจดั ส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย เพอ่ื ให้มีการน าไปสกู่ ารปฏิบัติอยา่ งกว้างขวางและมกี ารพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บริบทอยา่ งตอ่ เน่อื ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรับการประเมิน คุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบคุ ลากรให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกัน คุณภาพ และ สามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใช้การประเมินภายใน ด้วยตนเอง และจัดให้มรี ะบบสถานศึกษาพ่เี ล้ยี งเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับ การประเมิน คณุ ภาพภายนอก ใหพ้ ัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาใหไ้ ด้คณุ ภาพตามมาตรฐานทกี่ าหนด 3. ดำ้ นเทคโนโลยีเพ่ือกำรศกึ ษำ 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาให้เชื่อมโยงและตอบสนองต่อ การ จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา สาหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มที างเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้ รู้เท่า

สรุปผลการดาเนินงาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 16 | ทันส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการส่ือสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานท า รายการติวเข้ม เติม เตม็ ความรู้ ฯลฯ เผยแพรท่ างสถานวี ิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และ ทางอนิ เทอร์เน็ต 3.2 พัฒนาช่องทางการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบออนไลน์ เพื่อส่งเสริมให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การ ส่ือสารมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษา และสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และ การ ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยาย เครือข่ายการรับฟงั ใหส้ ามารถรบั ฟังได้ทกุ ที่ ทกุ เวลา ครอบคลุมพ้ืนที่ทั่วประเทศและเพ่ิมช่องทางให้สามารถรับชม รายการโทรทศั น์ได้ทง้ั ระบบ Ku - Band , C - Band และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะรองรับการพัฒนาเป็นสถานี วิทยุโทรทศั นเ์ พอื่ การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ได้หลายช่องทางท้ังทางอินเทอร์เน็ต และ รูปแบบอื่น ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพ่ือให้ กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใชบ้ ริการเพอื่ เข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรไู้ ดต้ ามความตอ้ งการ 3.5 สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และนาผลมาใช้ใน การพฒั นางานใหม้ ีความถกู ตอ้ ง ทนั สมยั และสามารถสง่ เสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ได้ อย่างแทจ้ ริง 4. ดำ้ นโครงกำรอนั เนอื่ งมำจำกพระรำชดำริ หรอื โครงกำรอันเก่ยี วเนอื่ งจำกรำชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอัน เกีย่ วเนือ่ งจากราชวงศ์ ฉบบั เผยแพรj ทางเว็บไซต ์ (V13-061160) 11 4.2 จัดทาฐานขอ้ มลู โครงการและกจิ กรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราช ดาริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ ที่สามารถนาไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ การ พฒั นางานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4.3 สง่ เสริมการสร้างเครือขา่ ยการดาเนนิ งานเพ่อื สนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เพ่ือให้ เกดิ ความเขม้ แข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนา้ ท่ที กี่ าหนดไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4.4 จดั และสง่ เสริมการศึกษาตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นท่ีสูง ถิ่นทุรกันดาร และพืน้ ที่ชายขอบ 5. ด้ำนกำรศึกษำในจังหวดั ชำยแดนภำคใต้ พน้ื ทเี่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ และพนื้ ท่ีบริเวณชำยแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหาและ ความต้องการของกล่มุ เปา้ หมายรวมท้ังอตั ลกั ษณ์และความเป็นพหวุ ฒั นธรรมของพืน้ ที่ 2) พัฒนาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง เพื่อให้ ผ้เู รียนสามารถน าความรูท้ ่ีไดร้ ับไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริง 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศึกษา กศน. ตลอดจนผู้มาใชบ้ ริการอย่างท่วั ถึง

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 17 | 5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์และ บรบิ ทของแตล่ ะจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ให้ เกิด การพัฒนาอาชพี ได้ตรงตามความต้องการของพน้ื ที่ 5.3 จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงชายแดนของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พฒั นาศนู ย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เป็นศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ต้นแบบ ดา้ นเกษตรกรรม เป็นศูนย์สาธิตการประกอบอาชีพ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนว พระราชดาริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธีการเรียนร้ทู ี่หลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพ โดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุกเพ่ือการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนาด้านอาชีพ ทเ่ี นน้ เรอ่ื งเกษตรธรรมชาติท่สี อดคล้องกับบรบิ ทของชมุ ชนชายแดน ให้แกป่ ระชาชนตามแนวชายแดน 6. ด้ำนบุคลำกร ระบบกำรบริหำรจัดกำร และกำรมีสว่ นร่วมของทกุ ภำคสว่ น 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อน และระหว่าง การดารงตาแหน่งเพื่อให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการ การดาเนินงานของ หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รวมท้ังส่งเสริมให้บคุ ลากรในสังกดั พฒั นา ตนเองเพ่ือเล่ือน ตาแหน่งหรือเล่อื นวทิ ยฐานะโดยเนน้ การประเมนิ วิทยฐานะเชงิ ประจักษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะท่ีจาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ในสถานศกึ ษา กศน. ฉบบั เผยแพร่ ทางเว็บไซต ์ (V13-061160) 12 3) พัฒนาหัวหนา้ กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงข้ึนในการบริหารจัดการ กศน. ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อานวย ความ สะดวกในการเรยี นรูเ้ พอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ที่มีประสทิ ธภิ าพอยา่ งแทจ้ รงิ 4) พฒั นาครกู ศน. และผทู้ ่ีเก่ยี วข้องให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริม ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดท าแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการ วิจยั เบอื้ งตน้ 5) สง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ กศน. ตาบล/แขวง เพื่อการมีส่วนรว่ มใน การบริหาร การด าเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. ตาบล/แขวง อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 6) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเปน็ มอื อาชีพในการจดั บริการสง่ เสรมิ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ของประชาชน 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าท่ีเป็นผู้จัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 8) เสรมิ สรา้ งสมั พนั ธภาพระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครอื ข่ายทง้ั ในและต่างประเทศ ในทุกระดับ เพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการท างานร่วมกนั โดยจดั ใหม้ ีกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ ระหวา่ งบุคลากร และภาคีเครอื ข่ายในรูปแบบที่หลากหลายอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 18 | 6.2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและอตั รากาลัง 1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความพร้อมในการจัดการศึกษา 2) บริหารอัตรากาลังที่มีอยู่ทั้งในส่วนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสิทธภิ าพสูงสุดในการปฏิบตั ิงาน 3) แสวงหาภาคีเครอื ข่ายในท้องถ่นิ เพื่อการมสี ่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม การศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทั้งระดมทรัพยากรเพ่ือนามาใช้ในการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน ให้มีความพร้อม สาหรับดาเนินกิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรูข้ องประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ 1) เรง่ ผลักดันให้มีการประกาศใชก้ ฎหมายว่าด้วยการศึกษาตลอดชวี ติ 2) เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และ เร่งรัด การเบกิ จา่ ยงบประมาณให้เป็นตามเป้าหมายทกี่ าหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันท่ัวประเทศอย่าง เป็นระบบเพ่อื ให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กดั สามารถนาไปใช้เปน็ เครอื่ งมอื สาคญั ในการบริหาร การวางแผน การปฏบิ ัติงาน การติดตามประเมินผล และการนาผลมาพฒั นาการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง ตามวงจรคุณภาพเดม มง่ิ (PDCA) รวมท้งั จัดบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผู้เรียนและการบรหิ ารจัดการอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5) สง่ เสรมิ ให้มกี ารจดั การความร้ใู นหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพ่ือ สามารถนามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและ ชุมชน พร้อมทั้งพัฒนาขดี ความสามารถเชงิ การแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา 6) สรา้ งความร่วมมอื ของทุกภาคสว่ นทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพฒั นาและส่งเสริม การ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ 6.4 การกากับ นเิ ทศติดตาม ประเมนิ และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษา นอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้เชื่อมโยงกับหน่วยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครือข่ายท้ังระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตามและ รายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่อง ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออ่ืน ๆ ที่เหมาะสม เพ่ือการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมปี ระสิทธิภาพ 4) พฒั นากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคารบั รองการปฏิบัติราชการ ประจาปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปี ของสานักงาน กศน. ให้ดาเนินไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาทีก่ าหนด 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่ สว่ นกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และ การพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

สรุปผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 19 | บทท่ี 3 วธิ ีกำรดำเนนิ งำน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง และห้องสมุดประชาชน “เฉลิม ราชกมุ ารี” อาเภอบางละมงุ เลง็ เห็นความสาคัญของการอา่ น และระลกึ ถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทพ่ี ระองค์ทีม่ ีตอ่ ปวงชาวไทย จึงได้จัดโครงการน้ีขึ้นมา เพื่อให้นักศึกษา กศน. อาเภอบางละมุง และประชาชนทั่วไป ได้เห็นความสาคัญของการอ่าน การศึกษาหาความรู้ ตลอดจนทานุ บารงุ รักษาศิลปวฒั นธรรมไทยใหไ้ ม่เลอื นหายไป โดยมีขั้นตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ประชุมวางแผน 2. จดั ทาโครงการเพื่อขออนุมตั ิ 3. ขออนมุ ัตโิ ครงการ 4. ดาเนนิ การตามโครงการ กจิ กรรม - ทาบญุ ตักบาตร เพ่อื ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี - ประดบั ธงตราสัญลกั ษณ์งานเฉลิมพระเกียรตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี - รว่ มลงนามถวายพระพร - จดั นทิ รรศการพระราชประวตั ิ พระราชกรณียกจิ จัดนิทรรศการ หนังสอื พระราชนิพนธ์ - กจิ กรรมเข้าฐานการส่งเสรมิ การอ่าน - กจิ กรรมประกวดคาขวญั สง่ เสรมิ การอ่าน - กจิ กรรมประกวดยอดนักอ่าน - กจิ กรรมประกวดร้องเพลงพระราชนิพนธ์ เพลงส้มตา - กจิ กรรมประกวดเรยี งความ เก่ียวกับการเทดิ พระเกยี รติสมเด็จพระเทพฯ เจ้าฟา้ นกั อ่าน - การมอบเกยี รตบิ ตั รใหก้ บั ผู้ชนะการประกวด 5. สรปุ และประเมินผล

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 20 | บทท่ี 4 สรุปผลกำรดำเนนิ กำร โครงกำรส่งเสริมกำรอ่ำนและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ 2 เมษำ เจ้ำฟ้ำนักอ่ำนประจำปี 2561 หลักกำรและเหตผุ ล ในวันท่ี 2 เมษายน ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 63 พรรษา พระราชกรณียกิจของพระองค์ในการพัฒนาประเทศนั้น ต่อเน่ืองยาวนานในทุกด้าน ทรงเป็นม่ิงขวัญสถิตย์กลางใจพสกนิกรทุกหมู่เหล่า จากพระจริยวัตร และความสน พระทัยในการอ่าน การจดบันทกึ การเขียนและการเรยี นรู้ บังเกิดเป็นพระราชนิพนธ์จานวนมาก ท่ีเป็นแบบอย่าง อนั งดงามให้แกเ่ ด็กและเยาวชนไทย กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้ ปี 2552 – 2561 เป็นทศวรรษแห่งการอ่านของประเทศ และให้ การ ส่งเสริมการอ่านเป็นวาระแห่งชาติ เพ่ือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยกาหนดให้วันท่ี 2 เมษายน ซึ่ง เปน็ วนั คล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” และ เมือ่ วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ 2528 รัฐบาลได้ประกาศใหว้ นั ที่ 2 เมษายน เปน็ “วันอนุรักษ์มรดกไทย” ด้วยตระหนักใน พระปรชี าสามารถในดา้ นศิลปวัฒนธรรมและพระมหากรุณาธิคุณท่ีทรงอนุเคราะห์ สนับสนุนกิจกรรมอันเนื่องด้วย งานวัฒนธรรมของชาติเสมอมาโดยเฉพาะทรงเป็นแบบอย่างในการบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ และพระราชจริยา วัตรในด้านการอนุรักษ์มรดกของชาติในสาขาต่าง ๆ เช่น วรรณศิลป์ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภาษาไทย สถาปัตยกรรม ดนตรีไทยและพุทธศาสนา รวมทั้งได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการสร้างสรรค์และธารง รกั ษามรดกของชาตใิ ห้ยง่ั ยืนตกทอดต่อไปถึงลกู หลาน (ทมี่ า: https://www.gotoknow.org/posts/484064) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง และห้องสมุดประชาชน “เฉลิม ราชกมุ ารี” อาเภอบางละมุง เล็งเห็นความสาคัญของการอ่าน และระลกึ ถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทพี่ ระองคท์ ม่ี ีต่อปวงชาวไทย จึงได้จัดโครงการน้ีข้ึนมา เพื่อให้นักศึกษา กศน. อาเภอบางละมุง และประชาชนท่ัวไป ได้เห็นความสาคัญของการอ่าน การศึกษาหาความรู้ ตลอดจนทานุ บารงุ รกั ษาศิลปวัฒนธรรมไทยใหไ้ มเ่ ลอื นหายไป วตั ถุประสงค์ เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และทานุบารุงรักษาศิลปวัฒนธรรมไทยให้กับ นักศึกษา กศน. อาเภอ บางละมุง รวมทง้ั ประชาชนทั่วไป ในการเฉลิมพระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง เจรญิ พระชนมายคุ รบ 63 พรรษา

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 21 | เปำ้ หมำย เชงิ ปรมิ ำณ 600 คน - นักศกึ ษา กศน. อาเภอบางละมงุ 500 คน - ประชาชนทั่วไป 100 คน เชงิ คณุ ภำพ - นกั ศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป เกิดความตระหนักเห็นประโยชน์ และความสาคัญของ การอ่าน ร่วมอนุรักษท์ านุบารุงศลิ ปวฒั นธรรมไทย - นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป ได้ร่วมกิจกรรมเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจรญิ พระชนมายคุ รบ 63 พรรษา ผล จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ 700 คน

สรปุ ผลการดาเนินงาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 22 | วันจันทร์ท่ี 2 เมษายน 2561 นางประพิศ นพประชา ผอ.กศน.อาเภอบางละมุง พร้อมด้วยข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง นกั ศกึ ษา สงั กดั กศน.อาเภอบางละมุง และห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอ บางละมุง จัดงานโครงการส่งเสริมการอ่านและเฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2 เมษา เจา้ ฟา้ นกั อา่ น ประจาปี 2561 ในปีนี้ ได้รับเกียรติจากสานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี โดยท่าน อนุชา พงษ์ เกษม ผอ.กศน.จังหวดั ชลบุรี มาเป็นประธานในพธิ ีเปิดและปดิ โครงการ มกี ิจกรรมมากมาย อาทิเช่น

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 23 | ภำพกจิ กรรม เตรียมสถำนทีแ่ ละอปุ กรณ์

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 24 | ภำพกจิ กรรม เตรียมสถำนทแ่ี ละอุปกรณ์

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 25 | ภำพกจิ กรรม เตรียมสถำนทีแ่ ละอปุ กรณ์

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 26 | ภำพกิจกรรม กจิ กรรมรว่ มทำบุญตกั บำตร ขำ้ วสำรอำหำรแห้ง

สรุปผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 27 | พิธเี ปดิ โครงการโดยนายอนชุ า พงศ์เกษม ผอ.กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี

สรปุ ผลการดาเนินงาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 28 | จัดนทิ รรศการพระราชกรณียกิจ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 29 | จดั นิทรรศการสง่ เสริมการอ่านของสถานศกึ ษา ท้ัง 11 อาเภอ และ รร.ในเครือข่าย

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 30 | นวตั กรรมส่งเสรมิ การอา่ น เซียมซีเส่ยี งทาย….รกั การอา่ น…..ผ่านคิวอาร์โคด้

สรปุ ผลการดาเนินงาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 31 | นวตั กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน เซียมซเี ส่ียงทาย….รกั การอ่าน…..ผ่านคิวอาร์โค้ด

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 32 | กิจกรรมประกวดเรียงความในหวั ข้อเรอื่ ง “หนงั สือเล่มโปรดของฉัน” กิจกรรมประกวดร้องเพลงไทยลกู ทุ่ง

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 33 | กิจกรรมแขง่ ขันต้มตาลลี า

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 34 | กิจกรรมประกวดคาขวญั ส่งเสรมิ การอ่าน กิจการการฝึกสอนอาชพี เพอื่ สรา้ งรายได้

สรุปผลการดาเนินงาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 35 | การแสดงบนเวทชี ดุ ตา่ งๆ ของนกั ศึกษา กศน. และโรงเรยี นใกล้เคยี ง

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 36 | การออกร้านต่างๆ ภายในงาน

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 37 | บรรยากาศในการจดั กจิ กรรม

สรปุ ผลการดาเนินงาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 38 | บรรยากาศในการจัดกจิ กรรม

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 39 | บรรยากาศในการจดั กจิ กรรม

สรปุ ผลการดาเนินงาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 40 | บทท่ี 5 สรปุ ควำมพึงพอใจ สรุปผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมการอา่ นและเฉลิมพระเกียรตสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ 2 เมษา เจ้าฟา้ นกั อา่ นประจาปี 2561 โดยการตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจในกจิ กรรม 103 คน สรปุ ไดด้ งั น้ี ตอนท่ี 1 1.เพศคาตอบ 103 ข้อ 2.อายุคาตอบ 103 ขอ้

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หนา้ 41 | 3.ระดบั การศกึ ษาคาตอบ 103 ข้อ 4.อาชีพคาตอบ 103 ข้อ 5.ความพึงพอใจ ในการจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมการอา่ นและเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ 2 เมษา เจ้าฟ้านกั อ่าน

สรุปผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 42 | 6.ขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกบั การจัดกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและเฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ 2 เมษา เจา้ ฟา้ นักอา่ น เป็นกจิ กรรมทน่ี า่ สนใจมีกจิ กรรมท่หี ลากหลาย ผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 103 คน หญิง จานวน 61 คน ตอนท่ี 1 1.1 เพศ ชาย จานวน 42 คน 1.2 อำยุ จานวน 14 คน 21 – 40 ปี จานวน 46 คน ต่ากวา่ 20 ปี จานวน 40 คน 60 ปีขึน้ ไป จานวน 3 คน 41 – 60ปี 1.3 ระดับกำรศึกษำ ประถมศกึ ษา จานวน 8 คน มัธยมศึกษาต้น/ปวช. จานวน 21 คน ปรญิ ญาตรี จานวน 32 คน มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวส. จานวน 32 คน อน่ื ๆ จานวน 3 คน ปริญญาโท/ปริญญาเอก จานวน 7 คน 1.4 อำชีพ จานวน 45 คน นักเรยี น – นกั ศึกษา จานวน 15 คน พนักงานรฐั วสิ าหกิจ/พนกั งานเอกชน จานวน 11 คน ข้าราชการ/พนกั งานราชการ/ลูกจ้างส่วนราชการ จานวน 30 คน รับจา้ ง/บริการ ไมม่ งี านทา จานวน 2 คน ตอนที่ 2 ลำดบั รำยกำร มำกทสี่ ดุ ระดับควำมพึงพอใจ นอ้ ย มำก ปำน น้อย ท่ีสดุ 1 การให้คาแนะนาช่วยเหลือของบรรณารักษ์/ 81 เจา้ หนา้ ท่ี กลำง - 81 17 5 - 2 การประชาสมั พันธ์ 81 - 3 เทคนคิ ในการนากิจกรรมและสรา้ งการมีสว่ นรว่ ม 80 17 5 - - 4 กลวิธีนาส่อื ตา่ งๆเข้ามาใชใ้ นการทากิจกรรม 80 17 5 - - 5 รปู แบบกจิ กรรม 80 17 6 - - 6 ความเหมาะสมของระยะเวลาทใ่ี ช้ในการทากจิ กรรม 80 18 5 - - 7 ความเหมาะสมของสถานท่ี 80 18 5 - - 8 ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากการร่วมกจิ กรรม 18 5 - - 18 5 -

สรุปผลการดาเนนิ งาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 43 | ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ - ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมแสดงความคดิ เหน็ วา่ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”ไดจ้ ัดโครงการทดี่ ีมาก และอยากให้มโี ครงการแบบน้ีเร่อื ยๆต่อไป จากการดาเนินการดังกล่าวข้างต้นสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงผลการดาเนินงานดงั น้ี 1. การใหค้ าแนะนาช่วยเหลอื ของบรรณารักษ์/เจา้ หนา้ ท่ี ผใู้ ช้บริการมีความพึงพอใจ คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.75% 2. การประชาสมั พนั ธ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจ คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.75% 3. เทคนคิ ในการนากจิ กรรมและสร้างการมีส่วนร่วม ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามพึงพอใจ คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.75% 4. กลวิธนี าสอ่ื ต่างๆเขา้ มาใชใ้ นการทากจิ กรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพงึ พอใจ คดิ เป็นร้อยละ 94.36% 5. รูปแบบกจิ กรรม ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจ คิดเปน็ ร้อยละ 94.56% 6. ความเหมาะสมของระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการทากจิ กรรม ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีความพงึ พอใจ คิดเปน็ ร้อยละ 94.56% 7. ความเหมาะสมของสถานที่ ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามพึงพอใจ คดิ เป็นร้อยละ 94.56% 8. ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการร่วมกิจกรรม ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามพึงพอใจ คิดเปน็ ร้อยละ 94.56% เฉลยี่ มความพงึ พอใจโครงการส่งเสริมการอ่านและเฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ 2 เมษา เจ้าฟา้ นัก อ่าน ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 94.56%

สรปุ ผลการดาเนินงาน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบางละมุง หน้า 44 | คณะทำงำน ทปี่ รึกษำ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา นางประพิศ นพประชา ตามอัธยาศัยอาเภอบางละมงุ รองผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางพิมพ์พิศา พลอยแหวน ตามอธั ยาศัยอาเภอบางละมงุ หัวหน้ากลุ่มงานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางสุรีย์ พชิ าลี คณะจัดกิจกรรม บรรณารกั ษ์ปฏบิ ตั ิการ วา่ ที่ ร.ต.หญิง ปสตุ า แกว้ เขยี ว บรรณารักษ์(อัตราจ้าง) นางสาววาสนา ขวญั นทั ธี บรรณารักษ์(อตั ราจ้าง) นายสุรบตุ ร นพประชา พนกั งานบริการ นายทวปี ไม้เขยี ว ผ้เู ขยี นและเรยี บเรยี ง ว่าท่ี ร.ต.หญงิ ปสตุ า แกว้ เขียว บรรณารกั ษ์ปฏบิ ัติการ