คำนำ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-book) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำราชาศัพท์ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ จัดทำขึ้นเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์และคุณภาพการอ่าน เขียนภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย เพ่ือให้นักเรียนศึกษาเน้ือหา และฝึกทักษะทางภาษา เรื่องการสอนอ่านคำราชาศัพท์ โดยคณะผู้จัดทำ ร่วมกัน เรียบเรียงเน้ือหาและรูปแบบกจิ กรรม ผสานความเข้าใจลักษณะของภาษาไทย ตระหนกั รับรู้ในความงามของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา กระบวนการคิดและการบูรณาการ เพ่ือนำไปสู่การเรียนรู้ด้วยตนเองและกระตุ้นความสนใจ สามารถพัฒนาทักษะทางภาษาเหมาะแก่วัย ระดับช้ัน อย่างสูงสดุ เตม็ ตามศักยภาพ เป็นพื้นฐานการคิดเช่ือมโยงใน การเรยี นร้กู ลุ่มสาระการเรยี นรู้อื่น ปลกู ฝงั วฒั นธรรมทางภาษา ความเป็นไทยรวมท้ังการนำความรู้และความคิดไป ใช้เปน็ แนวทางในการตดิ ตอ่ สื่อสารในการดำเนินชีวิตตอ่ ไป ผ้จู ดั ทำ นางสาวนภิ าภรณ์ วรรณวิจิตร
คำรำชำศพั ทน์ ำ่ รู้ ความหมาย คำว่า ราชาศพั ท์ มคี วามหมายวา่ ศพั ท์หรอื ถ้อยคำสำหรบั พระราชา ศัพท์หลวง ศัพทร์ าชการแต่โดยท่วั ไป หมายถึง คำสภุ าพท่ีใชถ้ ูกต้องเหมาะสมกบั ฐานะหรือสถานภาพของบุคคลต่าง ๆ ได้แก่ พระมหากษัตรยิ ์ (พระราชา) พระราชวงศ์ ข้าราชการ พระภกิ ษุ และสภุ าพชนท่ัวไป ทมี่ าของคำราชาศัพท์ คำทีม่ าประกอบเปน็ คำราชาศัพทม์ ีท้งั คำไทยและคำท่ียมื มาจากภาษาต่างประเทศ เปน็ ที่น่าสงั เกตวา่ คำ ยืมมาจากภาษาบาลีสนั สกฤต และภาษาเขมรนน้ั เป็นคำราชาศพั ทม์ ากกวา่ คำทีย่ ืมมาจากภาษาอ่นื ๆ คำนามราชา ศัพท์ทมี่ ักประกอบขึน้ จากคำยมื ภาษาบาลสี นั สกฤต เชน่ พระบรมราโชวาท พระราชกรณยี กิจ พระเนตร ส่วน คำกริยาราชาศัพท์สำเรจ็ รูปมักจะเป็นคำยืมมาจากภาษาเขมร เชน่ เสด็จ เสวย บรรทม สรง สรวล คำยมื จากภาษาอนิ่ ท่ีนำมาประกอบเป็นคำราชาศัพท์มีไมม่ ากนกั เชน่ พระโธรน “โธรน” มาจาก ภาษาอังกฤษ “throne” หมายถึง “บลั ลงั ก์” “พระเก้าอ้ี” มาจากภาษาจนี เปน็ ตน้ ส่วนคำไทยแท้ท่ีมักใช้ ประกอบกับคำว่า “หลวง” และ “ตน้ ” ให้เป็นนามราชาศัพท์ เช่น ชา้ งหลวง เรือหลวง ลกู หลวง ช่างตน้ เปน็ ตน้ ข้อสงั เกต 1. “หลวง” ใช้ประกอบกับคำนามท่ีเปน็ ไปไดท้ ้ัง สตั ว์ สงิ่ ของ และคน 2. “ตน้ ” ใชป้ ระกอบคำนามทเี่ ป็นสัตว์ และสง่ิ ของ ไม่ใช่กับคน 3. นามราชาศพั ทท์ ใ่ี ช้ “ตน้ ” ประกอบ จะหมายถึงดีอันดับหน่ึง เทยี บไว้สำหรบั พระมหากษัตรยิ ์ โดยเฉพาะ เช่น ม้าต้น ช้างต้น สว่ น มา้ หลวง ช้างหลวง นั้น หมายถึง ม้าของพระเจา้ แผ่นดิน ชา้ งของพระเจา้ แผน่ ดิน วิธีใชร้ าชาศัพท์ การใช้ทรง 1. ใชท้ รงนำหนา้ คำนามบางคำทำใหเ้ ป็นกรยิ าราชาศัพท์ได้ เชน่ ทรงกีฬา (เล่นกฬี า), ทรงธรรม (ฟงั เทศน)์ , ทรงบาตร (ใส่บาตร), ทรงช้าง (ขชี่ ้าง) 2. ใชท้ รงนำหนา้ คำกรยิ าสามัญบางคำ ทำให้เปน็ กรยิ าราชาศัพท์ได้ เช่น ทรงวิ่ง , ทรงยนิ ดี , ทรงอธบิ าย , ทรงยงิ , ทรงเลน่ , ทรงสั่งสอน , ทรงศกึ ษา 3. ใช้ทรงนำหน้าคำนามธรรมดา เช่น ทรงชา้ ง , ทรงดนตรี , ทรงศลี , ทรงธรรม , ทรงเบด็ , ทรงแซกโซโฟน 4. ใชท้ รงนำหนา้ คำนามราชาศัพทบ์ างคำ ทำใหเ้ ป็นกริยาราชาศัพท์ได้ เชน่ ทรงพระราชดำริ (คดิ ) , ทรงพระ ราชนิพนธ์ (แตง่ หนงั สือ) , ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ (กรุณา) , ทรงพระผนวช (ออกบวช) ,ทรงพระสุบนิ (ฝัน) , ทรงพระประชวร (เจบ็ ปว่ ย) ,ทรงพระสรวล (ยม้ิ ) , ทรงพระอักษร (อ่าน, เขยี น,เรียน) 5. ทรงมี หรอื ทรงเป็น นำหน้าคำนามธรรมดา เช่น ทรงมเี งิน ทรงมีไข้ ทรงมีเหตผุ ล ทรงเป็นครู ทรงเป็น ทหาร ทรงเป็นนักปราชญ์
6. คำกรยิ าที่เป็นคำราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ใช้ “ทรง” ตรัส (พูด) ประสูติ (เกดิ ) บรรทม (นอน) พระราชทาน (ให้ ทอดพระเนตร (ด)ู ตกพระทยั (ตกใจ) โปรด (ชอบ) เสวย (กนิ ) ทรงน้ำ (อาบน้ำ) สรงพระพกั ตร์ (ล้างหน้า) เสด็จประพาส (ไปเท่ยี ว) เสด็จนิวัติ (กลับมา) ขอ้ ควรระวัง 1. ไมใ่ ช้คำว่าทรง นำหน้ากรยิ าราชาศพั ท์สำเร็จรปู เชน่ ทรงเสวย ทรงโปรด เป็นตน้ 2. ไมใ่ ชค้ ำวา่ ทรงมี หรือ ทรงเป็น นำหนา้ คำนามราชาศัพท์ เช่น ทรงมพี ระบรมราชโองการ ทรงเปน็ พระราชโอรส เปน็ ต้น ให้ใช้ มี หรอื เปน็ เช่น มีพระบรมราชโองการ เป็นพระราชโอรส เป็นตน้ การใชค้ ำ พระบรม/พระบรมราช, พระราช, พระ 1. พระบรม, พระบรมราช ใชน้ ำหนา้ คำนามที่สำคญั ที่เกีย่ วกับ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวเทา่ นน้ั เชน่ พระบรมราโชวาท, พระบรมมหาราชวัง, พระบรมฉายาลักษณ์, พระปรมาภิไธย, พระบรมราชวโรกาส, พระบรมราชโองการ 2. พระราช ใชก้ บั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว, สมเด็จพระบรมราชินแี ละอปุ ราช เช่น พระราชโทรเลข, พระราชหตั ถเลขา, พระราชเสาวนยี ,์ พระราชปฏิสนั ถาร 3. พระ ใชน้ ำหนา้ คำท่ีเรียกอวัยวะ เคร่อื งใช้ หรอื คำนำหน้าคำสามญั บางคำทีไ่ มม่ ีราชาศัพท์ใช้ เช่น พระพกั ตร์, พระเศยี ร, พระบาท, พระเก้าอ้ี, พระมาลา, พระกระยาหาร การใชร้ าชาศัพท์ในคำข้นึ ตน้ และคำลงทา้ ย 1. “ขอเดชะฝา่ ละอองธลุ ีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ขา้ พระพทุ ธเจา้ ลงท้ายวา่ ดว้ ยเกลา้ ด้วยกระหม่อม ของเดชะ” ใช้ในโอกาสกราบบงั คมทูลขน้ึ ก่อนเปน็ ครั้งแรก 2. “พระพทุ ธเจา้ ขา้ ขอรับใสเ่ กล้าใส่กระหม่อม ขา้ พระพุทธเจ้า....ลงท้ายวา่ ดว้ ยเกลา้ ด้วยกระหม่อม” ใชใ้ น โอกาสที่มีพระราชดำรสั ขน้ึ ก่อน 3. “พระมหากรุณาธิคุณเป็นลน้ เกลา้ ล้นกระหม่อม...หรอื พระเดชพระคุณเปน็ ล้นเกลา้ ลน้ กระหม่อม..” ลง ทา้ ยวา่ “ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม” ใช้ในโอกาสแสดงความขอบคุณที่ได้รับความชว่ ยเหลือ 4. “เดชะพระบารมีปกเกล้าปกกระหมอ่ ม หรือ เดชะพระบรมเดชานภุ าพเป็นลน้ เกลา้ ล้นกระหมอ่ ม...” ลง ทา้ ยว่า “ดว้ ยเกล้าด้วยกระหม่อม” ใช้ในโอกาสแสดงว่ารอดพน้ อนั ตราย 5. “พระราชอาญาไม่พน้ เกล้าพ้นกระหม่อม.. หรอื “พระราชอาญาเปน็ ล้นเกล้าลน้ กระหม่อม...” ลงท้ายว่า “ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม” ใช้ในโอกาสทำผิดพลาด 6. “ไม่บงั ควรจะกราบบงั คมทลู พระกรณุ า....หรอื ไม่ควรจะกราบบงั คมทูลให้ทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ....ลงทา้ ยวา่ ดว้ ยเกลา้ ด้วยกระหม่อม ใช้ในโอกาสที่จะต้องกล่าวถงึ ของไม่สุภาพ คำกราบบังคมทูลจะต้อง ใช้ ฝา่ ละอองธลุ ีพระบาท ไม่ใช้ ใต้ฝา่ ละองธลุ ีพระบาท เพราะคำวา่ ใต้ฝา่ ละอองธลุ พี ระบาท เปน็ คำสรรพ นามมีความหมายว่า ท่าน เท่าน้นั คำกราบบงั คมทลู จะต้องใช้ ฝ่าละอองธลุ ีพระบาท ไมใ่ ช้ ใต้ฝา่ ละอองธุลพี ระบาท เพราะคำวา่ ใต้ฝา่ ละอองธุลี พระบาท เปน็ คำสรรพนามมีความหมายว่าท่าน เท่านัน้
การใช้คำนามราชาศัพท์ ๑. คำนามหมวดรา่ งกาย เช่น พระพักตร์ (ดวงหนา้ ) พระปราง (แก้ม) พระนาสิก (จมูก พระหตั ถ์ (มือ) พระเศียร (ศีรษะ) พระเนตร (ตา) พระกรรณ (ห)ู พระโอษฐ์ (ปาก) พระกร (ปลายแขน) พระทนต์ (ฟนั ) พระนขา (เล็บ พระโสณี (ตะโพก) ๒. คำนามหมวดเคร่อื งภาชนะใชส้ อย และสงิ่ ตา่ ง ๆ เช่น พระสุพรรณศรี (กระโถนเล็ก) พระสุพรรณราช (กระโถนใหญ)่ พระเตา้ (หมอ้ น้ำ) พานพระศรี (หมากพาน) พระเตา้ ทักษโิ ณทก (หม้อกรวดน้ำ) ถาดพระสธุ ารส (ถาดนำ้ ชา ๓. คำนามหมวดเคร่อื งใช้ เครื่องประดับ นำด้วย “ฉลอง” “พระ”เช่น ฉลองพระบาท ฉลองพระองค์ ฉลองพระหตั ถส์ ้อม ฉลองพระหัต์ช้อน (ช้อน) (รองเท้า) (เสอื้ ) (ส้อม) พระแทน่ (เตยี ง) พระยี่ภู่ (ทนี่ อน) พระเขนย (หมอนหนนุ ) พระแทน่ บรรทม(เตยี งนอน) พระภูษา (ผา้ นุ่ง พระกลด (รม่ ) พระทวาร (ประต)ู พระสนับเพลา (กางเกง) พระมาลา (หมวก) พระจุฑามณี (ปนิ่ ) พระมาลา (หมวก( ผ้าซับพระพกั ตร(์ ผ้าเชด็ หนา้ ๔. คำนามขตั ติยตระกลู พระอยั กา (ปู,่ ตา) พระอัยยกิ า พระอัยกี (ย่า,ยาย) พระชนก พระบดิ ร พระบิดา (พ่อ) พระเชษฐา (พ่ชี าย) พระภคนิ ี (พสี่ าว) พระอนชุ า (น้องชาย) พระขนษิ ฐา (น้องสาว) พระนดั ดา (หลาน-ลกู ของลูก) พระภาคไิ นย (หลาน-ลกู พ่ีสาว,นอ้ งสาว) พระปนดั ดา (เหลน) พระภาติยะ (หลาน-ลกู พชี่ าย,นอ้ งชาย) พระภสั ดา , พระสวามี (สามี) พระสสั สรุ ะ (พอ่ ตา) พระมาตุลา (ลุง พ่ีของแม่) พระปิตุลา (ลุง พ่ขี องพอ่ ) การใชค้ ำสรรพนามราชาศพั ท์ สรรพนามสำหรับผพู้ ูด ผฟู้ งั บรุ ุษที่ 1 บรุ ุษที่ 2 บรุ ุษที่ 3 พระมหากษัตริย์ ขา้ พระพุทธเจา้ ใตฝ้ า่ ละอองธลุ ี พระองค์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ พระบาท สมเด็จพระบรมราชนิ ี ขา้ พระพุทธเจ้า ใต้ฝ่าละอองพระบาท พระองค์ สมเดจ็ พระบรมราชชนนี สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกฎุ ราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ข้าพระพุทธเจ้า ใตฝ้ ่าพระบาท พระองค์ พระองคเ์ จ้า เกลา้ กระหมอ่ ม (ชาย) ฝ่าพระบาท พระองค์ สมเดจ็ พระสังฆราช เกลา้ กระหม่อมฉัน (หญงิ ) หม่อมเจ้า กระหม่อม(ชาย) ฝ่าพระบาท ทา่ น หมอ่ มฉนั (หญงิ )
การใช้คำราชาศัพทใ์ ห้ถูกต้อง 1. ใช้ เฝา้ ฯ รับเสด็จ หรือ รบั เสดจ็ ไมใ่ ช้ ถวายการตอ้ นรบั ใช้ มคี วามจงรกั ภกั ดี หรือ จงรักภักดี ไมใ่ ช้ ถวายความจงรักภักดี 2. อาคนั ตุกะ หมายถึง แขกที่มาหานั้นเปน็ แขกของประธานาธิบดี หรือแขกของบุคคลอน่ื ที่ไมใ่ ช่ พระมหากษัตริยป์ ระเทศใดประเทศหนึง่ ราชอาคันตกุ ะ, พระราชอาคันตกุ ะ หมายถึง แขกของพระมหากษัตริยป์ ระเทศใดประเทศหน่ึง 3. ขอบใจ ใช้สำหรับสุภาพชนเสมอกัน ผู้ใหญ่ใช้กับผนู้ ้อย พระราชวงศ์ ทรงใช้กบั คนสามัญ และพระราชา ทรงใชก้ ับประชาชน ขอบพระทัย ใช้สำหรบั คนสามญั กลา่ วกบั พระราชวงศ,์ พระราชวงศ์ทรงใชก้ ับพระราชวงศห์ รอื พระราชา ทรงใช้กบั พระราชวงศ์ 4. ในการถวายของแด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ ีนาถ ถา้ เป็นของ เลก็ ใช้คำว่า ทลู เกลา้ ฯ ถวาย อ่านวา่ ทลู เกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวาย ถา้ เป็นของใหญ่ ใช้คำว่า นอ้ มเกล้าฯถวาย อ่านว่า น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย ราชาศัพทส์ ำหรับพระภิกษุ ไทยเรามีคำพูดทใ่ี ช้กบั พระภิกษุโดยเฉพาะอยู่ประเทศหนงึ่ บางทกี ็เป็นคำที่พระภิกษุเปน็ ผใู้ ชเ้ อง ซ่งึ คนไทย ส่วนใหญจ่ ะรจู้ กั กนั หมดแลว้ เช่น คำว่า อาตมาภาพ หรือ อาตมา มคี วามหมาย เทา่ กับ ฉัน บางคำก็ทั้งท่านใช้เอง และเราใช้กับท่าน เช่น คำวา่ ฉัน หมายถึง กนิ การพดู กับพระภกิ ษตุ อ้ งมสี มั มาคารวะ สำรวม ไมใ่ ชถ้ ้อยคำทีเ่ ปน็ ไปในทำนองพูดเลน่ หรอื พดู พลอ่ ย ๆ ซึ่ง จะเป็นการขาดความเคารพไปสำหรบั พระภิกษุ เราจำเป็นตอ้ งทราบราชทินนาม เรยี กพระภิกษผุ ู้ทรงสมณศักดิ์ ของพระภิกษเุ รียงลำดับได้ดงั น้ี เพอ่ื ทีจ่ ะไดใ้ ชไ้ ด้อยา่ งถกู ต้อง 1. สมเด็จพระสังฆราช 2. สมเด็จพระราชาคณะ หรอื ชนั้ สพุ รรณปัฏ คือ พระภกิ ษุที่มีราชทินนามนำหน้าด้วยคำว่า “สมเดจ็ พระ” 3. พระราชาคณะช้ันรอง 4. พระราชาคณะชั้นธรรม พระราชาคณะชนั้ น้มี ักมีคำว่า “ธรรม” นำหน้า 5. พระราชาคณะชน้ั เทพ พระราชาคณะชัน้ นีม้ ักมีคำวา่ “เทพ” นำหน้า 6. พระราชาคณะช้ันราช พระราชาคณะชัน้ นม้ี ักมคี ำว่า “ราช” นำหนา้ 7. พระราชาคณะชั้นสามัญ 8. พระครูสญั ญาบตั ,ิ พระครชู นั้ ประทวน, พระครฐู านานกุ รม 9. พระเปรียญตัง้ แต่ 3 – 9 การใชค้ ำพูดกับพระภิกษทุ รงสมณศักดิ์ ทผ่ี ิดกนั มากคือ ชัน้ สมเด็จพระราชาคณะเหน็ จะเปน็ เพราะมีคำว่า “สมเดจ็ ” นำหน้าจงึ เข้าใจวา่ ต้องใช้คำราชาศพั ท์ ซ่ึงผิด ความจรงิ แล้ว พระภิกษุทรงสมณศักดท์ิ ่ี ตอ้ งใช้ราชาศพั ท์มีเฉพาะเพียงสมเดจ็ พระสังฆราชเทา่ นั้น เว้นแตพ่ ระภิกษุรปู นั้น ๆ ท่านจะมฐี านันดรศักดท์ิ าง พระราชวงศ์อยู่แล้ว
คำราชาศัพทแ์ บง่ ได้ 6 หมวด คอื กวำ่ จะแยกหมวดหม่ไู ด้ เรำก็ตอ้ งศึกษำ 1. หมวดร่างกาย เยอะมำกนะ 2. หมวดเครอื ญาติ 3. หมวดเคร่อื งใช้ 4. หมวดกรยิ า 5. หมวดสรรพนาม 6. หมวดคำทใ่ี ช้กับพระสงฆ์ คำสามญั คำราชาศัพท์ หมวดรา่ งกาย คำราชาศพั ท์ คำสามัญ แขน พระพาหา,พระพานุ พระฉายา เงา เข้ยี ว พระทาฐะ พระเนตร,พระจักษุ ดวงตา หนา้ พระพกั ตร์ พระศอ,พระกัณฐา คอ นิ้วมอื พระองคลุ ี พระกรรณ หู แขง้ พระชงฆ์ พระนขา,พระกรชะ เล็บ แก้ม พระปราง พระมสั สุ หนวด ศรี ษะ พระเศียร พระอังสา บา่ ,ไหล่ น้ำนม พระกษธี ารา พระชานุ เขา่ หน้าผาก พระนลาฎ พระปฤษฎางค,์ พระขนอง เหงือก พระมุทธา หลงั พระหทยั กระดูก พระอฐั ิ หัวใจ พระขนง ล้ิน พระชิวหา ควิ้ พระนาภี ปอด พระปัปผาสะ สะดอื พระโลมา คาง พระหนุ ขน พระอุทร ตาตมุ่ พระโคปผกะ ทอ้ ง พระทนต์ จมูก พระนาสิก ฟนั พระปีฬกะ รา่ งกาย พระวรกาย ปาน,ไฝ พระหัตถ์ มอื เรำจะเรยี นรไู้ ปพร้อมๆกนั นะเพือ่ นๆ
หมวดเครอื ญาติ คำสามญั คำราชาศพั ท์ คำสามญั คำราชาศพั ท์ นอ้ งสาว พระสวามี พสี่ าว พระขนษิ ฐา สามี พระมเหสี น้องชาย พระราชปิตลุ า พช่ี าย พระเชษฐภคินี ภรรยา พระปติ จุ ฉา พอ่ พระมาตุลา แม่ พระอนุชา ลุง,อา พระมาตจุ ฉา ลูกชาย พระอยั กา ลูกสาว พระเชษฐา ป้า,อา พระอัยกี คำสามัญ พระชนก ลุง,นา้ คำราชาศพั ท์ แกว้ นำ้ ฉลองพระบาท ผา้ เช็ดหนา้ พระชนนี ปา้ ,น้า พระคฑา ฟกู พระสาง ยารักษาโรค พระโอรส ป,ู่ ตา คลมุ บรรทม ช้อน พระแทน่ บรรทม สอ้ ม พระธดิ า ยา่ ,ยาย พระอู่ ผา้ เชด็ มือ ผา้ ซับพระองค์ น้ำชา หมวดเครอ่ื งใช้ เคร่อื งทรง น้ำดม่ื พระปนั้ เหน่ง คำราชาศัพท์ คำสามัญ แกว้ เสวย รองเทา้ ผ้าซบั พระพักตร์ ไมต้ ะบอง พระยภี่ ู่ หวี พระโอสถ ผ้าห่มนอน ฉลองพระหตั ถช์ ้อน เตยี งนอน ฉลองพระหตั ถส์ ้อม เปล ผา้ เชด็ พระหัตถ์ ผ้าเช็ดตัว พระสธุ ารสชา เครือ่ งแตง่ ตวั พระสธุ ารส หวั เข็มขดั ตง้ั ในอำ่ นเพมิ่ พนู ควำมรู้นะคะนกั เรยี น
คำสามญั คำราชาศพั ท์ คำสามญั คำราชาศัพท์ ขา้ ว พระกระยาเสวย แหวน พระธำมรงค์ อาหาร พระกระยาหาร เสอ้ื ฉลองพระองค์ จดหมาย พระราชหตั ถเลขา ทนี่ ่ัง พระราชอาสน์ ประตู พระทวาร พรมทางเดนิ ลาดพระบาท หมวดกริยา คำสามญั คำราชาศัพท์ คำสามัญ คำราชาศพั ท์ หวั เราะ ไอ ทรงพระสรวล ดู ทอดพระเนตร จาม มีครรภ์ ทรงพระกาสะ ลงชื่อ ลงพระปรมภิไธย น่ัง อาบน้ำ ทรงพระปนิ าสะ ลา้ งมอื ชำระพระหัตถ์ พดู ยืน ทรงพระครรภ์ สบาย ทรงพระสำราญ คำทีใ่ ชแ้ ทน ประทับ คำสัง่ พระบรมราชโองการ แทนชือ่ ผู้พูด (บรุ ุษที่ 1) สรงน้ำ คดิ ทรงพระราชดำริ แทนผู้พูดดว้ ย (บรุ ุษที่ 2) ตรัส เดิน พระราชดำเนนิ แทนผู้ท่ีพูดถงึ (บรุ ุษที่ 3) ทรงยนื เกิด ประสตู ิ หมวดสรรพนาม สรรพนาม ใช้กับ ขา้ พระพุทธเจา้ พระมหากษัตริย์ กระผม,ดิฉัน ผใู้ หญ,่ พระสงฆ์ ใตฝ้ ่าละอองธุลีพระบาท พระมหากษัตรยิ ์ สมเดจ็ พระบรมราชินี ใต้ฝ่าละอองพระบาท สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ฝา่ พระบาท เจ้านายชั้นสงู พระคุณเจ้า พระสงฆ์ผู้ทรงสมณศกั ดิ์ พระคณุ ท่าน พระภิกษสุ งฆ์ท่ัวไป พระเดชพระคุณ เจา้ นาย,พระภิกษสุ งฆท์ ีน่ ับถือ พระองค์ ท่าน พระราชา,พระพุทธเจ้า,เทพผู้เป็นใหญ่ เจา้ นาย,ขนุ นางผู้ใหญ่,พระภิกษุ และผู้ใหญท่ ี่ นับถอื
หมวดคำทีใ่ ชก้ บั พระสงฆ์ คำสามัญ คำราชาศพั ท์ คำสามัญ คำราชาศัพท์ แต่งตัว สกี า นอน ครองจีวร,ห่มจีวร คำเรยี กผู้หญงิ โยม กนิ ยา อาตมา ป่วย จำวดั คำเรียกคู่สนทนา จังหนั ไหว้ เพล เชญิ ฉนั ยา คำพูดแทนตวั เอง ฉนั ถวาย มรณภาพ โกนผม อาพาธ อาหารเช้า ปจั จัย โกนหนวด อาสนะ อาบน้ำ นมสั การ อาหารกลางวัน กฏุ ิ สวดมนต์ ลขิ ติ นิมนต,์ อาราธนา รบั ประทาน ประเคน ตาย ปลงผม เงนิ ปลงหนวด ท่นี ่ัง สรงน้ำ ท่ีอยู่ ทำวัตร จดหมาย ข้อสังเกตเกย่ี วกับการใช้คำราชาศัพท์ ระดับพระมหากษัตริย์และบรมวงศานวุ งศ์ คำนาม 1. ใช้คำ “พระบรม” หรือ “พระบรมราช” นำหน้าคำนามทสี่ ำคญั ซงึ่ สมควรจะเชดิ ชูใหเ้ ป็นเกยี รติ ตัวอย่าง พระบรมราชโองการ, พระบรมราชปู ถัมภ,์ พระบรมมหาราชวงั 2. ใชค้ ำ “พระราช” นำหนา้ คำนามที่ใชเ้ ฉพาะพระมหากษตั ริย์ซึ่งตอ้ งการกลา่ วไมใ่ ห้ปนกับพระบรม วงศานวุ งศ์ ตัวอย่าง พระราชลญั จกร, พระราชประวตั ิ, พระราชดำริ, พระราชทรัพย์ 3. ใชค้ ำ “พระ” นำหนา้ คำนามทั่วไปเพื่อให้แตกต่างจากสามัญชน ตัวอยา่ ง พระเก้าอี้, พระชะตา, พระโรค, พระตำหนัก 4. ใช้คำ “พระ” นำหนา้ คำนามท่ัวไปเพ่ือใหแ้ ตกตา่ งจากสามัญชน ยกเว้นบางคำ เช่น คำสามญั คำราชาศพั ท์ คำสามญั คำราชาศัพท์ รองเท้า ฉลองพระบาท รถ รถพระท่ีนง่ั แปรงสีฟัน แปรงชำระพระทนต์ จาน จานเสวย แล้วเจอกันใหมน่ ะคะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: