- หลักสตู รห้องเรยี นพิเศษทวศิ ึกษา(คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ) - หลกั สูตรหอ้ งเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดลอ้ ม - หลักสตู รห้องเรียนพิเศษสง่ เสรมิ อัจฉรยิ ภาพและความเปน็ เลศิ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ คณติ ศาสตร์ - หลกั สตู รหอ้ งเรยี นพิเศษดนตรี - กจิ กรรม 9 มงคลในรปู แบบของชุมนุม - การจัดการเรยี นการสอนโดยใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทกั ษะทาง วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในระดบั สูง ประเมินผลการใช้หลกั สตู ร การจัดการเรียนการสอน โดยสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียน ผูป้ กครอง เกีย่ วกับการจัดการเรยี นการสอนให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับช่วงสถานการณ์ สามารถ พัฒนาผเู้ รียนใหป้ รับตัวกับเหตุการณ์ตา่ งๆท่ีเปล่ยี นแปลงไป ดำเนินการพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี เพ่ือรองรบั การจดั การเรยี นการ สอนทางไกล ในรปู แบบต่างๆ อย่างมีประสทิ ธิภาพ จดั อบรมพัฒนาให้มีความร้ใู นหลากหลายแพลตฟอรม์ หลายหลายโปรแกรม เชน่ DLTV, Project 14, Microsoft Team, Google classroom, Zoom, โปรแกรมเสริมความรู้คณิตศาสตร์แบบออนไลน์ TP 59 เป็นต้น และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหง้ ่าย ต่อการใหบ้ รกิ ารและนำข้อมูลไปใชใ้ นงานให้มีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ข้นึ เช่นการกรอกข้อมูลออนไลน์ในงาน ตา่ งๆ ผา่ น Google form ตามวิถี New Normal มีการระดมทรัพยากรดว้ ยความร่วมมือจาก คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน สมาคมผู้ปกครองและครู สมาคมศษิ ย์เก่า เครือข่ายผปู้ กครอง นักเรียน และหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ที่ให้การสนบั สนุนการ บริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ รวมทั้งจัดสภาพบรรยากาศท่ีปลอดภัย มอบแอลกอฮอล์ มอบหน้ากาก อนามัย ตรวจเย่ยี ม ให้คำแนะนำ ตามแนวปฏิบัติแบบ Social Distancing และยงั มที า่ นประธาน คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐานจดั ซือ้ โปรแกรมเสริมความร้คู ณติ ศาสตรแ์ บบออนไลน์ TP 59 และ มอบให้กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตรน์ ำมาใช้อำนวยความสะดวกรองรับการเรียนการสอนและการ ประเมินผลวิชาคณติ ศาสตรแ์ บบออนไลน์ และสมาคมนักเรยี นเกา่ บ.ร. - อ.ท.ว. ร่วมกนั กับทางโรงเรยี น จดั หาสอื่ และอุปกรณ์มาเพอ่ื เออื้ อำนวยตอ่ การเรียนรขู้ องนักเรยี นภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ในรูปแบบ ของการทอดผ้าปา่ สามัคคีอีกด้วย และในช่วงท่มี สี ถานการณ์ทางการเมืองทีน่ ักเรียนทัว่ ประเทศออกมา แสดงบทบาททางการเมือง ทางท่านผูว้ า่ ราชการจงั หวดั และคณะร่วมกบั โรงเรียนมีการจัดกจิ กรรม สร้าง ความเขา้ ใจกับนกั เรียนในการแสดงออกทางความคดิ ท่ีดีและเหมาะสม ปลูกฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรม ค่านิยมท่ี ดงี าม ความเปน็ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ นอกจากนีท้ างโรงเรียนยังได้วางแผน พัฒนาตนเองให้มีความเป็นผู้นำทางวชิ าการ และเปน็ ผนู้ ำในระบบบริหารจัดการให้สอดคลอ้ งกับท่โี รงเรียน ไดร้ ับรางวัล IQA Award ระดับยอดเย่ียม ในปกี ารศึกษา 2561 และ 2562 โดยสมัครเข้าเป็นสถานศึกษา แกนนำเครือข่ายนวัตกรรมคุณภาพการศกึ ษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานเข้าดูแลและ ใหค้ วามช่วยเหลอื สนับสนนุ สถานศึกษารว่ มพัฒนาในจงั หวัดจำนวน 3 แหง่ ได้แก่ โรงเรียนทัพทนั อนสุ รณ์ โรงเรียนสวา่ งอารมณว์ ิทยาคม และโรงเรียนหนองขาหย่างวทิ ยาให้มศี ักยภาพในระบบบริหารจัดการชดั เจน มากย่ิงข้ึน และเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลาโดยจัดลำดับความสำคัญของภารกิจที่ เก่ียวข้อง ติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ป้องกันปัญหาการดำเนินงานโดยดำเนินการเร่ือง รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 43 โรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
ระบบการควบคุมภายในให้กำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน ศึกษาหาความรู้ด้านวิชาการและการบริหารจัดการ จากเอกสาร ตำรา สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับบุคคลอนื่ รบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่ืน รกั ษา สุขภาพกายและจิตเพอ่ื ใหม้ พี ลงั ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีพรอ้ มรับกบั งาน และเหตุการณ์ที่มีการเปล่ยี นแปลงเกิด ข้นึ อยูเ่ สมอ มกี ารพฒั นาครูและบุคลากรในโรงเรียนใหม้ ีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีในการสื่อสาร การ จดั การเรียนการสอน และบริหารจัดการ ดำเนินการโดยฝึกอบรมพัฒนาครูและบุคลากรที่โรงเรียนโดย มอบหมายให้งานคอมพิวเตอร์ดำเนินการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เช่ียวชาญทางการประชุมออนไลน์ วางแผนงานด้านเทคโนโลยีท้ังระบบพิจารณาความคุ้มค่า คุ้มทุนในการดำเนินงานส่งเสริมด้าน เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนและการบรหิ ารจัดการ กำหนดมาตรการ การใช้และการรายงานผลการใช้ อย่างเปน็ ระบบ จัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุนในการจัดซ้ือ จัดหาและซ่อมแซมโดยคำนึงถึงความจำเป็น ความคุ้มค่าและคุณภาพ ปฏิบตั ติ นให้เปน็ แบบอยา่ งท่ีดใี นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การส่ือสาร และ เมื่อจบปีการศึกษาได้มีการนำเสนอรายงานผลการประเมนิ ตนเองต่อ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ผู้ปกครอง นักเรยี นและชุมชนและหลงั จากส่งเล่มรายงานน้ีก็ทำการสำรวจความพึงพอใจผลการประเมิน ภายในของสถานศึกษาต่อผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ในรปู แบบออนไลน์ 2. ผลการประเมนิ โรงเรยี นอุทยั วทิ ยาคม ขอรายงานผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและ การจัดการ ปีการศึกษา 2563 ดงั นี้ ตารางท่ี 4 แสดงผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ปีการศกึ ษา 2563 มาตรฐานท่ี 2 /ประเดน็ การพิจารณา ระดับคุณภาพ สรุปผลการประเมิน เป้าหมาย ผลการประเมนิ เปน็ ตามเปา้ หมาย 2.1 มเี ป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษา ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม กำหนดชดั เจน สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศึกษา เปน็ ตามเป้าหมาย สามารถปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ ยอดเยีย่ ม ยอดเยย่ี ม 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา เปน็ ตามเปา้ หมาย ทสี่ ง่ ผลต่อการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐาน ยอดเยยี่ ม ยอดเยยี่ ม เปน็ ตามเปา้ หมาย ของสถานศกึ ษาที่ได้กำหนดค่าเปา้ หมายความสำเร็จ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ไว้ 2.3 มกี ารดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพ ผู้เรียนอย่างรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทกุ กลุม่ เปา้ หมาย 2.4 มีการพัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความ เชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2563 44 โรงเรียนอุทยั วิทยาคม สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาอทุ ัยธานี ชยั นาท
มาตรฐานที่ 2 /ประเดน็ การพจิ ารณา ระดับคณุ ภาพ สรุปผลการประเมนิ เป้าหมาย ผลการประเมนิ 2.5 มีการจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคม ยอดเย่ียม ยอดเยยี่ ม เป็นตามเป้าหมาย ท่ีเอื้อตอ่ การจัดการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 มีการจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือ ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม เปน็ ตามเปา้ หมาย สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ 2.7 มีการระดมทรัพยากรในรูปของภาคีรว่ ม ยอดเยย่ี ม ยอดเย่ยี ม เปน็ ตามเป้าหมาย พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 ระดับยอดเย่ยี ม กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ จากตารางท่ี 4 แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ปี การศึกษา 2563 พบวา่ ผลกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ เป็นไปตามเป้าหมาย ทุกประเด็นพจิ ารณา เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนินงานแลว้ เปน็ ไปตามเป้าหมาย ระดับยอดเย่ยี ม โรงเรียนอุทัยวิทยาคมมีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษาอย่างชัดเจน มากท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทำให้การดำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการปรับกลยุทธ์ มีการกำหนดค่าเป้าหมาย บางประเด็นพิจารณาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ครูและบุคลากรมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพโดยเฉพาะภายใต้ สถานการณ์ที่ไม่ปกติน้ีและมีชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพมาใช้ในการพัฒนางาน การเรยี นรู้ของนักเรียน ในสถานการณ์ที่ไม่ปกตินี้ และจัดสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย ตามวิถี New normal มีระบบการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ที่ เหมาะสม จนเป็นที่ยอมรับของชุมชนในการให้ความร่วมมือในการดำเนินงานต่างๆ ของโรงเรียน ครูและ บคุ ลากรทุกคนมสี ว่ นรว่ มในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา และรบั ทราบ รับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัด การศึกษา โรงเรียนมีการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เป็นระบบและตอ่ เนอื่ ง เปิดโอกาสให้ผู้เกยี่ วข้องมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา ผลการประเมินดา้ นการพฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ รองรบั การจัดการ เรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ อยูใ่ นระดบั ยอดเย่ียม ผลการประเมนิ สงู กวา่ เป้าหมายที่วางไว้ โดยทาง โรงเรียนได้มวี ิธแี ละกระบวนการในการพฒั นา คอื จดั สรรงบประมาณท่ีเพยี งพอในการสนบั สนนุ และส่งเสรมิ ใหค้ รูพฒั นาตนเอง ในการอบรมพฒั นาตนเองศึกษาดงู าน ทงั้ ภายในและภายนอกแตโ่ ดยสถานการณ์ไม่ปกติ นีส้ ว่ นใหญ่จะเป็นการพัฒนาตนเองแบบออนไลน์ โดยจดั ทำโครงการพัฒนาศักยภาพครใู นการจดั การเรยี น การสอนเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล และสนับสนุนให้ครูไดม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพในการจัดการเรยี น การสอนหลากหลายรปู แบบเพ่ือสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) และสง่ เสริมการทำผลงานเพ่ือขอมแี ละการเลอ่ื นวทิ ยฐานะ ในระดบั ท่สี งู ข้นึ มกี ารกำหนด ชั่วโมง PLC ใหก้ บั ครูทุกคน โดยกำหนดในตารางการปฏบิ ัติงานไม่น้อยกวา่ 20 ครั้ง/ภาคเรยี น ในปี รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 45 โรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาอุทัยธานี ชยั นาท
การศึกษา 2563 โรงเรียนมคี รรู ้อยละ 100 ไดร้ ับการพัฒนาโดยจำแนกตามจำนวนชั่วโมงท่ีได้รบั การพฒั นา ดังแสดงในแผนภาพ แผนภูมแิ สดงจำนวนครทู ีเ่ ข้ารบั การอบรมพัฒนาตนเอง จำแนกตามจำนวนช่ัวโมงอบรม 57 60 50 40 30 20 12 10 10 15 10 3 0 ผลการประเมินดา้ นการจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อือ้ ต่อการจัดการเรยี นรู้ภายใต้ สถานการณ์ทไี่ ม่ปกตินี้ได้อย่างมีคณุ ภาพอยู่ในระดับยอดเยี่ยม ตามการประเมินสูงกว่าเป้าหมายทว่ี างไว้ โดยโรงเรียนมกี ระบวนการพัฒนาคือ ดำเนนิ โครงการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารงานกลมุ่ บริหารงาน ทั่วไป งานอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อม งานประชาสัมพันธ์ งานโสตทัศนศึกษา งานอนามยั โรงเรียน งานธนาคารโรงเรยี น วางมาตรการความปลอดภัยให้กบั นกั เรยี นดว้ ยงานอาคารสถานที่และ สภาพแวดลอ้ มทำการพน่ ยาฆ่าเช้ือในชัน้ เรยี นชว่ งก่อนและหลงั เลิกเรยี นเป็นประจำ โรงเรียนอทุ ัยวทิ ยาคมมสี ภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเี่ อ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ มีอาคาร 46 เรียนจำนวน 6 หลงั มอี าคารประกอบ 10 หลงั สระว่ายนำ้ 1 สระ (แตภ่ ายใต้สถานการณ์น้ีเพ่ือระมัดระวัง ความปลอดภัยของนักเรียนทางโรงเรยี นจงึ หยุดใช้งานช่ัวคราว) อาคารโดม สนามฟุตบอล และสนาม บาสเกตบอล ที่มคี วามพร้อม และเอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้ การจัดกจิ กรรมต่างๆ มีต้นไม้ทรี่ ม่ รนื่ บริเวณ ทั่วไปสะอาด ปลอดโปรง่ สวยงาม และปลอดภัยตามมาตรการปอ้ งกนั เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) มีสวนหย่อมใหน้ กั เรียนได้พักผอ่ น แหล่งเรียนร้ภู ายใน ได้แก่ หอ้ งสมดุ ขนาด 100 ตารางเมตร โดยใช้การ สืบคน้ หนงั สอื และการยืม-คืนหนังสอื โดยใช้โปรแกรม Digital library มากขึน้ กวา่ ปีการศกึ าที่ผ่านมา หอ้ งธนาคารโรงเรยี น หอ้ งสหกรณโ์ รงเรียน ห้องเรียนดนตรไี ทย ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ สวน พฤกษศาสตร์ หอ้ งพยาบาล ห้องแนะแนว ศูนย์ STEM ศึกษา ห้องปฏิบัติการอุตสาหกรรม หอ้ งสมุด ประจำกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ศนู ยก์ ารเรียนรศู้ าสตร์พระราชา ผลการประเมนิ ด้านการจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการ จัดการเรยี นรู้ อยู่ในระดับยอดเยย่ี ม ผลการประเมินสงู กว่าค่าเปา้ หมายทีว่ างไว้ โดยทางโรงเรียนได้มี กระบวนการพฒั นาคือดำเนนิ โครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา กจิ กรรมบรกิ ารเทคโนโลยี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนอทุ ัยวิทยาคม สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาอุทยั ธานี ชยั นาท
สารสนเทศและการส่อื สาร (ICT) พฒั นาครแู ละบุคลากรในโรงเรยี นให้มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีใน การส่ือสาร การจดั การเรยี นการสอนทีห่ ลากหลายรูปแบบและหลากหลายแพลตฟอร์ม และบริหาร วางแผน งานด้านเทคโนโลยีทั้งระบบพิจารณาความคุ้มค่า คุ้มทุนในการดำเนินงานส่งเสริมด้านเทคโนโลยีเพื่อ การเรียนการสอนและการบรหิ ารจดั การ กำหนดมาตรการ การใช้และการรายงานผลการใช้อยา่ งเปน็ ระบบ การใหบ้ ริการเครอื ขา่ ยครอบคลุมทกุ พน้ื ที่ คณะครูและนักเรยี นสามารถใชเ้ ครือข่ายไดท้ ุกพ้ืนที่ในโรงเรยี น เพื่ออำนวยความสะดวกในการเรยี นรแู้ ละการใช้บริการด้านตา่ งๆ มจี ำนวนคอมพวิ เตอรเ์ พียงพอต่อ การศึกษา และใชใ้ นสำนักงาน ทำให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบตั งิ าน เนอื่ งจากเกิดเหตุการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตลอดปีการศึกษา โรงเรียนอทุ ยั วิทยาคม ไดด้ ำเนินการบรหิ ารจัดการในสถานการณ์ไม่ปกติ ดังน้ี 1. จดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2563) ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ เชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ปกี ารศกึ ษา 2561 – 2563 2. ประสานงานกับสาธารณสุขจังหวดั โรงพยาบาลอทุ ัยธานี และโรงพยาบาลปรน้ิ ซ์อุทัยธานี ใน การตรวจวัดไข้ และแนะนำการปอ้ งกนั ตนเองจากเชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ในชว่ งเวลารับสมคั ร หอ้ งเรียนพเิ ศษ และชว่ งสอบห้องเรยี นพิเศษ ชว่ งเชา้ ในการมาโรงเรยี นของนักเรียน 3. จดั ทำคมู่ ือการป้องกนั COVID-19 ตดิ ป้ายประชาสมั พนั ธก์ ารลา้ งมือ และการดูแลตวั เองรอบ บริเวณโรงเรียน 4. มีการอบรมพัฒนาครูใหม้ ีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนในหลากหลายรปู แบบ 5. มนี โยบายให้ครเู ยี่ยมบ้านและสำรวจความพร้อมนกั เรียนและอธิบายคู่มอื การเรยี นออนไลน์ ใหก้ บั นกั เรยี น 6. มีคำสง่ั ให้ครูและบุคลากรใหท้ ำงานที่บ้านช่วงปดิ ภาคเรยี น นอกจากมเี หตุจำเป็นต้องมา ปฏบิ ัติงานที่โรงเรยี น เช่น อยูเ่ วรรกั ษาความปลอดภัย เปน็ ต้น 7. แจ้งให้ครูประจำชัน้ ทกุ คน ประชาสมั พนั ธน์ ักเรยี นเก่ยี วกบั การดูแลตนเอง การงดเดนิ ทางไป เทีย่ วต่างจังหวดั และให้รับผลการเรยี นทางไปรษณีย์ 8. โรงเรียนได้เตรียมการรับสมคั รนกั เรยี นภาคปกติ ในระบบออนไลน์ และแจ้งใหค้ รูทุกกลุ่มสาระ เตรียมการเรียนการสอนในทุกรปู แบบทงั้ Online On-site และ On-air 3. จุดเดน่ โรงเรยี นไดป้ ฏบิ ัติงานโดยประยกุ ต์หลกั การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน (School Based Management : SBM) ผา่ นวงจรคุณภาพ (PDCA) ภายใต้ค่านยิ ม UTW ONE ส่งผลให้การบรหิ ารจดั การศึกษาของโรงเรียนบรรลเุ ป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ครูและบุคลากรของโรงเรียนสามารถปฏบิ ตั ิหน้าทข่ี อง ตนเองได้ อยา่ งเต็มประสิทธภิ าพ สง่ ผลใหผ้ ูเ้ รยี นได้รับการพัฒนาคณุ ภาพรอบด้าน และยังไดร้ ับการ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน หนว่ ยงานต่างๆ ทง้ั ภาครฐั และ เอกชนอย่างต่อเนือ่ ง ในการช่วยเหลอื และอำนวยความสะดวกให้โรงเรียนเปน็ สถานท่ีปลอดภัยจากการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา (COVID-19) และสามารถดำเนนิ การเรียนการสอนไปได้อย่างตอ่ เน่ืองในทกุ รูปแบบ และโรงเรียนได้ใช้วธิ ีการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน และรวบรวมขอ้ มลู แบบออนไลน์มากขนึ้ เพื่อใช้ เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์ที่ไม่ปกตินี้ โรงเรยี นมกี ารปรับแผนพัฒนา คุณภาพการจดั การศกึ ษา (ฉบับปรับปรุง 2563) ขน้ึ และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีก็ยงั ดำเนินไปในบาง รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2563 47 โรงเรยี นอุทัยวทิ ยาคม สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาอุทัยธานี ชยั นาท
โครงการ ทีส่ อดคล้องกับผลการจดั การศึกษา สภาพปัญหาความต้องการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ูป การศกึ ษา และสถานการณ์ปัจจุบนั ท่มี งุ่ เน้นการพฒั นาให้ผู้เรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรสถานศึกษา ระบบการบรหิ ารงานท่ีดขี องโรงเรียนจงึ สง่ ผลใหโ้ รงเรียนได้รับรางวลั IQA AWARD สถานศกึ ษาทีม่ รี ะบบและกลไกการบรหิ ารจัดการ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เพ่อื การประกันคุณภาพ การศกึ ษายอดเยย่ี ม ประจำปีการศกึ ษา 2561 และประจำปกี ารศกึ ษา 2562 จากสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 2 ปีต่อเนอ่ื ง 4. จุดควรพัฒนา 1. วางแผนและมาตรการรองรับกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา (COVID- 19) ใหม้ คี วามรดั กุมมากขึ้นผ่านการมีสว่ นรว่ มจากเครือข่ายผปู้ กครอง 2. วางแผนและแนวทางช่วยเหลือนักเรียนที่ได้รับผลกระทบจากการเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ให้ชัดเจนโดยเฉพาะในระดบั ช้นั ทีต่ ้องศึกษาต่อในระดบั สงู ต่อไป 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการสอนให้เป็นรูปธรรม มากขน้ึ 5. แนวทาง/แผนพฒั นาเพ่ือให้ได้มาตรฐานทส่ี ูงขนึ้ แผนปฏิบตั ิงานท่ี 1 วางแผนการบรหิ ารจดั การการดำเนินงานในโรงเรยี นและชมุ ชนให้มีรปู แบบ ตามวิถี New Normal มากข้ึน เปิดโอกาสและส่งเสรมิ ให้เครอื ข่ายผู้ปกครองเข้ามามีสว่ นร่วมในการพฒั นา สถานศึกษา และนักเรียนให้มากข้ึนโดยครู และส่งเสรมิ ให้บุคลากรของโรงเรยี นออกไปมีสว่ นรว่ มในกิจกรรม ต่างๆ ของชมุ ชนเพ่ือสร้างความสมั พนั ธ์ให้มากข้ึน แผนปฏิบัตงิ านที่ 2 ปรับหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ต่างๆ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป สอดคลอ้ งบริบทของโรงเรยี น และนโยบายตา่ งๆ ตามความสนใจ ความตอ้ งการ ความถนัดของนักเรยี น และจดั กิจกรรมที่สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมคี ุณภาพรอบดา้ นและเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 3 สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์เพื่อ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม 1. กระบวนการพฒั นา โรงเรยี นอทุ ยั วิทยาคมได้ดำเนินการจดั หลักสตู รการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญ จัด รายวชิ าเลอื กหลากหลายให้ผู้เรยี นเลือกเรยี นตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจ ตอบสนองกับความ ตอ้ งการของท้องถ่ิน และสอดคล้องกับการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 บูรณาการหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สวนพฤกษศาสตร์ สะเตม็ ศึกษา แตด่ ้วยในปกี ารศึกษา 2563 นี้อยู่ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา (COVID-19) การจัดกจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้บางรายการปรับเปลยี่ นตามท่ี โอกาสเอ้ืออำนวย สง่ เสริมใหค้ รไู ดม้ โี อกาสพฒั นาตนเองตอ่ เนื่องด้านการจดั กระบวนการเรยี นรู้ อบรม รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 48 โรงเรยี นอุทยั วิทยาคม สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาอุทยั ธานี ชยั นาท
พฒั นาครูอย่างต่อเนือ่ งใหม้ ีทักษะการใชเ้ ทคโนโลยที ่ีสงู ขน้ึ เพอ่ื รองรับการเรยี นรู้หลายรูปแบบ ทัง้ Online On-site On-air ใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับประโยชน์สงู สุด โดยการสอน Online 100% ในเดอื นกรกฎาคม ผา่ นการ ใช้แพลตฟอรม์ DLTV, Project 14 , Microsoft Team, Google classroom, Line, Facebook Live เป็นต้น สว่ นในช่วงเดือนสิงหาคมเปน็ ตน้ ไปใช้วธิ ีการ On-site และ On-air ตอน ก และตอน ข สลบั กนั มา โรงเรียน และเพ่อื ส่งเสริมการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ โดยการจัดกิจกรรมอยา่ ง หลากหลาย ได้แก่ มีการประเมิน พัฒนา และปรับปรุงหลักสตู รสถานศกึ ษาอย่างต่อเนอื่ งจนไดห้ ลักสตู ร 2551 (ฉบบั บปรบั ปรุง 2560) ครบในทุกระดับชนั้ พฒั นากิจกรรมการเรยี นการสอนแบบบูรณาการสู่ ประชาคมอาเซยี นและเทียบเคยี งมาตรฐานสากลเทา่ ท่จี ะสามารถดำเนนิ การได้ภายใต้มาตรการ Social Distancing ครูผสู้ อนมีการกำหนดเปา้ หมายคุณภาพผเู้ รยี น ท้ังด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการ สมรรถนะ ตา่ งๆ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อบรมบม่ นสิ ัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม คา่ นิยมที่ดีงาม ปลูกฝัง ความเปน็ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ครผู ้สู อนมีการวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบคุ คล ออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล เพื่อพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้ ความสามารถเต็มตามศักยภาพของตนเอง ครจู ัดทำข้อมลู สารสนเทศและเอกสารประจำช้ันเปน็ ประจำอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง ใช้ส่ือและเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมโดยเฉพาะในปีการศึกษา 2563 น้ที ่ีมีการเรยี นออนไลน์ ครเู ลอื กใช้ สอ่ื ทีเ่ อ้ืออำนวยต่อการเรยี นรู้ของนักเรยี นในหลายกลมุ่ สาระการเรียนรู้ มีการจดั บรรยากาศท่ีเอื้อตอ่ การ เรียนรู้และปลอดภยั ตามมาตรการป้องกนั COVID-19 โดยนำบรบิ ทของท้องถิ่น หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง สวนพฤกษศาสตร์ สะเต็มศึกษา และสถานการณ์ปจั จบุ ันทเี่ กิดขน้ึ มาบูรณาการสอดแทรกใน กระบวนการเรียนการสอน เน้นใหผ้ ูเ้ รยี นไดค้ ดิ วิเคราะห์ รจู้ ักแกป้ ัญหาดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีโอกาสฝกึ ปฏบิ ัติจริง สามารถสรปุ องค์ความรูไ้ ด้ด้วยตนเองโดยใช้กระบวนการวิจยั มีระบบดูแลชว่ ยเหลือ ผูเ้ รียนส่งเสริม ป้องกันและแก้ปัญหาผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ มกี ารกำหนดภาระงาน/ช้นิ งาน ตามมาตรฐานและตัวชว้ี ดั ของหลักสูตร ปลูกฝงั นสิ ัยรักการอา่ น และการศกึ ษาคน้ ควา้ เชน่ การจดั การเรยี นรู้ดว้ ยโครงงาน กจิ กรรมทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นกล้าแสดงความ คิดเหน็ และกล้านำเสนอผลงานของตนเอง ครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ครบทุกรายวชิ า ศกึ ษา เอกสารทางวชิ าการ จดั ทำวิจัย สร้างนวัตกรรม มกี ารพัฒนาส่ือและนำไปปรับใชใ้ นกระบวนการเรียนรทู้ ่ี เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ในรายวิชาที่ตนรับผิดชอบ และนำผลจากการวจิ ัยมาใช้พฒั นาการเรยี นการสอนใหด้ ี ย่งิ ขึ้น มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้และใหค้ ำปรึกษาแก่เพ่ือนพี่น้องครดู ้วยกนั ในคาบ PLC ท่ีโรงเรียนดำเนนิ การ จดั สรรเวลาให้อยา่ งนอ้ ย 2 คาบ / สปั ดาห์ และยังส่งเสรมิ ใหค้ รูจัดการเรียนการสอนเนน้ การปฏบิ ตั ิ (Active learning) ให้ผ้เู รยี นผา่ นกระบวนการคิด ปฏิบัตจิ รงิ มที กั ษะในการทำงาน จัดการสอนในสาระการเรยี นรู้ การคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (IS) ในระดบั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 และมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 เพ่อื นำไปสูก่ ารเรยี นรทู้ ่ีลึกซึ้ง และคงทน มีการจัดเรยี นการสอนรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณและรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยใี นทกุ ระดบั ช้นั ตามมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลักสูตรสถานศึกษา โดยเฉพาะการจัดการเรยี นการสอน บรู ณาการโดยใช้สะเต็มศึกษา ในระดับชนั้ มัธยมศกึ ษา ปที ี่ 3 โดยจดั การเรยี นการสอนโดยบรู ณาการ 3 กลุ่มสาระคือ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่ือให้ นักเรียนสามารถใช้ความรู้ที่ไดเ้ รียนในช้นั เรยี น มาแกป้ ัญหาท่ีนักเรียนพบในชมุ ชนหรือพื้นท่ที นี่ ักเรยี นอาศัย อยู่ และรองรบั การแก้ปัญหาในอนาคตตามสถานการณ์ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปโดยออกมาในรปู ของโครงงาน นกั เรยี นได้รับอบรมเชงิ ปฏิบัติการโครงการโรงประลองตน้ แบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) โดยรอง ศาสตราจารย์ธรี วัฒน์ ประกอบผล และทมี คณาจารย์ นักศกึ ษา จากสถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง และได้สง่ ผลงานเข้าแข่งขนั และนำเสนอผลงานในรูปแบบออนไลน์ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 49 โรงเรียนอทุ ัยวทิ ยาคม สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาอทุ ัยธานี ชยั นาท
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนสะเตม็ ศกึ ษา โรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุทัยธานี ครูกลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ เทคโนโลยี ประชุมและร่วมกนั ออกแบบกิจกรรมการเรยี นการ สอนสะเต็มศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 : จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนความรู้ พ้นื ฐานในแตล่ ะสาขาวชิ า วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี (พลังงาน (การวัด (การเขยี น สรุปผลและสะทอ้ นผลการจัดกจิ กรรม ปรบั ปรุง แก้ไข และออกแบบ ภาคเรียนท่ี 2 : จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรปู แบบ โครงงาน โดยใชป้ ัญหาในชมุ ชน และ ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ และ สถานการณร์ อบตัว สง่ เสรมิ นกั เรียนในการเผยแพรผ่ ลการจดั ทำโครงงานใน รูปแบบ การประกวด แขง่ ขัน และการประชาสัมพันธ์ใน กจิ กรรมต่าง ๆ สรปุ ผลการจัดกิจกรรม รายงานผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ทงั้ นโี้ รงเรยี นมกี ระบวนการนเิ ทศการจัดกระบวนการเรยี นรู้เปน็ ระยะอย่างต่อเน่ือง มี คณะกรรมการดำเนนิ งานการตรวจสอบและประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจของผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบและมี ประสทิ ธิภาพ ผ้สู อนทุกคนวดั ผลและประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจตามสภาพจริง และมีวิธกี ารวัดผลอย่าง หลากหลาย เพราะปีการศึกษาน้อี ย่ใู นสถานการณ์ไมป่ กติ ผ้สู อนจึงตอ้ งปรับรปู แบบการวดั ผลและ ประเมินผลใหเ้ หมาะสมกับสถานการณม์ ากขึน้ โดยการวดั ผลแบง่ เป็น กอ่ นกลางภาค กลางภาค หลังกลาง ภาค และปลายภาค การดำเนินการสอบกลางภาคและปลายภาค การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจ มรี ะบบ การประเมนิ ผลอยา่ งเปน็ ระบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรแ์ ละมีคณะกรรมการตรวจสอบผลการประเมนิ เม่ือสิ้นภาคเรียน และปกี ารศึกษานี้ทางกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ได้รับความอนเุ คราะหจ์ ากท่าน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน จดั ซื้อโปรแกรมเสริมความรู้คณิตศาสตร์ TP59 มาชว่ ย เอือ้ อำนวยในการวัดผลความร้คู ณิตศาสตร์แบบออนไลน์ และมีทมี ผ้เู ขียนโปรแกรมเข้ามาให้ความร้แู ละเกบ็ ขอ้ มลู ไปปรบั ปรงุ โปรแกรมให้มคี วามพร้อมในการใชง้ านให้สอดคล้องกับหลักสตู ร2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) มากยง่ิ ข้นึ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2563 50 โรงเรยี นอุทัยวิทยาคม สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาอุทยั ธานี ชยั นาท
2. ผลการประเมนิ โรงเรียนอุทยั วิทยาคม ขอรายงานผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียน การสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ประกอบด้วย 7 ประเด็นพจิ ารณาดังน้ี ตารางที่ 5 แสดงคา่ ร้อยละของเปา้ หมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการ สอนที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้น คา่ รอ้ ยละ สรปุ ผลการประเมิน สงู กว่าเปา้ หมาย ผเู้ รียนเปน็ สำคญั เปา้ หมาย ผลการ สงู กว่าเปา้ หมาย ประเมิน 3.1 จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง สูงกว่าเปา้ หมาย 80 97.35 สูงกว่าเปา้ หมาย และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ สูงกวา่ เปา้ หมาย 80 100 1. ครทู ุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ วเิ คราะห์หลกั สตู ร 80 100 มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวดั และหรอื ผลการเรียนรู้ และนำไปจดั ทำรายวิชา และหน่วยการเรยี นรู้ ให้สอดคล้อง 80 100 กับมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั และสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ 80 100 ใหส้ อดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผ้เู รยี นท้องถ่ิน และสามารถนำไปปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง 2. ครูทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้จดั ทำแผนการจัดการ เรียนร้สู อดคลอ้ งกับการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ ธรรมชาตขิ องผู้เรยี นและบรบิ ทของสถานศึกษาและ ทอ้ งถ่ินท่ีมีองค์ประกอบครบถ้วนตามรูปแบบทหี่ น่วยงาน การศกึ ษาหรอื ส่วนราชการต้นสงั กดั กำหนดและสามารถ นำไปปฏบิ ัติได้จริง 3. ครูของทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนร้เู นน้ กระบวนการคิด ดว้ ยวิธกี ารปฏิบัติทสี่ อดคล้องกบั ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดของหลักสตู รสถานศึกษาอย่างหลากหลายมี กิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้ผู้เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ สามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง และนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้ 4. ครูทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มีการวเิ คราะหผ์ เู้ รียนเปน็ รายบุคคล มกี จิ กรรมการเรียนรู้ดว้ ยวธิ ีการปฏิบตั ทิ ่ี สร้างสรรค์อยา่ งหลากหลายสอดคล้องกับธรรมชาติของ สาระการเรียนร้แู ละผเู้ รยี น รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2563 51 โรงเรยี นอุทยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอุทัยธานี ชยั นาท
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ค่าร้อยละ สรุปผลการประเมิน ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ สงู กว่าเปา้ หมาย เปา้ หมาย ผลการ สูงกวา่ เปา้ หมาย ประเมนิ สงู กวา่ เปา้ หมาย ตามเป้าหมาย 5. ครทู กุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ มบี ันทกึ หลังการสอนที่ 80 100 สอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรแู้ ละนำผลมาปรับ 80 84.11 สูงกว่าเปา้ หมาย ประยกุ ตแ์ ผนการจัดการเรียนรู้ให้มคี ณุ ภาพที่สงู ข้ึน 80 96.45 สูงกวา่ เปา้ หมาย 6. ครูทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มีการประเมนิ ผลการใช้ สงู กว่าเปา้ หมาย หลักสตู รอยา่ งเปน็ ระบบการใชห้ นว่ ยการเรียนรู้ กลยทุ ธ์ สงู กว่าเปา้ หมาย ในการจัดการเรียนรู้และนำผลการประเมินมาปรับปรุง พฒั นาใหม้ ีคุณภาพสงู ข้ึน 52 3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ท่เี อ้อื ต่อการเรียนรู้ 1. ครทู กุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ใชร้ ปู แบบ เทคนคิ และ 80 100 วิธีการท่เี นน้ การปฏิบตั มิ ีความหลากหลาย ใช้ส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยี การจดั การเรยี นรู้ การวัดผล 80 100 และประเมินผล ตามแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 80 82.24 สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัดหรือผลการ 80 100 เรียนรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้และสอดคลอ้ งกบั 80 100 ธรรมชาตขิ องผ้เู รยี นและสาระการเรยี นรู้ 2. ครทู กุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สร้างและพฒั นาส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษา, application ต่างๆ นำไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ เหมาะสมกับ ผเู้ รียน สอดคล้องกับเน้ือหาสาระ มาตรฐานการ เรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั หรอื ผลการเรยี นรู้ และจดุ ประสงค์ การเรียนรู้ 3. ครูทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ใช้ แหลง่ เรียนร้ทู ั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น บูรณาการใน การจดั การเรียนการสอนเอ้ือต่อการเรียนรูใ้ หผ้ เู้ รียนฝึก ปฏิบตั ิจริง 4. ครูทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สามารถจดั การเรยี นการ สอนด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล รูปแบบ Online ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) 5. ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประเมนิ ผลการใชส้ ือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษา และแหล่งเรียนรู้ และนำผลการประเมินไปปรบั ปรงุ พฒั นาให้มีคณุ ภาพ สูงข้ึน รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนอุทยั วิทยาคม สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้น ค่าร้อยละ สรปุ ผลการประเมิน สงู กว่าเปา้ หมาย ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ เปา้ หมาย ผลการ สูงกว่าเป้าหมาย ประเมิน สงู กว่าเปา้ หมาย 3.3 มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก สงู กวา่ เป้าหมาย 80 89.10 1. ครทู กุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั สูงกว่าเป้าหมาย เรียนเชงิ บวก มปี ฏิสมั พันธ์ เชิงบวก สง่ ผลให้นกั เรียนรกั 80 88.76 การเรยี นรูจ้ ัดสภาพแวดล้อมบรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการ เรียนรู้ มีความปลอดภยั และมีความสขุ 80 83.18 2. ครูทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนเกดิ กระบวนการคิด มีทักษะชีวติ ทักษะการทำงาน และมี 80 88.79 วนิ ัยเชิงบวก 3. ครทู ุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ อบรมบ่มนสิ ัยใหผ้ ูเ้ รยี นมี 80 85.04 คณุ ธรรมจรยิ ธรรม คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ค่านยิ มที่ ดีงาม ปลกู ฝงั ความเปน็ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ มกี ารเสริมแรงให้ผู้เรยี น มคี วามมั่นใจในการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ เกิด แรงบนั ดาลใจในการเรียนรู้ 4. ครูทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศ และเอกสารประจำชน้ั เรียน หรอื ประจำวชิ าอย่างเปน็ ระบบ ถูกต้องและเปน็ ปจั จบุ ัน โดยรวบรวมข้อมูล และ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และมีการใช้สารสนเทศในการ เสริมสร้างและพฒั นาผู้เรยี น 5. ครูทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มีระบบดูแลชว่ ยเหลือ 80 88.79 สูงกวา่ เป้าหมาย ผู้เรยี น โครงการและจดั กิจกรรมเชงิ สร้างสรรค์ดว้ ย วิธกี ารที่หลากหลายในการดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี นสง่ เสรมิ 80 100 สูงกว่าเป้าหมาย ป้องกันและแก้ปัญหาผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ 80 91.59 สูงกว่าเป้าหมาย 6. ครูทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ให้คำปรกึ ษาแก่ครใู น 80 100 สงู กวา่ เปา้ หมาย สถานศกึ ษา และเปน็ แบบอย่างที่ดีด้านการบรหิ าร 80 85.05 สงู กว่าเปา้ หมาย จดั การชั้นเรียน 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและ 53 นำผลมาพฒั นาผูเ้ รียน 1. ครูทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ มกี ารประเมินตามสภาพ จริง 2. ครทู กุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ มีการประเมินคุณภาพของ เครือ่ งมือ วดั และประเมินผลการเรยี นรู้ และนำผลการ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นอุทยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ค่ารอ้ ยละ สรปุ ผลการประเมิน ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ เป้าหมาย ผลการ สงู กว่าเป้าหมาย ประเมิน สูงกวา่ เป้าหมาย ประเมินคุณภาพของเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผลการ สูงกวา่ เปา้ หมาย เรียนรู้ไปปรบั ปรงุ พฒั นาให้มีคณุ ภาพสูงขนึ้ 80 88.79 สูงกว่าเปา้ หมาย 3. ครูทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ มกี ารตรวจสอบและ 80 85.05 สูงกวา่ เป้าหมาย ประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและให้ข้อมูลย้อนกลับ สูงกวา่ เป้าหมาย นำผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น 80 86.92 สูงกวา่ เป้าหมาย 4. ครทู กุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มีเคร่ืองมอื วัดและวิธีการ สูงกว่าเปา้ หมาย ประเมินผลที่เหมาะสมกับเปา้ หมายของการเรยี นรู้ 80 86.92 สงู กวา่ เปา้ หมาย 5. ครูทกุ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ใช้กระบวนการวิจยั หรอื 80 100 สูงกวา่ เปา้ หมาย ดำเนนิ การวิจัยในการสร้างองค์ความรใู้ หม่เพ่ือแก้ปญั หา 80 100 และหรอื พัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรยี น โดยใชว้ ิธกี ารที่ 80 92.32 54 ถกู ต้องและเหมาะสมกับสภาพปญั หาและความต้องการ 80 100 จำเป็น 6. ครูทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ นำผลการแก้ปัญหาหรือ 80 100 การพัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรียนหรือผลการวจิ ัยไปใช้ 7. ครูทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ เปน็ ผนู้ ำและใหค้ ำแนะนำ 80 100 ในการใช้กระบวนการวจิ ัย หรือดำเนนิ การวิจัยในการ สรา้ งองค์ความรู้ใหมเ่ พ่ือแกป้ ัญหาและหรอื พัฒนาการ เรียนรขู้ องผเู้ รยี น 8. ครูทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เป็นแบบอย่างทีด่ ีเปน็ ผู้นำ เปน็ พ่เี ลี้ยงและให้คำปรึกษาด้านการวัดและประเมนิ ผล 3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลับ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ 1. ครทู กุ กล่มุ สาระการเรียนรู้ และ ผู้ทมี่ ีส่วนเกี่ยวข้องมี การแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลับเพื่อ พัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ 2. ครทู ุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จดั ทำแผนพัฒนาตนเอง ที่ สอดคล้องกบั สภาพการปฏิบัติงานความต้องการจำเปน็ หรอื ตามแผนกลยทุ ธข์ องหน่วยงานการศึกษา หรือสว่ น ราชการต้นสงั กัด 3. ครทู กุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ พัฒนาตนเองตาม แผนพฒั นาตนเอง นำความรู้ ความสามารถและทักษะที่ ได้จากการพัฒนาตนเองมาพัฒนานวตั กรรมการจดั การ เรียนร้ทู ่ีส่งผลต่อคณุ ภาพผู้เรียน รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นอุทยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาอุทัยธานี ชยั นาท
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ค่ารอ้ ยละ สรปุ ผลการประเมิน ผเู้ รยี นเป็นสำคญั เป้าหมาย ผลการ สูงกว่าเป้าหมาย ประเมนิ 4. ครูทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ มกี ารศึกษาคน้ ควา้ หา สูงกว่าเป้าหมาย ความร้ดู ว้ ยวิธีการตา่ งๆ ท่ที ำใหเ้ กิดความรู้และทักษะ 80 81.31 สงู กวา่ เปา้ หมาย เพ่ิมขนึ้ สงู กวา่ เปา้ หมาย 5. ครทู กุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ท่ีได้ 80 81.31 สงู กว่าเปา้ หมาย จากการพฒั นาตนเอง นำองค์ความร้ทู ไ่ี ด้จากการเขา้ ร่วม ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ไปใชใ้ นการจัดการเรียนการ 80 100 สูงกวา่ เป้าหมาย สอน 80 81.31 6. ครูทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ เขา้ ร่วมชุมชนการเรียนรู้ 80 100 สงู กวา่ เปา้ หมาย ทางวิชาชีพ สร้างวัฒนธรรมทางการเรียนร้ใู นสถานศึกษา สงู กวา่ เปา้ หมาย 7. ครทู ุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สร้างนวัตกรรมทไี่ ด้จาก 80 86.91 สูงกว่าเป้าหมาย การเขา้ ร่วมในชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ สูงกวา่ เป้าหมาย 8. ครูทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เป็นผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง 80 91.28 สงู กว่าเปา้ หมาย ทีส่ ่งผลต่อวงวชิ าชพี เป็นแบบอย่างทดี่ ี 80 86.92 สูงกว่าเป้าหมาย 9. ครูทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การประมวลความรู้ 80 86.92 เกี่ยวกบั การพัฒนาวชิ าการและวชิ าชีพเปน็ เอกสารทาง 55 วิชาการ 6 เร่ืองต่อปแี ละนำไปใช้ในการจัดการเรยี น 80 100 การสอน/ปรับพฤติกรรม/แก้ปญั หาการจดั การเรยี นการ สอนครบทั้ง 6 เรื่องต่อปี 80 83.17 3.6* เน้นการจัดการเรียนรู้ทใ่ี หผ้ ูเ้ รยี นไดล้ งมือกระทำ 80 83.17 (Active Learning) 1. ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ นวตั กรรมในการจดั การ เรียนรู้ แบบ Active Learning 2. ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการเผยแพร่ นวตั กรรม ในการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning 3. ครูทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้เปน็ แบบอย่างทีด่ ี เป็นผู้นำ เปน็ พี่เลี้ยง และเปน็ ทป่ี รกึ ษาด้านหลักสูตร ด้านการ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และดา้ นการจดั ทำแผนการ จดั การเรียนรู้ 3.7* จดั การเรยี นรู้ท่สี อดคล้องกบั หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ และประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน ครจู ัดการเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ และประวตั ศิ าสตร์ ท้องถน่ิ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนอทุ ัยวทิ ยาคม สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาอุทยั ธานี ชยั นาท
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ คา่ ร้อยละ สรปุ ผลการประเมนิ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ เป้าหมาย ผลการ ประเมิน สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 3 ยอดเยี่ยม กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ จากตารางที่ 5 แสดงคา่ ร้อยละของเปา้ หมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการ จดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็น ปกี ารศกึ ษา 2563 พบว่า ผลกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้น ผ้เู รยี นเป็นสำคญั สูงกว่าเปา้ หมาย ทกุ ประเด็นพิจารณา เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนนิ งานแล้ว สูงกว่าเปา้ หมาย ระดับยอดเยี่ยม ผลการดำเนินงานจากประเด็นพิจารณาตามมาตรฐานการศกึ ษาด้านกระบวนการจัดการเรียนการ สอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ดังต่อไปนี้ 1. จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได้ โรงเรียนใหค้ รูทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำการวเิ คราะห์หลกั สูตร โดยจดั ทำบนั ทึกข้อตกลงการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษารายบุคคลระหว่างครผู สู้ อน กบั หัวหนา้ กลมุ่ สาระ รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ และผ้อู ำนวยการตามลำดบั ต่อเน่อื งตง้ั แตป่ ีการศึกษา 2562 จดั การเรียนรู้ท่เี น้นกระบวนการคดิ ใหผ้ เู้ รียน ปฏบิ ตั ิจรงิ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัดของหลักสูตรสถานศกึ ษา และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิต จรงิ ได้ ประเมินได้จากแผนการจดั การเรยี นรทู้ ุกรายวชิ า 1.1 ผลประเมินจากการนเิ ทศการสอน ครูทกุ กลุม่ สาระจัดการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ กระบวนการคิด และให้ผู้เรยี นฝึกปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไปประยกุ ต์ได้ รอ้ ยละ 97.35 1.2 ครมู นี วัตกรรมในการจดั การเรียนรู้ แบบ Active Learning โดยการสรา้ งความตระหนัก และให้ความรู้ ผ่านกระบวนการประชุมชแี้ จง เอกสารเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการอบรมพัฒนาครูให้จัดทำ แผนการเรยี นรู้ท่มี โี ครงสรา้ งและองค์ประกอบครบตามท่ีสถานศึกษากำหนด และนำไปสู่การปฏบิ ตั ิจริงใน หอ้ งเรยี น ร้อยละ 86.92 1.3 ครูมกี ารเผยแพรน่ วตั กรรมในการจดั การเรยี นรู้ แบบ Active Learning โดยโรงเรียน สนับสนนุ ให้ครนู ำนวัตกรรมไปเผยแพรแ่ ละสรา้ งเครือข่ายทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ร้อยละ 86.92 2. ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ การเรียนรู้ท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ 2.1 โรงเรยี นอทุ ัยวทิ ยาคมมีการนำแอปพลเิ คชนั่ student care มาช่วยในงานระบบดูและ ชว่ ยเหลือนกั เรยี น เช่น การสแกนหน้าแจง้ เวลามาและกลับ แจ้งการมาเรียนสาย การแจ้งการเขา้ เรยี นของ นกั เรยี น แจง้ ลาและอนุมัติการลาจากครทู ่ปี รึกษา การบ้าน รวมถงึ รายงานการเยย่ี มบา้ น การประเมนิ SDQ ชว่ ยใหค้ รูมีความคล่องตวั ในการดแู ลนกั เรยี นและผปู้ กครองสามารถติดตามการ มาเรียนของนักเรยี นได้จากโทรศัพท์มือถอื รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2563 56 โรงเรียนอุทัยวทิ ยาคม สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
2.2 ครูใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการจดั การเรียนร้ทู ีห่ ลากหลาย ครแู ตล่ ะกลุ่มสาระสามารถ เลือกใช้ application ทีช่ ่วยในการจัดการเรียนการสอนในชน้ั เรียน และนอกห้องเรียนใหน้ ักเรียนสนุกกับ การเรยี นและไดค้ วามรู้ มีการใช้ระบบหอ้ งสมุดดิจติ อล มรี ะบบหอ้ งเรยี นคุณภาพ ครจู ดั การเรยี นการสอน ออนไลน์ผ่าน Google Classroom, Zoom, Microsoft Team, LINE , Facebook Live , DLTV เป็นต้น ผลการประเมินการนิเทศการสอน ครูทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการจดั การเรยี นรู้ ร้อยละ 96.45 2.3 ครทู ุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ใช้แหลง่ การเรียนร้ทู ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น มีการนำภมู ิ ปัญญาท้องถิน่ มาบรู ณาการในการจัดการเรียนการสอนที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ แหลง่ เรียนรภู้ ายในโรงเรียน ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ ,หอ้ งอาเซียน , หอ้ งสะเตม็ , ห้อง FABLAB, ห้องดนตรีไทย , ห้องดนตรีสากล, หอ้ งภูมิ ปัญญาท้องถิ่น เป็นต้น แหล่งเรยี นรูภ้ ายนอก เชน่ วัดอโุ บสถาราม , วดั ทา่ ซงุ , ถนนคนเดินตรอกโรงยา , บ้านมดี ชา่ งหรัง่ , บึงพระชนก, เขตรกั ษาพนั ธุ์สตั ว์ป่าหว้ ยขาแข้ง เปน็ ตน้ ผลการประเมินการนเิ ทศการสอน ครทู ุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ใช้แหลง่ เรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย รอ้ ยละ 82.24 3. มกี ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก ครูไดจ้ ดั สภาพความพร้อมท่จี ะดำเนนิ การเรยี นการสอนใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ คำนึงถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล มปี ฏิสัมพนั ธเ์ ชงิ บวก เพ่ือให้เกดิ ประสทิ ธิผลในการเรียน ผเู้ รียนมีความสุข โดย ครูเตรยี มและวางแผนการจัดการเรียนการสอน ทำการวเิ คราะหผ์ ้เู รยี นรายบคุ ล เพื่อแรงจูงใจระหว่างเรยี น ด้วยวิธีการต่างๆ ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของโรงเรียน รวมถึงดำเนินงานแนะแนวเพ่ือใหค้ ำปรึกษาและ ชว่ ยเหลือผเู้ รยี นท้ังด้านการเรียนและพฤตกิ รรม มอบทุนการศึกษาแกน่ ักเรยี น มีโครงการมอบเกยี รติบตั ร นักเรียนเรียนดี เกียรติบตั รคนดศี รอี ทว.ใหก้ บั นักเรยี นท่ีประพฤติดีมีคุณธรรมและมีจติ สาธารณะ ผลการ ประเมินการนิเทศการสอน ครูทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ มีการจัดการช้นั เรียนเชิงบวก รอ้ ยละ 89.10 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น ครมู กี ารตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ ทงั้ การวเิ คราะหผ์ ้เู รยี นรายบุคคล การ ประเมนิ พฤติกรรมนักเรยี น การประเมินความรู้โดยการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ระหวา่ งเรียน และหลงั เรยี น และนำผลการประเมินมาพฒั นาผู้เรยี น คำนึงถงึ ความแตกต่างของผเู้ รียนโดยการสอนซอ่ มเสริม และการทำวิจยั ในชน้ั เรียน ผลการประเมนิ การนเิ ทศการสอน ครูทุกกลุ่มสาระการเรยี นร้มู กี ารประเมิน ผเู้ รยี นและนำมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 91.59 และมกี ารสะท้อนผลการเรยี นรู้ของผ้เู รยี นต่อผูป้ กครองใน วนั ประชมุ ผปู้ กครองในการแยกพบครูทป่ี รกึ ษาแต่ละห้องเรียน 5. มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการ เรียนรู้แกค่ รูทุกคน โดยโรงเรียนอุทัยวทิ ยาคม มกี ารจดั การนเิ ทศการสอนแบบกลั ยาณมิตร ซึ่งครทู ุกคน ไดร้ ับการนเิ ทศจากผู้บรหิ ารและหัวหน้ากลมุ่ สาระอยา่ งน้อย ปลี ะ 1 คร้งั ครูทุกคนมงี านวิจยั ในชนั้ เรยี นที่ ช่วยพัฒนานักเรียน และยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนใหส้ ูงขึน้ รอ้ ยละ 92.32 และมกี ารแลกเปล่ียน เรียนร้ผู า่ นกระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC) 3. จดุ เดน่ ครูมคี วามตั้งใจ ม่งุ ม่ันในการพัฒนาการสอน โดยเนน้ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้คิดวิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหา ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีโอกาสฝกึ ปฏิบตั จิ รงิ ผู้เรียนสามารถ สรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการวิจัย รักการอ่านและการศึกษาค้นคว้า กล้าแสดงความ คิดเห็น และกล้านำเสนอผลงานของตนเอง มีสามารถเทียบเท่าผู้เรียนสถานศึกษาอื่นทั้งในระดับจังหวัด รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2563 57 โรงเรยี นอทุ ัยวิทยาคม สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาอุทยั ธานี ชยั นาท
เขตพื้นที่ ภาค และประเทศ นักเรียนได้รับการพัฒนาตามถนัดและเต็มศักยภาพของผู้เรียนผ่านเกณฑ์การ ประเมินในแต่ละระดับชั้น ครูแก้ไขข้อบกพร่องนักเรียนเป็นรายบุคคลที่ปัญหาทางการเรียนโดยเฉพาะที่มี การเรียนการสอนออนไลน์และติดตามดูแลให้นักเรียนจบช่วงชั้นตามที่หลักสูตรกำหนดและสามารถนำ ความรทู้ ไ่ี ด้รับไปศึกษาตอ่ ในระดับท่ีสูงขนึ้ 4. จุดควรพฒั นา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการสหวิชาให้มากขึ้น ส่งเสริมสนับสนุนและให้ขวัญกำลังใจ ครูผู้สอนให้มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง นิเทศกำกับติดตามการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลายและ ต่อเนื่อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสแสดงศักยภาพในเวทีการแข่งขันระดับต่างๆ ให้มากขึ้น จัดอบรมเชิง ปฏิบัติการเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลให้กับบุคลากรในโรงเรียน เพื่อรองรับให้มีการวัดผลหลากหลาย ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) สนับสนุนให้ครูสร้างนวัตกรรมที่ได้ จากการเข้าร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ส่งเสริมให้ครูประมวลความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการ และวิชาชีพเป็นเอกสารทางวิชาการเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน/ปรับพฤติกรรม/แก้ปัญหาการ จดั การเรยี นการสอน 5. แนวทาง/แผนพัฒนาเพ่ือให้ไดม้ าตรฐานทส่ี ูงข้ึน แผนปฏบิ ัติงานที่ 1 โครงการการจัดทำแผนการพฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ผูเ้ รียน เปน็ สำคญั แผนปฏิบตั ิงานท่ี 2 โครงการพฒั นาทกั ษะคอมพวิ เตอร์เพื่อมุง่ สู่การประยุกตใ์ ชง้ านได้จรงิ และ มีโอกาสเข้าแข่งขนั ในระดับภาคและระดับชาติ แผนปฏิบัติงานที่ 3 โครงการพัฒนาการบริหารจดั การช้ันเรียนเชิงบวกและปลอดภัยภายใต้ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา (COVID-19) รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2563 58 โรงเรียนอทุ ยั วิทยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาอทุ ัยธานี ชยั นาท
สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั ให้สงู ขึ้น โรงเรยี นอุทยั วิทยาคมสรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐานสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ดังน้ี ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมิน 3 มาตรฐานตามมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดบั ขั้นพ้นื ฐาน ปกี ารศึกษา 2563 คา่ รอ้ ยละ มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา เป้าหมาย ผลการ สรุปผลการประเมนิ ประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รียน สูงกวา่ เป้าหมาย 63.61 78.72 ประเด็นการพิจารณา ที่ 1.1 สูงกวา่ เป้าหมาย 58.33 68.61 ดา้ นผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น สงู กว่าเป้าหมาย 70 83.62 สงู กวา่ เปา้ หมาย 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สาร และการคิด 60 71.29 สงู กวา่ เปา้ หมาย คำนวณ 60 89.96 สูงกวา่ เป้าหมาย 2) มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ 53.33 58.85 สูงกว่าเป้าหมาย อภปิ รายแลกเปลย่ี น ความคดิ เห็น และแกป้ ญั หา 80 100 สงู กวา่ เป้าหมาย 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 76.67 85.99 สงู กวา่ เป้าหมาย 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ 70 84.28 สูงกว่าเป้าหมาย ส่อื สาร 80 86.13 สงู กว่าเป้าหมาย 5) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา 80 86.79 สงู กวา่ เปา้ หมาย 6) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี ่องานอาชีพ 80 92.28 สงู กวา่ เปา้ หมาย ประเด็นการพิจารณา ท่ี 1.2 80 83.42 ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รียน สูงกวา่ เปา้ หมาย 1) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มทด่ี ีตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด 70 83.03 2) ความภมู ิใจในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย สูงกวา่ เป้าหมาย 3) การยอมรบั ทีจ่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 70.14 82.36 ระดับคุณภาพ 4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม 5) มีส่วนร่วมปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในฐานะสมาชกิ ของประชาคม ยอดเยี่ยม อาเซยี น 6) น้อมนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นแนวทางในการ ดำเนนิ ชีวติ สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเ้ รยี น รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 59 โรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาอุทัยธานี ชยั นาท
ค่าร้อยละ มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา เปา้ หมาย ผลการ สรุปผลการประเมิน ประเมิน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ตามเปา้ หมาย ยอดเย่ียม ยอดเยย่ี ม 2.1 มีเปา้ หมายวิสยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากำหนด ตามเป้าหมาย ชดั เจน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศึกษา สามารถปฏิบตั ไิ ด้ ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม จริง ตามเป้าหมาย 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ท่ีส่งผลตอ่ ยอดเย่ยี ม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของสถานศึกษาท่ไี ด้ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม ตามเป้าหมาย กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จไว้ ยอดเยย่ี ม ยอดเย่ียม ตามเปา้ หมาย 2.3 มกี ารดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ น้นคุณภาพผเู้ รยี นอยา่ ง ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม 2.4 มกี ารพฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเช่ยี วชาญทาง ตามเปา้ หมาย วชิ าชพี ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม ระดับคุณภาพ 2.5 มีการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออื้ ต่อ การจดั การเรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ ยอดเย่ียม 2.6 มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการ บรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ สูงกว่าเปา้ หมาย สงู กว่าเปา้ หมาย 2.7 มกี ารระดมทรพั ยากรในรปู ของภาครี ว่ มพฒั นาคณุ ภาพ สงู กวา่ เป้าหมาย การศึกษา สูงกวา่ เป้าหมาย สงู กว่าเป้าหมาย สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 2 สูงกวา่ เปา้ หมาย กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้น 80 97.35 ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั 80 96.45 80 89.10 3.1 จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง และ 80 91.59 สามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้ 3.2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรูท้ เี่ ออ้ื ต่อการ 80 92.32 เรยี นรู้ 3.3 มีการบรหิ ารจัดการช้นั เรยี นเชิงบวก 80 91.28 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมา พฒั นาผูเ้ รียน 3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นา และปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ 3.6 เน้นการจดั การเรยี นรทู้ ่ีใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมือกระทำ (Active Learning) รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2563 60 โรงเรยี นอุทัยวิทยาคม สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาอทุ ัยธานี ชยั นาท
คา่ รอ้ ยละ มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา เปา้ หมาย ผลการ สรปุ ผลการประเมนิ ประเมิน 3.7 มกี ารจัดการเรยี นรูท้ ี่สอดคล้องกับหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ สงู กว่าเปา้ หมาย พอเพยี ง ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ และประวตั ิศาสตรท์ ้องถน่ิ 80 83.17 สงู กว่าเป้าหมาย สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 3 80 91.61 ระดับคณุ ภาพ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็น สำคญั ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินภาพรวมของสถานศึกษาไดร้ ะดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม จากตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ปีการศึกษา 2563 พบว่า มาตรฐานที่ 1 มีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม และมาตรฐานท่ี 3 มผี ลการ ประเมนิ อย่ใู นระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม เพื่อพจิ ารณารายประเดน็ พิจารณาพบวา่ ตามเป้าหมายจำนวน 7 ประเด็นพจิ ารณา สงู กว่าเปา้ หมายจำนวน 19 ประเดน็ พจิ ารณา ไม่มปี ระเดน็ พิจารณาที่ตำ่ กวา่ เป้าหมายและเม่ือพจิ ารณาโดยภาพรวมของการดำเนนิ งานแล้วสูงกว่าเปา้ หมายเป็นส่วนใหญ่ 1. จดุ เดน่ 1.1 มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ การเขียน การส่ือสารทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษในระดับดีข้ึน และการคดิ คำนวณ ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการ สรา้ งนวตั กรรม และผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ดี ตี ่องานอาชพี มีความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกิดทักษะชวี ิต และทกั ษะด้านอาชีพ ผ่านกระบวนการจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรท่สี อดคลอ้ งกับโครงการเกา้ มงคล และพฒั นาเติมเต็มศกั ยภาพของนกั เรียนอย่าง ย่ังยนื แตท่ ุกกจิ กรรมยังมีข้อจำกดั ในการดำเนินการภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา (COVID-19) 1.2 มาตรฐานท่ี 2 ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรยี นอทุ ัยวิทยาคม มีการกำหนด เปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน สอดคล้องกบั บริบทของ โรงเรยี นตามความต้องการของชมุ ชน วัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาการศกึ ษาชาติ นโยบายของรฐั และตน้ สังกัด ทันต่อการเปลยี่ นแปลงของสงั คม โลก จดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (ฉบับปรบุ ปรุง 2563 ) ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ไดร้ ับการสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการเรยี นรูจ้ ากหน่วยงาน ตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง ครูผ้สู อนและบุคลากรมกี ารพัฒนาศักยภาพและสามารถ จัดการเรยี นรู้และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ มีการดำเนนิ การนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล การดำเนินงาน ด้วยกระบวนการ PDCA ภายใตค้ ่านิยม UTW ONE และจัดทำรายงานผลการ จดั การศึกษา และโรงเรียนได้ใช้วธิ กี ารประเมินผลการปฏบิ ัติงาน และรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็นฐานในการ วางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โรงเรยี นมีการปรบั แผนปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ท่ีสอดคลอ้ งกบั ผลการจัดการศกึ ษา สภาพปัญหา รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2563 61 โรงเรียนอทุ ยั วิทยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
1.3 มาตรฐานที่ 3 ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั ครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษาของโรงเรียนอุทัยวิทยาคมมีความต้ังใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน ยง่ิ ภายใต้ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ครูมีความใสใ่ จในการให้ความชว่ ยเหลอื นักเรยี นที่มปี ัญหาจากการเรยี นออนไลน์ จดั การเรยี นรู้ตามเปา้ หมายของหลักสตู รสถานศกึ ษาโดยเนน้ ให้ ผูเ้ รยี นได้คิดวิเคราะห์ รู้จักแกป้ ัญหาดว้ ยกระบวนการทางเทคโนโลยี และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มี โอกาสฝกึ ปฏบิ ัตจิ รงิ ผเู้ รยี นสามารถสรุปองค์ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง โดยใชก้ ระบวนการวิจัย รกั การอา่ นและ การศึกษาคน้ ควา้ กลา้ แสดงความคดิ เห็น และกล้านำเสนอผลงานของตนเอง มคี วามสามารถเทียบเท่า ผ้เู รียนสถานศึกษาอืน่ ทัง้ ในระดบั จังหวัด เขตพื้นท่ี ภาค และประเทศ นักเรียนได้รับการพฒั นาตามถนดั และเต็มศกั ยภาพของผเู้ รยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในแตล่ ะระดับช้ัน ครแู ก้ไขข้อบกพร่องนักเรียนเป็น รายบุคคลที่ปญั หาทางการเรียนและนักเรยี นจบชว่ งชั้นตามทหี่ ลักสูตรกำหนดและสามารถนำความรู้ท่ีไดร้ บั ไปศึกษาต่อในระดับทีส่ ูงขึ้น 2. จุดควรพัฒนา 2.1 มาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพผู้เรยี น ผู้เรียนควรไดร้ ับการเรง่ ปลูกฝงั ทกั ษะการอ่าน คดิ วิเคราะห์อย่างตอ่ เนื่อง จัดกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมใหน้ ักเรยี นไดแ้ สดงออกซงึ่ ความสามารถในการสงั เคราะห์ ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ สง่ เสริมสนบั สนุนและให้ขวญั กำลังใจครูผสู้ อนใหม้ ีการพัฒนาตนเองอยา่ ง ตอ่ เน่อื ง นิเทศกำกบั ติดตามการสอนดว้ ยวิธกี ารท่หี ลากหลายและตอ่ เนื่อง ส่งเสรมิ ให้ครูทำวิจยั ในชัน้ เรยี น และนำผลการวจิ ยั มาพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรูม้ าใช้ใหม้ ากข้นึ ส่งเสริมใหผ้ ้เู รยี นมีโอกาสแสดง ศกั ยภาพในเวทีการแขง่ ขันระดบั ต่างๆ ใหม้ ากขน้ึ สง่ เสรมิ ใหผ้ ูป้ กครอง ชุมชน ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ พัฒนาคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคใ์ นรูปแบบทห่ี ลากหลาย ส่งเสรมิ การทำโครงงานเก่ียวกับวชิ าชพี การใช้ ทรัพยากรอย่างประหยัดและมีประสิทธภิ าพ ส่งเสริมให้นักเรียนรักและภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีความ ยึดม่ันในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ใหเ้ หน็ เปน็ รปู ธรรมมากยง่ิ ขนึ้ เสรมิ สร้างค่านิยมท่ีดีงาม พฒั นาคา่ นิยมสู่ความเปน็ จารีตของสถานศึกษา อบรมด้านคณุ ธรรมจริยธรรมใหม้ ากขนึ้ ควรกระตนุ้ ให้ นักเรยี นตระหนักเก่ยี วหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างแทจ้ ริงและให้นำไปใช้ไดจ้ ริงสอดคล้องกบั การ ดำเนินชีวิตประจำวนั ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขยายผลต่อไป ยังครอบครวั และชุมชนให้มากยิ่งข้นึ ดว้ ย 2.2 มาตรฐานที่ 2 ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ควรวางแผนและมาตรการ รองรับกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ให้มีความรัดกุมมากขึ้นผ่านการมี ส่วนร่วมจากเครือข่ายผู้ปกครองและมีแนวทางช่วยเหลือนักเรียนที่ได้รับผลกระทบจากการเรียนการสอน แบบออนไลน์ให้ชัดเจนโดยเฉพาะในระดับชั้นท่ีตอ้ งศึกษาต่อในระดับสูงต่อไปสง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครูพัฒนา ศกั ยภาพด้านเทคโนโลยีมาปรับใชใ้ นการสอนให้เปน็ รปู ธรรมมากขน้ึ 2.3 มาตรฐานที่ 3 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัด กจิ กรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการสหวชิ าให้มากขึน้ ส่งเสรมิ สนับสนุนและให้ขวัญกำลังใจครูผู้สอนให้มีการ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง นิเทศกำกับติดตามการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง ส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีโอกาสแสดงศักยภาพในเวทีการแข่งขันระดับต่างๆ ให้มากขึ้น จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการ วัดและประเมินผลให้กับบุคลากรในโรงเรียน เพื่อรองรับให้มีการวัดผลหลากหลายภายใต้สถานการณ์การ แพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) สนับสนนุ ให้ครสู ร้างนวัตกรรมท่ีไดจ้ ากการเข้าร่วมในชุมชน รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2563 62 โรงเรยี นอทุ ัยวิทยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาอทุ ัยธานี ชยั นาท
การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ สง่ เสรมิ ให้ครปู ระมวลความรู้เก่ียวกับการพัฒนาวิชาการและวิชาชีพเป็นเอกสารทาง วชิ าการเพือ่ นำไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน/ปรบั พฤติกรรม/แก้ปัญหาการจัดการเรยี นการสอน 3. แผนพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั ให้สูงขึน้ แผนปฏิบัตงิ านที่ 1 การยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและผลการทดสอบระดับชาติ แผนปฏิบตั ิงานท่ี 2 โครงการบูรณาการการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาความสามารถและ ทักษะจำเป็นของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ผา่ นกระบวนการสร้างนวตั กรรม โดยใชส้ ะเตม็ ศึกษา แผนปฏิบัตงิ านท่ี 3 โครงการสง่ เสริมการใช้ทักษะเพื่อเพ่ิมศักยภาพด้านเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ การ สำรวจอุปกรณ์และเคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ ่ีจำเปน็ และเสีย จดั ซอ้ื วัสดุอปุ กรณ์ คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอนิ เตอร์ใหใ้ ช้งานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ แผนปฏิบัติงานที่ 4 โครงการปรับปรุงแหลง่ การเรียนรู้ บริเวณโรงเรยี นสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนได้ เรยี นรู้ตลอดเวลาภายใตม้ าตรการ Social Distancing เชน่ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หอ้ งFABLAB หอ้ งสะเต็มศึกษา เปน็ ต้น แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 5 วางแผนการบริหารจดั การการดำเนินงานในโรงเรยี นและชุมชนใหม้ ีรปู แบบ ตามวิถี New Normal มากข้ึน เปดิ โอกาสและส่งเสริมใหเ้ ครือข่ายผ้ปู กครอง เข้ามามีสว่ นรว่ มในการพัฒนาสถานศึกษา และนักเรยี นให้มากขึ้นโดยครู และ ส่งเสริมให้บุคลากรของโรงเรียนออกไปมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมต่างๆ ของชุมชน เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ให้มากข้นึ แผนปฏิบตั ิงานท่ี 6 ปรบั หลักสูตรสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกบั สถานการณต์ า่ งๆ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป สอดคลอ้ งบริบทของโรงเรียน และนโยบายต่างๆ ตามความสนใจ ความ ตอ้ งการ ความถนัดของนักเรียน และจดั กิจกรรมทีส่ ่งเสรมิ ให้นักเรยี นมี คุณภาพรอบด้านและเทียบเคยี งมาตรฐานสากล แผนปฏิบัติงานที่ 7 สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์เพ่ือ สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ แผนปฏิบัตงิ านท่ี 8 โครงการการจัดทำแผนการพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั แผนปฏบิ ัติงานท่ี 9 โครงการพัฒนาทักษะคอมพวิ เตอร์เพื่อมุง่ สู่การประยุกตใ์ ช้งานได้จรงิ และมี โอกาสเขา้ แขง่ ขนั ในระดบั ภาคและระดับชาติ แผนปฏิบตั ิงานท่ี 10 โครงการพฒั นาการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวกและปลอดภยั ภายใต้ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2563 63 โรงเรยี นอทุ ัยวิทยาคม สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาอุทัยธานี ชยั นาท
ภาคผนวก รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 64 โรงเรยี นอุทัยวิทยาคม สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอุทยั ธานี ชยั นาท
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 65 โรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 66 โรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 67 โรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
Search