ก2 คำนำ การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นการสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาสทาง การศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดข้ึนแก่ประชากรทุกกลุ่ม รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย ทางการเรียนรู้ ชนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุนการจัด การศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานและการจัด การศึกษาชุมชนเพ่ือมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิตให้กับนักศึกษา กศน.ตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบขั้นพ้ืนฐานเป็นการเข้าร่วมและปฏิบัติกิจกรรมท่ีเหมาะสมตามความสนใจ ส่งเสริมและพัฒนาความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญาและเป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรมท่ีดีงามตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยไม่เสีย ค่าใชจ้ ่าย ตามนโยบายการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนกั งาน กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ หวังเป็นอย่างย่ิง เอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หน่วยงานสถานศึกษาทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง และประชาชนทวั่ ไปทีส่ นใจ นางสาวปยิ วรรณ วรรณเขียว นกั จัดการงานทัว่ ไป
สารบัญ ข3 บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหาร หน้า คำนำ สารบญั ก ตอนท่ี 1 บทนำ ข ตอนที่ 2 ผลการดำเนินงาน ข้อจำกดั และอปุ สรรค 3 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 9 ภาคผนวก 17 ก. แผนการจดั กิจกรรมและรายละเอียดโครงการ ข. ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม ค. เคร่อื งมอื การประเมนิ ง. คณะผู้จัดทำ
1 บทสรปุ สำหรับผบู้ รหิ าร สำนักงาน กศน. ได้กำหนดกรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีสอดคล้องกับ จดุ ม่งุ หมายของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นกิจกรรม ที่ให้สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมจากการเรียนปกติให้กับผู้เรียน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มสี ติปญั ญา มีคุณภาพชีวติ ท่ีดีมีศักยภาพในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องซ่ึง เป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามจุดมุ่งหมายของ กระทรวงศึกษาธกิ าร แผนการศึกษาแหง่ ชาติและยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปีขนึ้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ถือเป็นแนว ทางการปฏิบัติ จึงวางแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (กพร.) เพ่ือเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามศักยภาพ จึงได้จัดกิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียนข้ึน โดยสำรวจความต้องการเพื่อนำมาสู่กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาหรือความ ต้องการของผู้เรยี นและเขียนเสนอโครงการเพ่ืออนุมัติโครงการ จากผู้มีอำนาจอนุมัติเห็นชอบ โดยมีคณะครู กศน.อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้เรียนร่วมออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เตรียมสื่อ อุปกรณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ประสานงานผู้เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมและดำเนินการ จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้กับผู้เรียน ภายใต้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ซ่ึงสถานศึกษาจัด ใหม้ ีการนเิ ทศตดิ ตามผลและสรปุ ผลการจดั กิจกรรมพรอ้ มรายงานผลการจัดกิจกรรมอยา่ งเปน็ ระบบ ผลการดำเนินงานดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ประจำปีงบประมาณ 2564 ทั้งสิ้น 2 กิจกรรม ได้แก่ (1) โครงการรักษ์ภ าษาไทย (ออนไลน์) วันที่ 29 กรกฎาคม 2564 ณ กศน.อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (2) โครงการหน้าท่ี พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ครั้งท่ี 13 (ออนไลน์) วันที่ 6 กันยาน 2564 ณ กศน.อำเภอเมือง ประจวบครี ีขันธ์ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ ท้ังน้ีไดใ้ ชง้ บประมาณท้ังสิ้นจำนวน 22,400 บาท (สองหมื่นสองพันสี่ รอ้ ยบาทถ้วน) โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ เมืองประจวบคีรีขันธ์ ผ่านการฝึกอบรม จำนวน 400 คน คิดเป็นร้อยละ 100 จากกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีเข้าร่วมโครงการเป็นส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 58.85 และเพศชายร้อยละ 41.15 อายุ 16-39 ปี มากที่สุด ร้อยละ 98.92 รองลงมา อายุต่ำกว่า 16 ปี ร้อยละ 01.08 ตามลำดับ กำลังศึกษาในมัธยมศึกษา ตอนปลายร้อยละ 54.63 มากที่สุด รองลงมาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 43.87 และระดับประถม ศึกษาร้อยละ 1.50 ตามลำดับ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 57.22 รองลงมาคือ อาชีพ ค้าขาย คิดเป็นร้อยละ 16.62 อาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 14.58 และอื่น ๆ ระบุ นักศึกษา 11.58 ตามลำดับ
2 ตลอดระยะเวลาในการอบรมนั้น จากการสังเกตและตอบคำถามของนักศึกษา ทุกคนได้ให้ความ สนใจ กระตอื รอื รน้ และให้ความรว่ มมือปฏบิ ัติตามท่ีวิทยากรได้ใหก้ ารแนะนำเป็นอย่างดี ทำให้การฝึกอบรม ในคร้ังนี้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุตามวตั ถุประสงค์ที่ต้ังไว้ในโครงการและผลลัพธ์ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ ท่ีมุ่งม่ันต้ังใจพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการ และมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามหลักสูตรและเป็นพลเมืองดี ซ่ึงจากการ ตอบแบบสอบถาม การสังเกตจากการตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ และพบว่าผู้เข้าร่วม โครงการหรือผู้เรียน มีค่าร้อยละความพึงพอใจระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 84.01 มีความพึงพอใจในระดับ มากท่ีสุด ที่ค่าเฉลี่ย ( = 4.80) โดยผู้เรียนแสดงความคิดเห็นว่า ประทับใจในคณะคณะวิทยากรที่มาให้ ความรู้และตอ้ งการให้จดั กจิ กรรมเชน่ นี้ข้นึ อีก
3 ตอนที่ 1 บทนำ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน รัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560-2579) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขจุดอ่อนและ เสริมจุดแขง็ ให้เอ้ือต่อการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมาย การสรา้ งรักษาไว้ซ่ึงผลประโยชน์แห่งชาติในการ ท่ีจะให้ประเทศไทยมีความม่ันคงในทุกด้าน คนในชาติมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมั่นคง และประเทศสามารถ พฒั นาไปได้อย่างย่ังยนื จำนวน 6 ยุทธศาสตรไ์ ด้แก่ (1) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมน่ั คง (2) ยุทธศาสตรด์ ้านการ สร้างความสามารถในการแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิต และ (6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ซ่ึงสอดคล้องจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยมีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้และความสามารถปรับตัวเท่าทัน กับการเปลย่ี นแปลงรอบตวั ทรี่ วดเร็ว แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560–2579 ได้กำหนดวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ ได้แก่ (1) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (2) เพ่ือพัฒนาคน ไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ (3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็น สังคมแห่งการเรียนรู้และมีคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศ อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ (4) เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมี รายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำภายในประเทศลดลง จึงกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษา ภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลักท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อให้แผนการศึกษาแห่งชาติบรรลุ เปา้ หมายตามจุดมุ่งหมาย วิสัยทัศน์ และแนวคิดการจัดการศึกษา ดังน้ี (1) ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อ ความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ (2) ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (4) ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาพ และความเท่าเทียมทาง การศึกษา (5) ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมสุขภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และ (6) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีมุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการสร้าง
4 สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพ่ือสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มีการบูรณา การอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสร้างพ้ืนฐานการเป็นสมาชิกท่ีดีของ ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และพัฒนาความสามารถเพอื่ การทำงานที่มีคุณภาพ โดยให้ภาคเี ครือขา่ ยมสี ่วนร่วม จัดการศึกษาให้ตรงตามความต้องการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็น กระบวนการของการพัฒนาชีวิตและสังคม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง เป็นหลกั สูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของบคุ คลที่อยนู่ อกระบบโรงเรียน ซ่ึงเป็นผู้มีความรู้ประสบการณ์จากการทำงาน และการประกอบอาชีพ โดยการกำหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความสำคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย ด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรมควบคู่ไปกับการพัฒนาการเรียนรู้สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทง้ั ภูมิปัญญาท้องถ่ินและเทคโนโลยีเพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งคำนึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ที่อยู่ นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้า ของเทคโนโลยีและการสอื่ สาร สำนักงาน กศน. จึงกำหนดกรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับ จดุ มุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงเป็นกิจกรรม ท่ีให้สถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมจากการเรียนปกติให้กับผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มสี ติปัญญา มีคุณภาพชีวติ ที่ดีมีศักยภาพในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องซึ่ง เป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามจุดมุ่งหมายของ กระทรวงศกึ ษาธิการ แผนการศึกษาแห่งชาติและยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปขี ึ้น กรอบการจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น เพ่ือให้สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นไปในแนวทางเดียวกันอย่างมี ประสิทธภิ าพ ประสิทธิผล คมุ้ คา่ เกิดประโยชน์สงู สุดตอ่ ผู้เรยี น ดังนี้ 1. กิจกรรมพัฒนาวิชาการ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีพ้ืนฐานความรู้เพียงพอกับ การศึกษาในแต่ละระดับและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากข้ึนในรายวิชา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์วทิ ยาศาสตร์หรือวชิ าอนื่ ๆ ตามความต้องการของนกั ศกึ ษา กศน. ซ่ึงวิทยากรหรือ ผู้สอนควรเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชานั้น ๆ โดยตรง อาจจะเป็นบุคคลภายนอกหรือ ครู กศน. ได้ตามความเหมาะสม ส่วนจำนวนนักศึกษา กศน. ที่ร่วมกิจกรรมให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้บริหาร สถานศกึ ษา 2. กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตเป็นการจัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในสาระทักษะการ ดำเนินชีวิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เนื่องจากสังคม
5 ปจั จุบันมกี ารเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ข่าวสารขอ้ มูล และเทคโนโลยี มีการแขง่ ขัน และความขดั แย้งมากข้ึนจึงมีความจำเป็นท่สี ถานศกึ ษาต้องจดั กิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ิตให้กับผู้เรียน เพื่อให้ มีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติค่านิยมที่ถูกต้องและมีทักษะหรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นในการเผชิญ ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชีวิต อาทิเช่น ปัญหายาเสพติด การต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์ เพศสัมพันธ์ทะเลาะวิวาท ครอบครัวแตกแยก ความรุนแรง ความเครียด ภัยพิบัติ เป็นต้น รวมท้ังมีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในการอยู่ ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. กิจกรรมท่ีแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เป็นการจัด กิจกรรมเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติท่ีดีมีความรักและ ภาคภูมิใจในชาติไทย และแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ตลอดจนทะนุบำรุงและปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาท่ีนับถือ การส่งเสริมโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำรกิ ารเทดิ ทนู และปกปอ้ งสถาบันพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานวุ งศ์ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นการจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาผเู้ รียน ให้มีความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยสามารถนำไปประยุกต์ให้เกิดผลในทาง ปฏิบัติในการดำรงชวี ิตประจำวันท้ังต่อตนเอง ครอบครัวชุมชน สงั คม และประเทศชาติ 5. กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาดเป็นกิจกรรมเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู้เรียนเป็นผู้ท่ีมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมมีจิตอาสา มีความเสียสละในการช่วยเหลือผู้อ่ืน บำเพ็ญ ประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน โดยดำเนินการจัดกิจกรรม ลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หรือ อาจดำเนินการร่วมกับสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจกรรมนักเรียน กระทรวงศกึ ษาธิการ สำนกั งานยุวกาชาด สภากาชาดไทย เป็นต้น 6. กิจกรรมกีฬาและส่งเสริมสขุ ภาพ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรยี นไดม้ ีโอกาสออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ พลานามัย ท่ีดีสร้างนิสัยความมีน้ าใจเป็นนกั กีฬาและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นการสร้างความรัก ความสามัคคใี นหมู่คณะให้ รู้จกั รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และเป็นการสร้างสัมพันธภาพอัน ดี ระหว่างนักศึกษา กศน. 7. กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เป็นกิจกรรมเพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีความร้แู ละทักษะใน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เช่น การจัดอบรมความรู้ในด้านต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วกบั ICT เป็นต้น 8. กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้สู่ประชาคมโลก เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ให้กับผู้เรียน ในด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมความม่ันคง และการเมือง เพ่ือเข้าสู่ประชาคมโลก เช่น การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรไปสู่สังคมสูงวัยทักษะของประชากรในศตวรรษที่ 21 ท่ีท่ัวโลกต่าง ๆ ต้องเผชิญกบั ความท้าทายและมงุ่ พัฒนาประเทศไปสู่การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมยุค 4.0 เปน็ ต้น
6 9. กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทำความดีด้วยหัวใจ” เป็นกิจกรรมที่หน่วยงาน/สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน กศน. จัดข้ึน หรือร่วมกับหน่วยงานอ่ืน ๆ และร่วมกับประชาชนทุกหมู่เหล่าที่มีจิตอาสา บำเพ็ญสาธารณประโยชน์ในพื้นท่ีต่าง ๆ เพื่อบรรเทาความเดือดรอ้ น และแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชน ไม่ว่า จะเป็นปัญหาน้ำท่วมในเขตชุมชน ปัญหาการจราจรและอ่ืน ๆ เพ่ือสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงห่วงใยปัญหาน้ำท่วมและปัญหา การจราจรในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ และสอดคล้องกับพระบรมราโชบายของ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ ัว เป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อมและความเป็นอยูใ่ นชมุ ชนให้มสี ภาพท่ี ดีขน้ึ 10. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะ การอ่าน การเรียนรู้ เสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน และการเรียนรู้ เพ่ือนำไปใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คม อนั จะนำไปส่สู ังคมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ 11. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษา เรียนรู้ฝึกทักษะและฝึกปฏิบัติด้านอาชีพที่ตนเองสนใจ เพื่อเป็นทางเลือก และวางแผนการประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อในอนาคต 12. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เป็นกจิ กรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ด้วยการปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ของชาติ ให้เกิดความรักและความ ภาคภูมิใจ สืบสานวฒั นธรรมและประเพณีทอ้ งถน่ิ อยูร่ ่วมกนั ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ 13. กิจกรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และกฎหมายท่ีเก่ียวข้องในชีวิตประจำวัน เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง เกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและกฎหมายท่ีเก่ียวข้องใน ชวี ิตประจำวัน เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายการเลือกตั้ง สทิ ธิหน้าที่พลเมือง กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับ การคุม้ ครองผู้บริโภค เป็นตน้ 14. กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ หรือมีพรสวรรค์ในด้านต่าง ๆ ให้มีโอกาสและกล้าแสดงออกถึงทักษะ ความรู้ ความสามารถ ความคิด สร้างสรรค์ และจินตนาการ ในแนวทางท่ีถกู ต้องเหมาะสม และพัฒนาความสามารถพิเศษหรือพรสวรรค์ไป ใช้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของตนเอง เป็นการส่งเสรมิ สนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต โดยการจัดต้ังชมรม ตา่ ง ๆ เชน่ ชมรม TO BE NUMBER ONE การจัดต้ังศูนยเ์ พอ่ื นใจวยั รุ่น เปน็ ต้น รปู แบบของกจิ กรรม แบบการออนไลน์ (google site) หมายเหตุ : ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยา่ งหนัก จงึ จดั กิจกรรมแบบไม่รวมกล่มุ และไมม่ ีการพักค้างคืน
7 งบประมาณ การเบิกจ่ายให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการที่เกีย่ วข้อง โดยยดึ หลักความถูกต้อง โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ เงอื่ นไขของการดำเนินงาน 1. ผู้รับบริการต้องเป็นนักศึกษา กศน. ที่ลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ในภาคเรยี นน้ัน ๆ 2. สถานศึกษาจัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามกรอบการจัดกิจกรรมเพ่ือ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 3. สถานศกึ ษาจดั ส่งแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน เพ่ือขอความเหน็ ชอบจากสำนักงาน กศน. จงั หวัด /กทม. 4. สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการจัดกจิ กรรมเพ่อื พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบ ประเมินผล การจัด กิจกรรม พรอ้ มเบิกจ่ายเงินตามระเบียบทีก่ ำหนดให้แลว้ เสร็จภายในแต่ละภาคเรียน และรายงานผล ใหส้ ำนกั งาน กศน. จงั หวดั /กทม. ทราบ 5. สำนักงาน กศน. จังหวัด/กทม. นิเทศติดตาม การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของ สถานศกึ ษา 6. ให้ใช้ “กรอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551สำนักงาน กศน.” ต้งั แตภ่ าคเรยี นท่ี 2/2561 เป็นต้นไป หมายเหตุ : กิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีใช้เงินงบประมาณในการจัดกิจกรรมไม่นับเป็น ชั่วโมงกิจกรรมพัฒนา คุณภาพชีวิต (กพช.) ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ ด้านความมั่นคง ๑.1 การสร้างความม่ันคงให้กับประเทศการรกั ษาความมนั่ คงภายใน และความ สงบเรยี บร้อย ภายใน ตลอดจนการบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนและทะเลชายฝ่งั ทะเล ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 3.1 พัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ๓.๒ การยกระดับการศึกษาและการเรยี นรู้ใหม้ คี ุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึง ๓.๓ ปลูกฝงั ระเบยี บวินัยคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค สอดคลอ้ งกับพันธกจิ ของ กศน.อำเภอเมอื งประจวบคีรขี ันธ์ 1. จัดการศกึ ษาให้ประชาชนทุกกลุม่ เป้าหมายมีความรแู้ ละทกั ษะท่ีจำเป็นตามความตอ้ งการ 2. พัฒนาการเรียนรใู้ หม้ ีทกั ษะการดำเนินชีวิตบนพน้ื ฐานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
8 สอดคล้องกับมาตรฐาน กศน. มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน/ผู้รับบรกิ าร การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผูเ้ รยี นการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีคุณธรรม ตัวบ่งช้ีที่ 1.2 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานสามารถอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างมคี วามสุข ตวั บง่ ชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมีความรู้พ้นื ฐาน ทักษะกระบวนการคดิ ทกั ษะการ แสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเน่ือง และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดำรงชีวิต มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษาและการใหบ้ ริการ ตัวบ่งชท้ี ี่ 2.1 คุณภาพครกู ารศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ตัวบง่ ชี้ที่ 2.4 คุณภาพของหลกั สูตร ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คณุ ภาพส่ือ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.6 คุณภาพการจัดกระบวนการเรยี นรู้การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การการศึกษา ตวั บ่งช้ที ่ี 3.2 การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ตัวบง่ ชท้ี ี่ 3.3 การส่งเสริม สนบั สนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือขา่ ย
9 ตอนท่ี 2 ผลการดำเนินงาน ข้อจำกดั และอุปสรรค กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรา 22 และมาตรา 23 การจัดการศึกษาเน้น ความสำคัญท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการความรู้เรื่องเก่ียวกับตนเอง และสังคม ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม กีฬา ฝึกทักษะกระบวนการคิดเป็น ทำเป็น ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ดี ีงามและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงาน กศน. ได้กำหนดนโยบายสำคัญ ในการมุ่งเน้นจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและปรับพ้ืนฐานการศึกษาของ ผูเ้ รียน โดยจัดกิจกรรมค่ายวิชาการ กิจกรรมเรียนปรบั พน้ื ฐาน กิจกรรมเพอ่ื พฒั นาความรู้ความสามารถด้าน เทคโนโลยีและการส่ือสาร กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพ่ือเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน กิจกรรมท่ีแสดงออกถึงความจงรกั ภกั ดตี ่อชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษตั ริย์ กิจกรรมการเรียนรู้ด้าน เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมลูกเสือและกิจกรรมอาสายุวกาชาด กิจกรรมด้านกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ และ กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ รวมท้ังสร้างโอกาสในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผูเ้ รียนด้วยวิธีการท่ี หลากหลาย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพ่ือเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามศักยภาพ จึงได้จัดโครงการพัฒนา คณุ ภาพผเู้ รียนขึ้น จากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID -19) ส่งผลกระทบตอระบบ การจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซ่ึงรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและ มีมาตรการเฝ้าระวังเพ่ือปองกันการแพรกระจายของเช้ือไวรัส ในสวนของสำนักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดำเนินงานในภารกิจต่อเน่ืองต่างๆ ในสถานการณ การใช ชีวิตประจำวัน และการจัดการเรียนรูเพ่ือรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม่ (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการ เรียนรูต่างๆได้ใหความสำคัญกับการดำเนินงานตามมาตรการการปองกัน การแพรระบาดของเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019 (COVID -19) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง ประจวบคีรีขันธ์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ ไดต้ ระหนกั เห็นความสำคัญ จึงได้กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน(ออนไลน)์ ประจำภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ขึ้น
10 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มคี วามรู้ความสามารถทางด้านวชิ าการ 2. เพ่อื พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคุณลักษณะที่พงึ ประสงคต์ ามหลักสตู รและเปน็ พลเมืองดี วนั เวลาและสถานที่ กิจกรรมที่ 1 โครงการรักษ์ภาษาไทย (ออนไลน์) วันที่ 29 กรกฎาคม 2564 ณ กศน.อำเภอเมือง ประจวบครี ขี นั ธ์ จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ กิจกรรมท่ี 2 โครงการหน้าท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ครั้งท่ี 13 (ออนไลน์) วนั ท่ี 6 กันยาน 2564 ณ กศน.อำเภอเมอื งประจวบคีรีขันธ์ จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ กลุ่มเปา้ หมาย นักศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองป ระจวบคีรีขันธ์ จำนวน 400 คน งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอ ภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ภาคเรียนท่ี 1/2564 ผลการดำเนินงาน 1. ผู้เรียนมคี วามรูค้ วามสามารถทางด้านวชิ าการ 2. ผู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคต์ ามหลกั สตู รและเปน็ พลเมอื งดี กระบวนการทำงาน การดำเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ประจำภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ได้ดำเนินการตามกระบวนการของการดำเนินงาน วงจรคุณภาพ PDCA ซึ่งประกอบด้วย 4 ข้ันตอน คือ (1) วางแผน (2) ปฏิบัติ (3) ตรวจสอบ และ (4) ปรับปรุงการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ 1. การวางแผนการดำเนนิ งาน (P) 1.1 สถานศกึ ษาโดยบุคลากร ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของชุมชนเก่ียวกับศักยภาพทุนทางสังคม เพ่ือ วางแผนการร่วมกับผู้นำ เครือขา่ ย ดำเนินการสำรวจความต้องการของชุมชนและประชาชนผู้รับบริการเพ่ือ นำมาสู่กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการจัดประชุมผ่านการประชาคมของหมู่บ้านหรือเวทีชาวบ้านโดย การทำความเข้าใจกับชุมชนและคนในชุมชนท้องถน่ิ นั้น ๆ เพื่อสำรวจวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของ ชุมชนและผู้ต้องการรับบริการสถานศึกษาวิเคราะห์ปัญหา ความต้องการของชุมชนหรือผู้รับบริการโดย ร่วมกันวิเคราะห์ จากน้ันแยกปัญหาท่ีสำคัญมากไปถึงน้อยที่สุดและสามารถดำเนินการจัดการกระบวนการ เรยี นรู้ให้กับชุมชนและกลุ่มเป้าหมายวิเคราะห์ความต้องการของผู้รบั บริการจากขอ้ มลู แบบสำรวจ ครู กศน.
11 ตำบลและวิทยากรท่ีมีความรู้และประสบการณร์ ว่ มกันวางแผนการเรียนร้ตู ามรายละเอียดของแต่ละกจิ กรรม และหลกั สูตร 1.2 ออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยสอดคล้องกลุ่มเป้าหมายเป็นหลักพิจารณาเร่ืองที่ต้อง เสริมสร้างและเร่ืองใดที่ต้องสร้างเสริม โดยยึดนโยบายของรัฐหรือเอกลักษณ์ของชาติ เป็นหลักจากสภาพ ปญั หาความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายโดย กระบวนการเรียนรแู้ บบบรู ณาการและแบบการมีสว่ นร่วม 1.3 เขยี นเสนอโครงการเพอ่ื อนุมตั ิโครงการโดยเสนอผมู้ ีอำนาจอนมุ ัติโดยระบุเหตผุ ลความจำเป็น หรือนโยบายของสถานศกึ ษาความตอ้ งการของชุมชนเพอื่ ขออนมุ ตั ิไปยงั ผูม้ ีอำนาจอนุมัติ 1.4 เตรียม สถานที่ ส่ือ อปุ กรณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ประสานงานผเู้ ก่ียวข้องในการจัด กจิ กรรมหรือ ขอรบั การสนับสนุนเพม่ิ เติม ด้านส่ืออปุ กรณ์ จากภาคเี ครือขา่ ยต่าง ๆ 1.5 จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตามกำหนดการผา่ นหอ้ งเรียนออนไลน์ (google site) โดยการถ่าย ทำ-ตดั ต่อคลิปวดิ โี อบรรยายให้ความรู้ 1.6 สถานศึกษาจัดมกี ารนิเทศติดตามผล ให้คำปรึกษา แนะนำในการแกป้ ัญหา 1.7 ติดตามประเมนิ ผลผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมและสรุปผลการจดั กิจกรรม 1.8 รายงานผลการจดั กจิ กรรมจัดบนั ทกึ ในเป็นระบบ DMIS 2. การปฏิบัติงาน (D) ดำเนินการตามแผนวางไว้หรือกำหนดการการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ตามกำหนดการผ่านห้องเรียนออนไลน์ (google site) โดยการ ถ่ายทำ-ตัดต่อคลิปวิดีโอตามหัวข้อ ดังน้ี (1) หลักสูตรหน้าท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 โดย วิทยากร (2) ฐานการเรียนรู้ท่ี 1 โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ฐานการเรียนรู้ที่ 2กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต (กพช.) ฐานการเรียนรู้ท่ี 3 กจิ กรรมส่งเสรมิ การ อ่าน ฐานการเรียนรู้ท่ี 4 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ฐานการเรียนรู้ท่ี 5 การน้อมนำหลักสูตรหน้าที่ พลเมืองตามรอยพระยุคลบาท รัชกาลท่ี 9 ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน โดย บุคลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอเมอื งประจวบครี ขี ันธ์ 3. การติดตามและประเมินผล (C) ในการติดตามและประเมินผลแบบสอบถามความพึงพอใจของ ผเู้ ข้าร่วมโครงการ เปน็ การติดตามและประเมนิ ผลการบรรลุวัตถุประสงคข์ องโครงการ 4. การปรบั ปรุงและพัฒนา (A) ให้ผู้เขา้ รว่ มโครงการมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเหน็ ต่อการ จดั ทำพฒั นาหลักสูตรการฝึกอบรมและการจัดกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกับกลุม่ เป้าหมายต่อไป แบบสอบถามความพึงพอใจของผเู้ รียน/ผรู้ ับบริการการศึกษานอกนอกระบบ แบ่งเปน็ 3 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการ ศกึ ษาวจิ ัยในการดำเนินงานคร้ังน้ี จะเป็นแบบสอบถามอย่างง่าย จะถามเก่ียวกับข้อมลู สว่ นตัวของผู้ประเมิน ในแบบสอบถามครั้งน้ีเป็นแบบสอบถามชนิดเลือกตอบ (Check List ) และแบบปลายเปิด( Open Ended) ซง่ึ จำเปน็ ที่ตอ้ งนำมาคำนวณขอ้ มูลรอ้ ยละ ในการสรปุ ผลการสอบถาม
12 สว่ นที่ 2 เปน็ แบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดบั และมคี ำถามท่ีใช้ในการประเมนิ จำนวน 15 ข้อ ส่วนที่ 3 ข้อคิดเหน็ เพ่ิมเตมิ ในการวิเคราะห์ข้อมลู เกยี่ วกับความพึงพอใจและความคิดเห็นจากแบบสอบถาม ใช้วิธีการทางสถติ ิ ไดแ้ ก่ ความถ่ี และค่าร้อยละ ค่าเฉล่ียมัชฌิมเลขาคณติ หรือค่าคะแนนเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และ รว่ มกับการใชเ้ ทคนคิ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล ศึกษาคุณสมบัตพิ ื้นฐานของบุคคลโดยวิเคราะห์ดว้ ยสถิติพื้นฐาน เชน่ รอ้ ยละ (Percentage) และคา่ เฉลี่ย (Mean) 1.) การหาค่าร้อยละ (Percentage) P = f x 100 n เมื่อ P แทน คา่ ร้อยละ F แทน ความถขี่ องความสำคัญให้เปน็ ร้อยละ nแทน จำนวนกลุ่มของตวั อย่าง 2.) สูตรค่าเฉลย่ี (Mean) (ชูศรี วงศ์รัตนะ.2541 : 449) X = ∑X n เม่อื X แทน คะแนนคา่ เฉลย่ี ∑ X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด n แทน ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่าง สำหรับการตรวจให้คะแนนที่ตอบจากแบบสอบถามท่ีเปน็ มาตราสว่ นประมาณคา่ ซึ่งใชว้ ัดระดับ ความพงึ พอใจของประชากรกล่มุ เป้าหมาย ดังนี้ ระดับการประเมินความพึงพอใจ 1) ระดับประเมนิ ความพึงพอใจ การให้คะแนน มีเกณฑ์ ดงั น้ี คำถามเชิงบวก คำถามเชงิ ลบ พึงพอใจระดับดมี าก 5 1 พงึ พอใจระดับดี 4 2 พึงพอใจระดับดีปานกลาง 3 3 พงึ พอใจระดบั น้อย 2 4 พงึ พอใจระดบั น้อยท่ีสุด 1 5
13 หลังจากน้ัน นำคะแนนเฉล่ยี ที่ไดม้ าแปลความหมายตามเกณฑ์ การแปลความหมายของขอ้ มูล ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51-5.00 หมายถงึ มากท่ีสดุ ค่าเฉลย่ี ระหว่าง 3.51-4.50 หมายถึง มาก ค่าเฉลย่ี ระหว่าง 2.51-3.50 หมายถงึ ปานกลาง ค่าเฉล่ียระหวา่ ง 1.51-2.50 หมายถงึ นอ้ ย ค่าเฉลย่ี ระหว่าง 0.00-1.50 หมายถงึ น้อยทส่ี ดุ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการติดตามและการประเมินผล การประเมินจากแบบสอบถามความ คิดเห็นและความพงึ พอใจของผูเ้ รยี น ส่วนท่1ี ขอ้ มลู ส่วนบุคคล ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน ( คน ) รอ้ ยละ 1. เพศ 1.1 หญงิ 296 68.36 1.2 ชาย 137 31.64 รวม 433 100.00 ตารางแสดงข้อมูลสว่ นบุคคลเม่ือจำแนกตามเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม ปรากฏวา่ มผี ู้เข้าร่วม โครงการเป็นสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 68.36 และเพศชายร้อยละ 31.64 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน ( คน ) ร้อยละ 2. อายุ 8 1.85 2.1 ตำ่ กวา่ 16 ปี 425 98.15 2.2 16-39 ปี - 2.3 40-59 ปี - - 2.4 60 ปี ขน้ึ ไป 433 - 100.00 รวม ตารางแสดงข้อมูลส่วนบุคคลเม่ือจำแนกตามอายุ ของผู้ตอบแบบสอบถาม ปรากฏว่ามผี ู้เขา้ ร่วม โครงการอายุ 16-39 ปี มากที่สุด ร้อยละ 98.15 รองลงมา อายุต่ำกว่า 16 ปี ร้อยละ 1.85 ตามลำดับ
ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จำนวน ( คน ) 14 3. ระดับการศึกษา 11 รอ้ ยละ 3.1 ประถมศึกษา 152 3.2 มัธยมศกึ ษาตอนต้น 270 2.54 3.3 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 433 35.10 62.36 รวม 100.00 ตารางแสดงขอ้ มลู สว่ นบุคคลเมอ่ื จำแนกตามระดบั การศึกษาของผตู้ อบแบบสอบถาม ปรากฏว่าเป็น มีผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายร้อยละ 62.36 มากท่ีสุด รองลงมาระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ รอ้ ยละ 35.10 และระดับประถมศึกษารอ้ ยละ 2.54 ตามลำดับ ขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน ( คน ) ร้อยละ 4. อาชีพ 155 35.80 4.1 รบั จา้ ง 120 27.71 4.2 ค้าขาย 85 19.63 4.3 เกษตรกรรม 73 16.86 4.4 อื่น ๆ ระบุ ............................... 433 100.00 รวม ตารางแสดงข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อจำแนกตามอาชีพ ของผู้ตอบแบบสอบถาม ปรากฏว่ามีผู้เข้าร่วม โครงการประกอบอาชีพ อ่ืน ๆ โดยส่วนมากอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 35.80 รองลงมาคือ อาชีพค้าขาย คิดเปน็ ร้อยละ 27.71 อาชพี เกษตรกรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 19.63 และอืน่ ๆ ระบุ นกั ศึกษา 16.86 ตามลำดับ สว่ นที่ 2 ดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมและความพึงพอใจของผเู้ รียน/ผ้รู บั บริการ ที่ รายการ ระดบั การประเมนิ ค่า ดีมาก ดี พอใช้ นอ้ ย น้อยทสี่ ุด เฉลย่ี รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ความพึงพอใจดา้ นเน้อื หา 1 เนื้อหาสอดคลอ้ งและตรงตามความ 575 159 0 0 0 4.68 ตอ้ งการ 67.93 32.07 0.00 0.00 0.00 2 เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 519 215 0 0.00 0.00 4.78
15 ท่ี รายการ ระดบั การประเมนิ ค่า เฉลย่ี 3 เนอื้ หาความร้สู ามารถนำไปใช้ประโยชน์ ดมี าก ดี พอใช้ น้อย นอ้ ยท่สี ุด ได้จรงิ ในการวางแผนการเรียน ร้อยละ รอ้ ยละ 4.82 รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ 4 เน้ือหามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ น 78.42 0.00 4.82 การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 594 21.58 0.00 0.00 0.00 82.14 0.00 610 140 0 0.00 0 82.61 0.00 17.86 0.00 0.00 124 0 0 17.39 0.00 0.00 รวม 77.78 22.22 0.00 0.00 0.00 4.78 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนการจัด 484 250 0 0 0 4.73 0.00 กิจกรรม 73.21 26.79 0.00 0.00 0.00 4.75 0.00 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับ 00 0.00 4.82 0.00 วัตถุประสงค์ 74.77 25.23 0.00 0.00 0 4.82 0.00 7 การช้แี จงข้อตกลงและเงื่อนไขต่าง ๆ 588 146 0 0.00 0 4.84 0.00 ระหว่างการจดั กจิ กรรม 82.30 17.70 0.00 0.00 0.00 4.83 8 จำนวนวนั และระยะเวลาเหมาะสม 590 148 0 0 0 4.76 0.00 ในการจัดกิจกรรม 82.45 17.55 0.00 0.00 0 4.82 0.00 9 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับ 588 146 0 0 0 4.82 0.00 กลุ่มเปา้ หมาย 84.24 15.76 0.00 0.00 0.00 4.80 รวม 83.35 16.65 0.00 0.00 ความพงึ พอใจต่อครูผสู้ อน/วิทยากร 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถใน 487 243 0 0 เรื่องทีถ่ า่ ยทอด 75.93 24.07 0.00 0.00 11 วิทยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใช้สื่อ 590 148 0 0 เหมาะสม 82.45 17.55 0.00 0.00 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและ 587 147 0 0 ซักถาม 81.91 18.09 0.00 0.00 รวม 80.10 19.90 0.00 0.00
16 ท่ี รายการ ดีมาก ระดับการประเมิน น้อยที่สุด ค่า ร้อยละ ร้อยละ ดี พอใช้ น้อย เฉลี่ย รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณแ์ ละสง่ิ อำนวย 580 154 0 0 0 4.80 ความสะดวก 0.00 80.36 19.64 0.00 0.00 14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศ 579 155 0 0 0 4.81 เพื่อให้เกดิ การเรยี นรู้ 0.00 80.59 19.41 0.00 0.00 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการ 587 147 0 0 0 4.82 แกป้ ญั หา 0.00 82.30 17.70 0.00 0.00 รวม 80.47 19.53 0.00 0.00 0.00 4.80 ภาพรวม 80.42 19.57 0.00 0.00 0.00 4.80 จากสว่ นที่ 2 แสดงให้เหน็ วา่ ผู้เรียนท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน พบว่ามีคา่ ร้อยละความ พงึ พอใจระดบั ดีข้ึนไป เท่ากับรอ้ ยละ 80.01 ดังน้ี 1) ดา้ นความพึงพอใจด้านเน้ือหา รอ้ ยละ 77.78 2) ดา้ นความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรม ร้อยละ 83.35 3) ดา้ นความพึงพอใจต่อครผู สู้ อน/วิทยากร รอ้ ยละ 80.10 4) ดา้ นความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก ร้อยละ 80.47 จากส่วนที่ 2 แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีความพึงพอใจของ ดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมและความพึงพอใจของผเู้ รยี น/ผรู้ ับบริการ ดังน้ี 1) ดา้ นความพึงพอใจด้านเนื้อหา มีความพึงพอใจในระดบั มาก ( = 4.78) 2) ดา้ นความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรม มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก ( = 4.83) 3) ดา้ นความพึงพอใจต่อครูผสู้ อน/วทิ ยากร มคี วามพึงพอใจในระดับมากทส่ี ุด ( =4.80) 4) ด้านความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก มีความพึงพอใจในระดบั มาก ( = 4.80) สรปุ ความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการ แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 พบว่าผู้เรียนหรือผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในระดับ มากท่สี ดุ ทค่ี า่ เฉลยี่ ( ) = 4.80 ส่วนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ 1. อยากให้มกี ิจกรรมแบบน้ีอกี 2. ประทบั ใจสื่อวดิ โี อ อยากให้มีกจิ กรรมออนไลนแ์ บบน้ีอกี
17 ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา 1. จุดทค่ี วรพัฒนา 1.1 โรคระบาด COVID 19 ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวั่ โลก 1.2 การดำเนินการจะต้องตามกำหนดเวลาและกฎระเบียบของกระทรวงศกึ ษาธิการ 2. ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรม 2.1 ขอคำแนะนำ ใหค้ ำปรึกษาจากครู กศน.และครศู ูนยก์ ารเรยี นชุมชน 2.3 คณะผูจ้ ัดและคณะวทิ ยากร ดำเนนิ การตามเวลาอย่างเคร่งครัดในทำกจิ กรรมต่าง ๆ 2.4 เพอ่ื เป็นการพัฒนาให้ผู้เรยี นให้มีความร้คู วามเข้าใจ ควรจดั กิจกรรมอยา่ งต่อเนื่อง 2.5 นำเทคโนโลยีมาใช้ในเกิดประโยชน์ท่ีหลากหลาย เช่น การเรียนผ่านออนไลน์ และสื่อการ สอนออนไลน์
18 ภาคผนวก
19 ก. แผนการจัดกิจกรรมและรายละเอียดโครงการ
20
21 ข. ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม
22 กิจกรรมที่ 1 โครงการรกั ษภ์ าษาไทย (ออนไลน)์ วนั ท่ี 29 กรกฎาคม 2564ณ กศน.อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์
23 กิจกรรมที่ 2 โครงการหน้าท่ีพลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาท รัชกาลท่ี ๙ ครงั้ ที่ 13 (ออนไลน์) วนั ที่ 6 กันยายน 2564 ณ กศน.อำเภอเมืองประจวบคีรีขนั ธ์ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์
24 ค. เคร่ืองมือการประเมิน
25 เครอ่ื งมือการประเมินความพึงพอใจ เพมิ่ เติม สามารถสแกนจาก QR CODE ลำดับที่ หลักฐานประกอบ ลงิ ค์ QR CODE 1 แบบสอบถามวามพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโครงการ วัน (รกั ษ)์ ภาษาไทย (ออนไลน์) 2 แบบสอบถามวามพึงพอใจของผู้เขา้ รว่ มโครงการโครงการ หน้าท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาท รัชกาลท่ี ๙ ครั้งท่ี 13 (ออนไลน์)
26 ง. คณะผจู้ ดั ทำ
27 คณะผู้จัดทำ ทีป่ รึกษา 1. นางเรียงตะวนั สิทธิเชนทร์ ผอู้ ำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ 2. นางสาวขวัญจติ ต์ ศรีจันทนากลุ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งประจวบคีรขี ันธ์ 3. นางสนุ ชิ บวั ทอง ครูเชีย่ วชาญ 4. นางสาวจิราพร ยอดแกว้ ครผู ู้ชว่ ย ผจู้ ดั ทำ 1. นางสาวปยิ วรรณ วรรณเขียว นกั จดั การงานทั่วไป รวบรวม/เรียบเรียง 1. นางสาวปยิ วรรณ วรรณเขียว นักจัดการงานท่ัวไป ออกแบบปกรปู เล่มและพิมพ์ 1. นางสาวปิยวรรณ วรรณเขียว นกั จัดการงานทัว่ ไป บรรณาธกิ าร 1. นางสาวปิยวรรณ วรรณเขียว นกั จดั การงานท่วั ไป
28
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: